From this page you can:
Home |
Author details
Author เกิดเรือง อติพร
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU IS-T. การจัดการความรู้ (KM) ในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา ฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม / ปวีร์ญธรณ์ เหลือคลังทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การจัดการความรู้ (KM) ในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา ฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม Original title : Knowledge Management in Operation of Police Officers: A Case of General Staff Sub-Division, Samut Songkhram Provincial Police Material Type: printed text Authors: ปวีร์ญธรณ์ เหลือคลังทอง, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 67 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารองค์ความรู้
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: การจัดการความรู้,
ตำรวจAbstract: งานค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการจัดการความรู้ สภาพปัญหาและอุปสรรค แนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ของฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม ใช้วิธีวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนาม เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มเป้าหมายที่เป็นตัวแทน จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า แนวทางในการจัดการความรู้ของข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม มีการจัดความรู้ในรูปแบบการทำงานร่วมกันเป็นทีม มีการถ่ายทอดความรู้ผ่านการสอนงานแบบพี่เลี้ยง และมีการแสวงหาความรู้ใหม่ในการสืบค้นจากฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศข้อมูลอาชญากรรม ซึ่งได้แก่ ระบบ POLIS : Police Information System และ ระบบ C.R.I.M.E.S (Criminal Record And Information Management Enterprise System) ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ สภาพปัญหาและอุปสรรคที่พบ คือ ปัญหาด้านขาดแคลนบุคลากรทั้งด้านจำนวนและคุณสมบัติ การถ่ายทอดความรู้ไม่มีความต่อเนื่อง ไม่มีงบประมาณเป็นการเฉพาะ วัสดุสำนักงานและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีไม่เพียงพอ ข้อเสนอแนะจากงานวิจัยพบว่าแนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ คือ ควรขอรับการจัดสรรบุคลากรและงบประมาณเพิ่มเติม จากตำรวจภูธรภาค 7 มาเพิ่ม หรือขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากนอกหน่วยงาน ควรจัดอบรมข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ เพื่อเพิ่มความรู้ในการปฏิบัติงาน การสร้างบรรยากาศในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็นกับบุคลากรหน่วยงานอื่น โดยจัดกิจกรรมหรือการประชุมต่างๆ นอกสถานที่ และเชิญข้าราชการหน่วยงานอื่นเข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ด้วยกัน รวมทั้งควรมีการสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงานCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27275 SIU IS-T. การจัดการความรู้ (KM) ในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา ฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม = Knowledge Management in Operation of Police Officers: A Case of General Staff Sub-Division, Samut Songkhram Provincial Police [printed text] / ปวีร์ญธรณ์ เหลือคลังทอง, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 67 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารองค์ความรู้
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: การจัดการความรู้,
ตำรวจAbstract: งานค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการจัดการความรู้ สภาพปัญหาและอุปสรรค แนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ของฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม ใช้วิธีวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนาม เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มเป้าหมายที่เป็นตัวแทน จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า แนวทางในการจัดการความรู้ของข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม มีการจัดความรู้ในรูปแบบการทำงานร่วมกันเป็นทีม มีการถ่ายทอดความรู้ผ่านการสอนงานแบบพี่เลี้ยง และมีการแสวงหาความรู้ใหม่ในการสืบค้นจากฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศข้อมูลอาชญากรรม ซึ่งได้แก่ ระบบ POLIS : Police Information System และ ระบบ C.R.I.M.E.S (Criminal Record And Information Management Enterprise System) ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ สภาพปัญหาและอุปสรรคที่พบ คือ ปัญหาด้านขาดแคลนบุคลากรทั้งด้านจำนวนและคุณสมบัติ การถ่ายทอดความรู้ไม่มีความต่อเนื่อง ไม่มีงบประมาณเป็นการเฉพาะ วัสดุสำนักงานและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีไม่เพียงพอ ข้อเสนอแนะจากงานวิจัยพบว่าแนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ คือ ควรขอรับการจัดสรรบุคลากรและงบประมาณเพิ่มเติม จากตำรวจภูธรภาค 7 มาเพิ่ม หรือขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากนอกหน่วยงาน ควรจัดอบรมข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ เพื่อเพิ่มความรู้ในการปฏิบัติงาน การสร้างบรรยากาศในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็นกับบุคลากรหน่วยงานอื่น โดยจัดกิจกรรมหรือการประชุมต่างๆ นอกสถานที่ และเชิญข้าราชการหน่วยงานอื่นเข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ด้วยกัน รวมทั้งควรมีการสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงานCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27275 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595049 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595031 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การดำเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของบุคลากร สำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร / จิตราภา สว่างเดือน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การดำเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของบุคลากร สำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร Original title : Sufficiency Economy Philosophy Lifestyle for Personnel of the Social Development Department, Bangkok Metropolitan Administration Material Type: printed text Authors: จิตราภา สว่างเดือน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 55 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-21
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Sufficiency economy -- Thailand
[LCSH]บุคลากรสำนักพัฒนาสังคม -- การดำเนินชีวิต
[LCSH]เศรษฐกิจพอเพียง -- ปรัชญาAbstract: การศึกษาเรื่องการดำเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของบุคลากรสำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้ชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของบุคลากรในสำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคลากรของสำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26103 SIU IS-T. การดำเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของบุคลากร สำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร = Sufficiency Economy Philosophy Lifestyle for Personnel of the Social Development Department, Bangkok Metropolitan Administration [printed text] / จิตราภา สว่างเดือน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 55 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-21
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Sufficiency economy -- Thailand
[LCSH]บุคลากรสำนักพัฒนาสังคม -- การดำเนินชีวิต
[LCSH]เศรษฐกิจพอเพียง -- ปรัชญาAbstract: การศึกษาเรื่องการดำเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของบุคลากรสำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้ชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของบุคลากรในสำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคลากรของสำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26103 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590222 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-21 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000590230 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-21 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน / เฉิมชัย ก๊กเกียรติกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน Original title : Ethical Decision Making of Media Profession in Digital Terrestrial Television Sector Material Type: printed text Authors: เฉิมชัย ก๊กเกียรติกุล, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: x, 301 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การตัดสินใจ
[LCSH]นักสื่อสารมวลชน -- แง่ศีลธรรมจรรยาKeywords: การตัดสินใจ,
จริยธรรม,
วิชาชีพสื่อมวลชนAbstract: การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน ตลอดทั้งแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน วิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ สำหรับงานวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกสื่อมวลชนที่มีประสบการณ์ และผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้อง และใช้แบบสอบถามกับสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดินสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งเริ่มต้นด้วยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 15 คน เพื่อนำผลไปวิเคราะห์เพื่อพัฒนาแบบสอบถามเชิงปริมาณ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากสื่อมวลชนกลุ่มตัวอย่างจำนวน 360 คน แล้วดำเนินการวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูลทางสถิติ ผลการวิจัยพบความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับปัญหาจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในระดับค่อนข้างน้อย โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .393 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ± 16.16 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน พบว่าทุกด้านมีความสัมพันธ์กันในทางบวกอย่างมีนัยทางสถิติ โดยพบว่าองค์กรวิชาชีพมีความสัมพันธ์กับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .531 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ±.38 Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27883 SIU THE-T. การตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน = Ethical Decision Making of Media Profession in Digital Terrestrial Television Sector [printed text] / เฉิมชัย ก๊กเกียรติกุล, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - x, 301 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การตัดสินใจ
[LCSH]นักสื่อสารมวลชน -- แง่ศีลธรรมจรรยาKeywords: การตัดสินใจ,
จริยธรรม,
วิชาชีพสื่อมวลชนAbstract: การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน ตลอดทั้งแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน วิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ สำหรับงานวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกสื่อมวลชนที่มีประสบการณ์ และผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้อง และใช้แบบสอบถามกับสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดินสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งเริ่มต้นด้วยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 15 คน เพื่อนำผลไปวิเคราะห์เพื่อพัฒนาแบบสอบถามเชิงปริมาณ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากสื่อมวลชนกลุ่มตัวอย่างจำนวน 360 คน แล้วดำเนินการวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูลทางสถิติ ผลการวิจัยพบความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับปัญหาจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในระดับค่อนข้างน้อย โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .393 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ± 16.16 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน พบว่าทุกด้านมีความสัมพันธ์กันในทางบวกอย่างมีนัยทางสถิติ โดยพบว่าองค์กรวิชาชีพมีความสัมพันธ์กับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .531 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ±.38 Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27883 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598845 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598811 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การนำนโยบายด้านความมั่นคงของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ / ดารัณ จุนสมุทร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2021
Collection Title: SIU THE-T Title : การนำนโยบายด้านความมั่นคงของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ Original title : Implementation of Security Policies of Special Branch Bureau, Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: ดารัณ จุนสมุทร, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2021 Pagination: ix, 183 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ความมั่นคง -- ไทยKeywords: ความมั่นคง, การนำนโยบายไปปฏิบัติ, การบริหารงาน, ตำรวจสันติบาล Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 3) เพื่อเสนอแนวทางในการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ (1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกของผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จากผู้บริหารกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 11 คน โดยใช้การวิเคราะห์แบบการจำแนกชนิดของข้อมูล (2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) การใช้ข้อมูลแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างจากกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 400 คน โดยใช้สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า สภาพการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการบริหารงานมี 3 ด้าน บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายคือ ประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพตามแผนปฏิบัติราชการและการพัฒนาองค์กร ส่วนคุณภาพการให้บริการไม่บรรลุผลสำเร็จ และแนวทางในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ผู้นำยุคใหม่ต้องปรับตัวให้เท่าทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป อาศัยความร่วมมือของผู้ตามที่สอดคล้องกับแรงจูงใจ ด้วยการเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมในการคิด วางแผนและการตัดสินใจ ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ ปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่า ปัจจัยเชิงนโยบาย ด้านภาวะผู้นำ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.46, S.D. = 0.72) และการบริหารงานที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการพัฒนาองค์กร มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.24, S.D. = 0.73)
ข้อเสนอแนะ ควรมีงบประมาณที่เพียงพอด้านคุณภาพการให้บริการ ที่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใสCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28403 SIU THE-T. การนำนโยบายด้านความมั่นคงของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ = Implementation of Security Policies of Special Branch Bureau, Royal Thai Police [printed text] / ดารัณ จุนสมุทร, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021 . - ix, 183 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ความมั่นคง -- ไทยKeywords: ความมั่นคง, การนำนโยบายไปปฏิบัติ, การบริหารงาน, ตำรวจสันติบาล Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 3) เพื่อเสนอแนวทางในการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ (1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกของผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จากผู้บริหารกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 11 คน โดยใช้การวิเคราะห์แบบการจำแนกชนิดของข้อมูล (2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) การใช้ข้อมูลแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างจากกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 400 คน โดยใช้สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า สภาพการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการบริหารงานมี 3 ด้าน บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายคือ ประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพตามแผนปฏิบัติราชการและการพัฒนาองค์กร ส่วนคุณภาพการให้บริการไม่บรรลุผลสำเร็จ และแนวทางในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ผู้นำยุคใหม่ต้องปรับตัวให้เท่าทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป อาศัยความร่วมมือของผู้ตามที่สอดคล้องกับแรงจูงใจ ด้วยการเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมในการคิด วางแผนและการตัดสินใจ ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ ปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่า ปัจจัยเชิงนโยบาย ด้านภาวะผู้นำ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.46, S.D. = 0.72) และการบริหารงานที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการพัฒนาองค์กร มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.24, S.D. = 0.73)
ข้อเสนอแนะ ควรมีงบประมาณที่เพียงพอด้านคุณภาพการให้บริการ ที่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใสCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28403 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607834 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02 c.1 Thesis Main Library Thesis Corner Available 32002000607886 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02 c.2 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ / ภาวินีย์ คงชินศาสตร์ธิติ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ Original title : The Policy Implementation of Cash Allowance for the Elderly in Wangpong Subdistric Administration Organization, Pran Buri District, Prachuap Khiri Khan Province Material Type: printed text Authors: ภาวินีย์ คงชินศาสตร์ธิติ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: v, 75 น. Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ประจวบคีรีขันธ์ -- ปราณบุรี -- -- วังก์พง
[LCSH]เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุKeywords: นโยบาย,
เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาเรื่องการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบล ศึกษาปัญหาและอุปสรรค และศึกษาแนวทางแก้ไขปรับปรุงการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากร เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จำนวน 9 คนใช้การวิจัยแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) โดยคำถามเป็นแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า วิธีการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติมีกระบวนการดำเนินงานคือ 1. ทำการศึกษารายละเอียดระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2552 2.ทำการประชุม วางแผน มอบหมายหน้าที่ 3. ทำการประชาสัมพันธ์ 4. รับขึ้นทะเบียนผู้สูงอายุ ด้านขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงานตามนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงว่ามีความเหมาะสม ส่วนปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่ามีปัญหาจากนโยบายระเบียบและแนวทางการปฏิบัติ ไม่สอดคล้องกับพื้นที่การปฏิบัติงานของบุคลากรและความต้องการของประชาชน ปัญหาการประสานงานร่วมมือกับหน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องต่างๆ ปัญหาด้านการประชาสัมพันธ์ และปัญหาเรื่องการจ่ายเงินให้ผู้สูงอายุที่เสียชีวิตแล้ว ส่วนปัจจัยที่ทำให้การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติเกิดผลสำเร็จหรือเกิดความล้มเหลว ได้แก่ ตัวของนโยบาย ผู้ที่คิดนโยบาย ผู้นำนโยบายไปปฏิบัติและผู้สูงอายุ ผลการวิจัยด้านการปรับปรุง พัฒนาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติให้ดีขึ้นพบว่า สิ่งที่ควรปรับปรุง คือ บุคลากรหรือพนักงานที่เกี่ยวข้องควรศึกษานโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุให้ละเอียดและเข้าใจ รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ควรมีการประชาสัมพันธ์ชี้แจงให้ผู้สูงอายุเข้าใจหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพ เพื่อความเข้าใจและสะดวกรวดเร็ว นอกจากนี้ ควรมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลการย้ายเข้า ย้ายออกของผู้สูงอายุกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และควรเปลี่ยนหลักเกณฑ์จากการจ่ายเบี้ยยังชีพให้เป็นแบบจำนวนที่เท่ากันและควรเพิ่มจำนวนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุอื่นๆให้มากขึ้นด้วยCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26893 SIU IS-T. การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ = The Policy Implementation of Cash Allowance for the Elderly in Wangpong Subdistric Administration Organization, Pran Buri District, Prachuap Khiri Khan Province [printed text] / ภาวินีย์ คงชินศาสตร์ธิติ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - v, 75 น. ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ประจวบคีรีขันธ์ -- ปราณบุรี -- -- วังก์พง
[LCSH]เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุKeywords: นโยบาย,
เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาเรื่องการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบล ศึกษาปัญหาและอุปสรรค และศึกษาแนวทางแก้ไขปรับปรุงการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากร เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จำนวน 9 คนใช้การวิจัยแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) โดยคำถามเป็นแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า วิธีการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติมีกระบวนการดำเนินงานคือ 1. ทำการศึกษารายละเอียดระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2552 2.ทำการประชุม วางแผน มอบหมายหน้าที่ 3. ทำการประชาสัมพันธ์ 4. รับขึ้นทะเบียนผู้สูงอายุ ด้านขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงานตามนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงว่ามีความเหมาะสม ส่วนปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่ามีปัญหาจากนโยบายระเบียบและแนวทางการปฏิบัติ ไม่สอดคล้องกับพื้นที่การปฏิบัติงานของบุคลากรและความต้องการของประชาชน ปัญหาการประสานงานร่วมมือกับหน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องต่างๆ ปัญหาด้านการประชาสัมพันธ์ และปัญหาเรื่องการจ่ายเงินให้ผู้สูงอายุที่เสียชีวิตแล้ว ส่วนปัจจัยที่ทำให้การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติเกิดผลสำเร็จหรือเกิดความล้มเหลว ได้แก่ ตัวของนโยบาย ผู้ที่คิดนโยบาย ผู้นำนโยบายไปปฏิบัติและผู้สูงอายุ ผลการวิจัยด้านการปรับปรุง พัฒนาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติให้ดีขึ้นพบว่า สิ่งที่ควรปรับปรุง คือ บุคลากรหรือพนักงานที่เกี่ยวข้องควรศึกษานโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุให้ละเอียดและเข้าใจ รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ควรมีการประชาสัมพันธ์ชี้แจงให้ผู้สูงอายุเข้าใจหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพ เพื่อความเข้าใจและสะดวกรวดเร็ว นอกจากนี้ ควรมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลการย้ายเข้า ย้ายออกของผู้สูงอายุกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และควรเปลี่ยนหลักเกณฑ์จากการจ่ายเบี้ยยังชีพให้เป็นแบบจำนวนที่เท่ากันและควรเพิ่มจำนวนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุอื่นๆให้มากขึ้นด้วยCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26893 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593713 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593721 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 / ระวี หนูสี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 Original title : Administration of Immigration Police Operations Immigration Division 6 Material Type: printed text Authors: ระวี หนูสี, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: x, 182 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองKeywords: การบริหารการปฏิบัติงาน,
ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง,
กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6Abstract: การวิจัยเรื่องการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง6 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 3) เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล 4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการให้บริการ ของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กับปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ระเบียบวิธีการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research)โดยผู้วิจัยนำวิธีการ วิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ กล่าวคือผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพก่อนร่วมกัน เพื่อให้ได้คำตอบตามวัตถุประสงค์ในแต่ละข้อ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณคือ ข้าราชการตำรวจตรวจคนเข้าเมือง 6 จำนวน 400 คน และกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 30 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าพิสัย ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐาน โดยมีสถิติที่ใช้ ได้แก่ t – test, F – test และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ Pearson’s product correlation
ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านการบริหาร ด้านการอำนวยความยุติธรรม ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร ด้านการรองรับประชาคมอาเซียน ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม มีการบริหารการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 2)พฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการ มีพฤติกรรมการให้บริการอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 3) ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านเพศ ไม่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคล ด้านอายุ ส่งผลต่อการบริหารจัดการการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านระดับการศึกษา ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการอำนวยความยุติธรรม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุราชการส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร และด้านการบริหาร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4) พฤติกรรมการให้บริการ ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำมาก ทุกด้านCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27959 SIU THE-T. การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 = Administration of Immigration Police Operations Immigration Division 6 [printed text] / ระวี หนูสี, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - x, 182 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองKeywords: การบริหารการปฏิบัติงาน,
ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง,
กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6Abstract: การวิจัยเรื่องการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง6 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 3) เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล 4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการให้บริการ ของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กับปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ระเบียบวิธีการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research)โดยผู้วิจัยนำวิธีการ วิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ กล่าวคือผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพก่อนร่วมกัน เพื่อให้ได้คำตอบตามวัตถุประสงค์ในแต่ละข้อ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณคือ ข้าราชการตำรวจตรวจคนเข้าเมือง 6 จำนวน 400 คน และกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 30 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าพิสัย ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐาน โดยมีสถิติที่ใช้ ได้แก่ t – test, F – test และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ Pearson’s product correlation
ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านการบริหาร ด้านการอำนวยความยุติธรรม ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร ด้านการรองรับประชาคมอาเซียน ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม มีการบริหารการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 2)พฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการ มีพฤติกรรมการให้บริการอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 3) ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านเพศ ไม่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคล ด้านอายุ ส่งผลต่อการบริหารจัดการการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านระดับการศึกษา ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการอำนวยความยุติธรรม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุราชการส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร และด้านการบริหาร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4) พฤติกรรมการให้บริการ ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำมาก ทุกด้านCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27959 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607962 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607964 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง / ณัฐชัย อินทราย / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง Original title : Quality Management of Local Government Administrators in Lampang Province Material Type: printed text Authors: ณัฐชัย อินทราย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: vii, 122 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-11
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหาร -- ลำปาง Keywords: การบริหารงานคุณภาพ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คุณลักษณะของผู้บริการ พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหาร และประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง (2) อิทธิพลของคุณลักษณะผู้บริหารและพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารต่อประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง และ (3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) การวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรในการศึกษาวิจัย คือ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง ที่ปฏิบัติงานอยู่ในปี พ.ศ. 2561 สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง จำนวน 103 แห่ง รวมทั้งสิ้น 6,668 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ความคลาดเคลื่อน 5% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 416 คน (2) การวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้เลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจง เพื่อทำการสัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณลักษณะของผู้บริหาร พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหาร และประสิทธผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง
อยู่ในระดับมาก ระดับปานกลาง และระดับปานกลาง ตามลำดับ 2) คุณลักษณะของผู้บริหารและพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารมีอิทธิพลทางบวกต่อประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 3) ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง คือ ด้านทิศทางและการกำหนดนโยบาย ด้านการจัดการ
ด้านการเงินและงบประมาณ ด้านการจัดการเรื่องการจัดซื้อจัดจ้าง ด้านการติดตามและควบคุมงาน และด้านการประเมินและการจัดทำรายงานCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27948 SIU THE-T. การบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง = Quality Management of Local Government Administrators in Lampang Province [printed text] / ณัฐชัย อินทราย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - vii, 122 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-11
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหาร -- ลำปาง Keywords: การบริหารงานคุณภาพ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คุณลักษณะของผู้บริการ พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหาร และประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง (2) อิทธิพลของคุณลักษณะผู้บริหารและพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารต่อประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง และ (3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) การวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรในการศึกษาวิจัย คือ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง ที่ปฏิบัติงานอยู่ในปี พ.ศ. 2561 สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง จำนวน 103 แห่ง รวมทั้งสิ้น 6,668 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ความคลาดเคลื่อน 5% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 416 คน (2) การวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้เลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจง เพื่อทำการสัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณลักษณะของผู้บริหาร พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหาร และประสิทธผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง
อยู่ในระดับมาก ระดับปานกลาง และระดับปานกลาง ตามลำดับ 2) คุณลักษณะของผู้บริหารและพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารมีอิทธิพลทางบวกต่อประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 3) ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง คือ ด้านทิศทางและการกำหนดนโยบาย ด้านการจัดการ
ด้านการเงินและงบประมาณ ด้านการจัดการเรื่องการจัดซื้อจัดจ้าง ด้านการติดตามและควบคุมงาน และด้านการประเมินและการจัดทำรายงานCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27948 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607970 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-11 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607968 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-11 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ในทัศนะของข้าราชการส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา ข้าราชการส่วนท้องถิ่นที่เข้าฝึกอบรม ณ สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น / ณัฐชนน เหลืองสมานกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ในทัศนะของข้าราชการส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา ข้าราชการส่วนท้องถิ่นที่เข้าฝึกอบรม ณ สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น Original title : Good Governance of Local Governments in Thailand : Local Officials’ Perspectives Case Study; Local Officials Training at Local Personnel Development Institution Material Type: printed text Authors: ณัฐชนน เหลืองสมานกุล, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 79 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-23
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- ทัศนคติ
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- ไทยKeywords: หลักธรรมาภิบาล
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นการใช้หลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย เปรียบเทียบการใช้หลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในทัศนะของข้าราชการส่วนท้องถิ่นไทย และเสนอแนะแนวทางส่งเสริมการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ ข้าราชการที่ปฏิบัติงานอยู่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ที่เข้ารับการอบรมกับสถาบันพัฒนาบุคลากรส่วนท้องถิ่น จำนวน 200 คน Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26544 SIU IS-T. การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ในทัศนะของข้าราชการส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา ข้าราชการส่วนท้องถิ่นที่เข้าฝึกอบรม ณ สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น = Good Governance of Local Governments in Thailand : Local Officials’ Perspectives Case Study; Local Officials Training at Local Personnel Development Institution [printed text] / ณัฐชนน เหลืองสมานกุล, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 79 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-23
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- ทัศนคติ
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- ไทยKeywords: หลักธรรมาภิบาล
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นการใช้หลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย เปรียบเทียบการใช้หลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในทัศนะของข้าราชการส่วนท้องถิ่นไทย และเสนอแนะแนวทางส่งเสริมการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ ข้าราชการที่ปฏิบัติงานอยู่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ที่เข้ารับการอบรมกับสถาบันพัฒนาบุคลากรส่วนท้องถิ่น จำนวน 200 คน Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26544 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591840 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-23 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000591816 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-23 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 / วิศิษฎ์ แดนโพธิ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 Original title : Police Administration in Prevention and Suppression of Human Trafficking of Provincial Police Region 5 Material Type: printed text Authors: วิศิษฎ์ แดนโพธิ์, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: ix, 137 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันและควบคุม -- วิจัย
[LCSH]การบริหารงานตำรวจKeywords: การบริหารงานตำรวจ,
การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษ (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (4) ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การที่มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) ประชาการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 จำนวน 16,234 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 445 คน และ (2) ผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์เชิงลึก ได้แก่ ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 รวม 16 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกอง บัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.39, SD = 0.49) (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับมาก ( = 3.79, SD = 0.50) (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.19, SD = 0.48) (4) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การ มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ในเชิงบวกที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้ร้อยละ 53.6 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้แก่ 1) การขาดแคลนงบประมาณและกำลังพลที่ไม่เพียงพอ 2) เจ้าหน้าที่ตำรวจขาดความรู้ ความเข้าใจในข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์
3) ขาดหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงและขาดการประสานงานหรือความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ และ 4) ปัญหาในการสื่อสารโดยใช้ภาษาสากลเนื่องจากการค้ามนุษย์มักจะเป็นการกระทำความผิดเกี่ยวเนื่องระหว่างประเทศCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27941 SIU THE-T. การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 = Police Administration in Prevention and Suppression of Human Trafficking of Provincial Police Region 5 [printed text] / วิศิษฎ์ แดนโพธิ์, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - ix, 137 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันและควบคุม -- วิจัย
[LCSH]การบริหารงานตำรวจKeywords: การบริหารงานตำรวจ,
การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษ (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (4) ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การที่มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) ประชาการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 จำนวน 16,234 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 445 คน และ (2) ผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์เชิงลึก ได้แก่ ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 รวม 16 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกอง บัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.39, SD = 0.49) (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับมาก ( = 3.79, SD = 0.50) (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.19, SD = 0.48) (4) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การ มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ในเชิงบวกที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้ร้อยละ 53.6 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้แก่ 1) การขาดแคลนงบประมาณและกำลังพลที่ไม่เพียงพอ 2) เจ้าหน้าที่ตำรวจขาดความรู้ ความเข้าใจในข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์
3) ขาดหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงและขาดการประสานงานหรือความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ และ 4) ปัญหาในการสื่อสารโดยใช้ภาษาสากลเนื่องจากการค้ามนุษย์มักจะเป็นการกระทำความผิดเกี่ยวเนื่องระหว่างประเทศCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27941 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607994 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การบริหารงานวิชาการโรงเรียนประถมศึกษา กลุ่มปลวกแดงพัฒนา จังหวัดระยอง / วิภารัตน์ รักกลาง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การบริหารงานวิชาการโรงเรียนประถมศึกษา กลุ่มปลวกแดงพัฒนา จังหวัดระยอง Original title : Academic Administration of Elementary Schools in the Pluak Daeng Development Group, Rayong Province Material Type: printed text Authors: วิภารัตน์ รักกลาง, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 77 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-17
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Elementary schools
[LCSH]การศึกษาขั้นประถม -- ไทย
[LCSH]งานวิชาการ -- การบริหารKeywords: โรงเรียนประถมศึกษา Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา กลุ่มปลวกแดงพัฒนา จังหวัดระยอง จำนวน 4 ด้าน คือ ด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้ ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน ด้านสื่อการเรียนการสอน ด้านการวัดผลและประเมินผล จำแนกตามสาระการเรียนรู้และประสบการณ์ของผู้บริหารโรงเรียน Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26098 SIU IS-T. การบริหารงานวิชาการโรงเรียนประถมศึกษา กลุ่มปลวกแดงพัฒนา จังหวัดระยอง = Academic Administration of Elementary Schools in the Pluak Daeng Development Group, Rayong Province [printed text] / วิภารัตน์ รักกลาง, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 77 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-17
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Elementary schools
[LCSH]การศึกษาขั้นประถม -- ไทย
[LCSH]งานวิชาการ -- การบริหารKeywords: โรงเรียนประถมศึกษา Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา กลุ่มปลวกแดงพัฒนา จังหวัดระยอง จำนวน 4 ด้าน คือ ด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้ ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน ด้านสื่อการเรียนการสอน ด้านการวัดผลและประเมินผล จำแนกตามสาระการเรียนรู้และประสบการณ์ของผู้บริหารโรงเรียน Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26098 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590131 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-17 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000590149 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-17 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชนและความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง / ปภาวรินทร์ ภูมิสาตร์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชนและความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง Original title : Management of the Fund for Developing Community Welfare & Human Security in Lahan Subdistrict, Pluak Daeng District, Rayong Province Material Type: printed text Authors: ปภาวรินทร์ ภูมิสาตร์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vii, 65 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย -- ระยอง
[LCSH]ความมั่นคงของมนุษย์ -- ไทยKeywords: การบริหารจัดการ Abstract: การศึกษางานค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาการบริหารจัดการ และปัญหาในการบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชน และความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ใช้วิธีการวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนามโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26085 SIU IS-T. การบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชนและความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง = Management of the Fund for Developing Community Welfare & Human Security in Lahan Subdistrict, Pluak Daeng District, Rayong Province [printed text] / ปภาวรินทร์ ภูมิสาตร์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vii, 65 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย -- ระยอง
[LCSH]ความมั่นคงของมนุษย์ -- ไทยKeywords: การบริหารจัดการ Abstract: การศึกษางานค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาการบริหารจัดการ และปัญหาในการบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชน และความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ใช้วิธีการวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนามโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26085 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590099 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000590073 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000590610 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10 c.3 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การบริหารจัดการในการส่งเสริมมวยไทยสู่สากล / สิทธิศักดิ์ สุทธิสาคร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การบริหารจัดการในการส่งเสริมมวยไทยสู่สากล Original title : Managing the Promotion of Thai Boxing to International Level Material Type: printed text Authors: สิทธิศักดิ์ สุทธิสาคร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 72 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-27
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]มวยไทยKeywords: การบริหารจัดการ,
การส่งเสริม,
มวยไทยAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมา ภูมิปัญญา สภาพปัญหาและรูปแบบการบริหารจัดการในการส่งเสริมศิลปะมวยไทยสู่สากล โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างถูกเลือกแบบเจาะจง จำนวน 6 คน ได้แก่ ผู้รู้ 1 คน ผู้ปฏิบัติ 1 คน และผู้เกี่ยวข้อง 4 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ การสังเกต ใช้การพรรณนาวิเคราะห์ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิจัยพบว่า การศึกษามวยไทยเริ่มจากสมัยสุววรณภูมิถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ในปัจจุบันมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องตามยุคสมัย มีเป้าหมายการฝึกเพื่อป้องกันตนเองและประเทศชาติ สมัยอยุธยามีความรุ่งเรืองมาก สภาพปัญหาการจัดการมวยไทยมีการพัฒนารูปแบบการจัดการมี 4 ด้าน คือ ประการแรกการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องแบบครบวงจร มีรูปแบบการบริหารจัดการ แผนพัฒนาสร้างหลักสูตรอบรมบุคลากรทุกระดับ นำวิทยาศาสตร์การกีฬามาพัฒนาทักษะมวยไทย ตั้งสถาบันผลิตบุคลากร รัฐมีนโยบายเชิงรุก องค์กรภาครัฐและภาคเอกชนกำหนดทิศทางการบริหารจัดการเป็นระบบ ประการที่สอง คือ พัฒนาการจัดการแข่งขันให้เป็นมาตราฐานสากล หน่วยงานองค์กรรับผิดชอบควรกำหนดกฎระเบียบข้อบังคับและรูปแบบให้เป็นมาตราฐานเดียวกันและเป็นสากล ประการที่สามการพัฒนาปัจจัยพื้นฐาน สิ่งอำนวยความสะดวก สนามมวย ค่ายมวยและการนำวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีทางกีฬามาประยุกต์ใช้กับมวยไทย และประการสุดท้าย คือ การพัฒนาระบบการบริหารการจัดการกีฬามวยไทยอาชีพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26899 SIU IS-T. การบริหารจัดการในการส่งเสริมมวยไทยสู่สากล = Managing the Promotion of Thai Boxing to International Level [printed text] / สิทธิศักดิ์ สุทธิสาคร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 72 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-27
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]มวยไทยKeywords: การบริหารจัดการ,
การส่งเสริม,
มวยไทยAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมา ภูมิปัญญา สภาพปัญหาและรูปแบบการบริหารจัดการในการส่งเสริมศิลปะมวยไทยสู่สากล โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างถูกเลือกแบบเจาะจง จำนวน 6 คน ได้แก่ ผู้รู้ 1 คน ผู้ปฏิบัติ 1 คน และผู้เกี่ยวข้อง 4 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ การสังเกต ใช้การพรรณนาวิเคราะห์ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิจัยพบว่า การศึกษามวยไทยเริ่มจากสมัยสุววรณภูมิถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ในปัจจุบันมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องตามยุคสมัย มีเป้าหมายการฝึกเพื่อป้องกันตนเองและประเทศชาติ สมัยอยุธยามีความรุ่งเรืองมาก สภาพปัญหาการจัดการมวยไทยมีการพัฒนารูปแบบการจัดการมี 4 ด้าน คือ ประการแรกการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องแบบครบวงจร มีรูปแบบการบริหารจัดการ แผนพัฒนาสร้างหลักสูตรอบรมบุคลากรทุกระดับ นำวิทยาศาสตร์การกีฬามาพัฒนาทักษะมวยไทย ตั้งสถาบันผลิตบุคลากร รัฐมีนโยบายเชิงรุก องค์กรภาครัฐและภาคเอกชนกำหนดทิศทางการบริหารจัดการเป็นระบบ ประการที่สอง คือ พัฒนาการจัดการแข่งขันให้เป็นมาตราฐานสากล หน่วยงานองค์กรรับผิดชอบควรกำหนดกฎระเบียบข้อบังคับและรูปแบบให้เป็นมาตราฐานเดียวกันและเป็นสากล ประการที่สามการพัฒนาปัจจัยพื้นฐาน สิ่งอำนวยความสะดวก สนามมวย ค่ายมวยและการนำวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีทางกีฬามาประยุกต์ใช้กับมวยไทย และประการสุดท้าย คือ การพัฒนาระบบการบริหารการจัดการกีฬามวยไทยอาชีพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26899 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593812 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-27 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593846 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-27 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร / กันยา ศรีสวัสดิ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร Original title : Administration of Myanmarian workers by Thai entrepreneurs in Samutsakhorn Province Material Type: printed text Authors: กันยา ศรีสวัสดิ์, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: viii, 243 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]แรงงาน -- การบริหาร
[LCSH]แรงงานต่างด้าวพม่า -- ไทย -- สมุทรสาครKeywords: การบริหารแรงงาน,
แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า,
จังหวัดสมุทรสาครAbstract: การวิจัยเรื่อง การบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทยในจังหวัดสมุทรสาครมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลกับการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร เป็นการวิจัยผสานวิธี (mixed methods methodology approach) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ผู้ประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าจำนวน 90,000 คน (ข้อมูลสถิติจำนวนประชากร, 2560) คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของยามาเน่ (Yamane, 2014) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่าการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทยในจังหวัดสมุทรสาคร ในภาพรวมอยู่ในระดับมากในรายข้ออยู่ในระดับมาก ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร พบว่า ปัจจัยด้านจิตวิทยา มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือปัจจัยด้านสังคมและเศรษฐกิจ นอกจากนี้ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรพบว่าปัจจัยสิ่งแวดล้อม ปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจ ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา กับการบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยการบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร ควรมีการกำหนดแผนแม่บทและยุทธศาสตร์ในการบริหารงานแรงงานต่างด้าวให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เนื่องจากในแต่ละพื้นที่มีบริบทที่แตกต่างกันคือ 1) รัฐควรสนับสนุนให้มีการคุ้มครองแรงงานต่างด้าวโดยเฉพาะในเรื่องอัตราค่าจ้างสำหรับแรงงานต่างด้าวที่จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย 2) รัฐควรมีการจัดการฐานข้อมูลแรงงานต่างด้าวอย่างทั่วถึง โดยมีมาตรการในแง่ของกฎหมาย Curricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27944 SIU THE-T. การบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร = Administration of Myanmarian workers by Thai entrepreneurs in Samutsakhorn Province [printed text] / กันยา ศรีสวัสดิ์, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - viii, 243 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]แรงงาน -- การบริหาร
[LCSH]แรงงานต่างด้าวพม่า -- ไทย -- สมุทรสาครKeywords: การบริหารแรงงาน,
แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า,
จังหวัดสมุทรสาครAbstract: การวิจัยเรื่อง การบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทยในจังหวัดสมุทรสาครมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลกับการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร เป็นการวิจัยผสานวิธี (mixed methods methodology approach) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ผู้ประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าจำนวน 90,000 คน (ข้อมูลสถิติจำนวนประชากร, 2560) คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของยามาเน่ (Yamane, 2014) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่าการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทยในจังหวัดสมุทรสาคร ในภาพรวมอยู่ในระดับมากในรายข้ออยู่ในระดับมาก ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร พบว่า ปัจจัยด้านจิตวิทยา มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือปัจจัยด้านสังคมและเศรษฐกิจ นอกจากนี้ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรพบว่าปัจจัยสิ่งแวดล้อม ปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจ ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา กับการบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยการบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร ควรมีการกำหนดแผนแม่บทและยุทธศาสตร์ในการบริหารงานแรงงานต่างด้าวให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เนื่องจากในแต่ละพื้นที่มีบริบทที่แตกต่างกันคือ 1) รัฐควรสนับสนุนให้มีการคุ้มครองแรงงานต่างด้าวโดยเฉพาะในเรื่องอัตราค่าจ้างสำหรับแรงงานต่างด้าวที่จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย 2) รัฐควรมีการจัดการฐานข้อมูลแรงงานต่างด้าวอย่างทั่วถึง โดยมีมาตรการในแง่ของกฎหมาย Curricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27944 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607975 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-06 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607974 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-06 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 / สมศักดิ์ คงทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 Original title : Integrating Phuket Province’s Public Disaster Management into Thailand 4.0 Contexts Material Type: printed text Authors: สมศักดิ์ คงทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xi, 256 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-05
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบรรเทาสาธารณภัย -- การจัดการ
[LCSH]การพัฒนาประเทศ -- ไทย -- ภูเก็ตKeywords: การบูรณาการ,
การจัดการสาธารณภัย,
บริบทประเทศไทย 4.0Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 2) ศึกษาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 3) ศึกษาการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 5) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการสาธารณภัยกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 และ 6) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0
การวิจัยเป็นการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยผู้วิจัยได้อาศัยวิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การวิจัยภาคสนามจากการสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้เชี่ยวชาญและผู้บริหารหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ต ได้แก่ นายอำเภอจังหวัดภูเก็ต จำนวน 3 คน หัวหน้าสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ต จำนวน 2 คน ผู้บังคับการ และผู้กำกับการสถานีตำรวจจังหวัดภูเก็ต จำนวน 4 คน รวมทั้งเจ้าหน้าที่บริการทางการแพทย์และสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต จำนวน 2 คน มาจาก 3 อำเภอของจังหวัดภูเก็ต ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอถลาง อำเภอกะทู้ รวมจำนวน 11 คน ประกอบกับการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร และกลุ่มตัวอย่างประชาชนที่อยู่อาศัยจริงในเขตพื้นที่ศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 400 คน จากจำนวนประชากร 402,017 คน โดยการใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson product-moment correlation coefficient) ควบคู่กับการสำรวจข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้าทางเอกสาร
ผลการวิจัยพบว่า 1) พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( =3.192, S.D=0.690) 2) การจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( =3.183, S.D=0.712) 3) การบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( =3.201, S.D=0.675) 4) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ พบว่า พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 โดยมีค่า r=0.980 (p‹0.01) ซึ่งแสดงว่ามีความสัมพันธ์กันในระดับสูงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 5) ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการสาธารณภัยกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ พบว่า การจัดการสาธารณภัยมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 โดยมีค่า r=0.965 (p‹0.01) ซึ่งแสดงว่ามีความสัมพันธ์กันในระดับสูงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 6) ปัญหาและอุปสรรคในการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 พบว่า ส่วนใหญ่ประสบปัญหาด้านการประสานงานร่วมกับหน่วยงานใกล้เคียง และภาคส่วนต่างๆ ในการแก้ปัญหาสาธารณภัยยังไม่ได้รับความร่วมมือเท่าที่ควร ร้อยละ 31.5 รองลงมาคือ ด้านการให้ความรู้แก่ประชาชนในการจัดการสาธารณภัยอย่างเป็นระบบและยั่งยืน ร้อยละ 23.1 ด้านการสร้างจิตสำนึกในการรับผิดชอบร่วมกันในการบริหารจัดการสาธารณภัย ร้อยละ 18.8 ด้านการประชาสัมพันธ์ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ทราบเกี่ยวกับการจัดการสาธารณภัย ร้อยละ 18.0 ด้านการรับฟังความคิดเห็น และการรับฟังปัญหาจากประชาชนก่อนดำเนินการจัดทำแผนป้องกันฯ เพื่อใช้รับมือกับปัญหาสาธารณภัย ร้อยละ 4.8 และด้านอุปกรณ์การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพไม่เพียงพอเพื่อใช้ในการสื่อสาร ร้อยละ 3.8 ตามลำดับ ซึ่งข้อมูลและข้อค้นพบที่ได้จากการศึกษาจะนำไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุง และพัฒนางานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตให้มีประสิทธิผล และประสิทธิภาพต่อไปCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27943 SIU THE-T. การบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 = Integrating Phuket Province’s Public Disaster Management into Thailand 4.0 Contexts [printed text] / สมศักดิ์ คงทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xi, 256 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-05
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบรรเทาสาธารณภัย -- การจัดการ
[LCSH]การพัฒนาประเทศ -- ไทย -- ภูเก็ตKeywords: การบูรณาการ,
การจัดการสาธารณภัย,
บริบทประเทศไทย 4.0Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 2) ศึกษาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 3) ศึกษาการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 5) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการสาธารณภัยกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 และ 6) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0
การวิจัยเป็นการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยผู้วิจัยได้อาศัยวิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การวิจัยภาคสนามจากการสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้เชี่ยวชาญและผู้บริหารหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ต ได้แก่ นายอำเภอจังหวัดภูเก็ต จำนวน 3 คน หัวหน้าสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ต จำนวน 2 คน ผู้บังคับการ และผู้กำกับการสถานีตำรวจจังหวัดภูเก็ต จำนวน 4 คน รวมทั้งเจ้าหน้าที่บริการทางการแพทย์และสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต จำนวน 2 คน มาจาก 3 อำเภอของจังหวัดภูเก็ต ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอถลาง อำเภอกะทู้ รวมจำนวน 11 คน ประกอบกับการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร และกลุ่มตัวอย่างประชาชนที่อยู่อาศัยจริงในเขตพื้นที่ศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 400 คน จากจำนวนประชากร 402,017 คน โดยการใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson product-moment correlation coefficient) ควบคู่กับการสำรวจข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้าทางเอกสาร
ผลการวิจัยพบว่า 1) พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( =3.192, S.D=0.690) 2) การจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( =3.183, S.D=0.712) 3) การบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( =3.201, S.D=0.675) 4) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ พบว่า พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 โดยมีค่า r=0.980 (p‹0.01) ซึ่งแสดงว่ามีความสัมพันธ์กันในระดับสูงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 5) ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการสาธารณภัยกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ พบว่า การจัดการสาธารณภัยมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 โดยมีค่า r=0.965 (p‹0.01) ซึ่งแสดงว่ามีความสัมพันธ์กันในระดับสูงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 6) ปัญหาและอุปสรรคในการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 พบว่า ส่วนใหญ่ประสบปัญหาด้านการประสานงานร่วมกับหน่วยงานใกล้เคียง และภาคส่วนต่างๆ ในการแก้ปัญหาสาธารณภัยยังไม่ได้รับความร่วมมือเท่าที่ควร ร้อยละ 31.5 รองลงมาคือ ด้านการให้ความรู้แก่ประชาชนในการจัดการสาธารณภัยอย่างเป็นระบบและยั่งยืน ร้อยละ 23.1 ด้านการสร้างจิตสำนึกในการรับผิดชอบร่วมกันในการบริหารจัดการสาธารณภัย ร้อยละ 18.8 ด้านการประชาสัมพันธ์ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ทราบเกี่ยวกับการจัดการสาธารณภัย ร้อยละ 18.0 ด้านการรับฟังความคิดเห็น และการรับฟังปัญหาจากประชาชนก่อนดำเนินการจัดทำแผนป้องกันฯ เพื่อใช้รับมือกับปัญหาสาธารณภัย ร้อยละ 4.8 และด้านอุปกรณ์การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพไม่เพียงพอเพื่อใช้ในการสื่อสาร ร้อยละ 3.8 ตามลำดับ ซึ่งข้อมูลและข้อค้นพบที่ได้จากการศึกษาจะนำไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุง และพัฒนางานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตให้มีประสิทธิผล และประสิทธิภาพต่อไปCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27943 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607988 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-05 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607985 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-05 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การประเมินความสำเร็จตามโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดฉะเชิงเทรา / ศิรพงศ์ โภคินวงศ์หิรัญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การประเมินความสำเร็จตามโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดฉะเชิงเทรา Original title : Assessing the Success of the Newborn Child care subsidy Program of the Local Government Organization in Chachoengsao Province Material Type: printed text Authors: ศิรพงศ์ โภคินวงศ์หิรัญ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xii, 193 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความสำเร็จ
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- ฉะเชิงเทรา
[LCSH]เงินอุดหนุนKeywords: การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ, เงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น Abstract: การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการปฏิบัติโครงการและปัจจัยเชิงนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด 2) เพื่อศึกษาความสำเร็จของสภาพการปฏิบัติโครงการและปัจจัยเชิงนโยบายโครงการ ที่ส่งผลต่อโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดฉะเชิงเทรา การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยใช้แบบผสานวิธี (Mixed-methods Research) โดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม โดยการสุ่มจากผู้ปฏิบัติงาน คือพนักงานท้องถิ่น และอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) ได้กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 400 คน สถิติใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการปฏิบัติโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้ง 4 ด้าน โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก 2. ปัจจัยเชิงนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้ง 6 ด้าน โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก และ ระดับความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้ง 2 ด้าน โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก จากการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ ด้านนโยบายของรัฐ (x1), ด้านการบริหาร(x4), ด้านกฎหมาย(x2), ด้านวิถีชีวิต(x3),สามารถอธิบายความผันแปรของความสำเร็จในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ได้ร้อยละ 78 (R = 0.78) และด้านการนำระเบียบไปปฏิบัติ(x8) ด้านการบูรณาการการทำงาน(x10) ด้านการให้ความรู้ความเข้าใจ(x7) ด้านการตรวจสอบโครงการ(x9) และด้านการนำนโยบายไปปฏิบัติ (x6) สามารถอธิบายความผันแปรของความสำเร็จในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ได้ร้อยละ 52 (R = 0.52) ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดฉะเชิงเทรา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สมมติฐาน ยอมรับได้
ความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1) ด้านความพึงพอใจของประชาชน คือขั้นตอนเป็นไปตามที่ระเบียบกำหนด ความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการแต่ละขั้นตอน ความเป็นธรรมของการบริการ เช่น เรียงตามลำดับก่อนหลัง มีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน แบบฟอร์มมีความชัดเจน และมีตัวอย่างการกรอกแบบฟอร์มหรือคำร้อง เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความสามารถในการให้บริการ ช่วยแก้ปัญหาได้ และเอาใจใส่ กระตือรือร้น และความพร้อมในการให้บริการ มีช่องทางการรับฟังความคิดเห็นต่อการให้บริการ เช่น ตู้รับฟังความคิดเห็น เว็บไซต์มีการประชาสัมพันธ์การให้บริการ เช่น แผ่นพับ ป้ายประชาสัมพันธ์ มีสื่อประชาสัมพันธ์/คู่มือและเอกสารให้ความรู้ โดยจัดให้มีสายด่วน ในการสอบถามข้อมูล มีการการแจ้งแผนผังขั้นตอนและผู้ให้บริการ การจัดทำป้ายข้อความ ป้ายประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการให้บริการมีความชัดเจน เข้าใจง่าย มีการใช้วัสดุ อุปกรณ์สำหรับการให้บริการมีความทันสมัย การให้บริการเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด และข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ เจ้าหน้าที่ให้บริการต่อผู้รับบริการเหมือนกันทุกราย โดยไม่เลือกปฏิบัติ 2) ด้านการสร้างทุนมนุษย์ที่ยั่งยืน นั้นเป็นการลงทุนในทุนมนุษย์ที่จะช่วยบำรุงรักษาคุณค่าและเพิ่มค่าทุนมนุษย์ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดสรรทรัพยากร และเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และความเป็นธรรมในการกระจายรายได้ นโยบายนี้เป็นการสร้างทุนมนุษย์และมีความสำคัญต่อกำลังคนมาก โครงการเกิดผลดีต่อสังคมในด้านการช่วยเพิ่มคุณภาพให้กับทุนมนุษย์ และสามารถประเมินค่าทางเศรษฐกิจด้านต้นทุนได้ในอนาคต ทำให้โครงการนี้เกิดประโยชน์ต่อสาธารณชนอย่างมากโดยวัดค่าเป็นตัวเงินไม่ได้เพราะเกิดประโยชน์กับระบบเศรษฐกิจ สังคม ที่มีคุณภาพCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27957 SIU THE-T. การประเมินความสำเร็จตามโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดฉะเชิงเทรา = Assessing the Success of the Newborn Child care subsidy Program of the Local Government Organization in Chachoengsao Province [printed text] / ศิรพงศ์ โภคินวงศ์หิรัญ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xii, 193 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความสำเร็จ
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- ฉะเชิงเทรา
[LCSH]เงินอุดหนุนKeywords: การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ, เงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น Abstract: การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการปฏิบัติโครงการและปัจจัยเชิงนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด 2) เพื่อศึกษาความสำเร็จของสภาพการปฏิบัติโครงการและปัจจัยเชิงนโยบายโครงการ ที่ส่งผลต่อโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดฉะเชิงเทรา การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยใช้แบบผสานวิธี (Mixed-methods Research) โดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม โดยการสุ่มจากผู้ปฏิบัติงาน คือพนักงานท้องถิ่น และอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) ได้กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 400 คน สถิติใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการปฏิบัติโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้ง 4 ด้าน โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก 2. ปัจจัยเชิงนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้ง 6 ด้าน โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก และ ระดับความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้ง 2 ด้าน โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก จากการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ ด้านนโยบายของรัฐ (x1), ด้านการบริหาร(x4), ด้านกฎหมาย(x2), ด้านวิถีชีวิต(x3),สามารถอธิบายความผันแปรของความสำเร็จในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ได้ร้อยละ 78 (R = 0.78) และด้านการนำระเบียบไปปฏิบัติ(x8) ด้านการบูรณาการการทำงาน(x10) ด้านการให้ความรู้ความเข้าใจ(x7) ด้านการตรวจสอบโครงการ(x9) และด้านการนำนโยบายไปปฏิบัติ (x6) สามารถอธิบายความผันแปรของความสำเร็จในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ได้ร้อยละ 52 (R = 0.52) ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดฉะเชิงเทรา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สมมติฐาน ยอมรับได้
ความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1) ด้านความพึงพอใจของประชาชน คือขั้นตอนเป็นไปตามที่ระเบียบกำหนด ความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการแต่ละขั้นตอน ความเป็นธรรมของการบริการ เช่น เรียงตามลำดับก่อนหลัง มีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน แบบฟอร์มมีความชัดเจน และมีตัวอย่างการกรอกแบบฟอร์มหรือคำร้อง เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความสามารถในการให้บริการ ช่วยแก้ปัญหาได้ และเอาใจใส่ กระตือรือร้น และความพร้อมในการให้บริการ มีช่องทางการรับฟังความคิดเห็นต่อการให้บริการ เช่น ตู้รับฟังความคิดเห็น เว็บไซต์มีการประชาสัมพันธ์การให้บริการ เช่น แผ่นพับ ป้ายประชาสัมพันธ์ มีสื่อประชาสัมพันธ์/คู่มือและเอกสารให้ความรู้ โดยจัดให้มีสายด่วน ในการสอบถามข้อมูล มีการการแจ้งแผนผังขั้นตอนและผู้ให้บริการ การจัดทำป้ายข้อความ ป้ายประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการให้บริการมีความชัดเจน เข้าใจง่าย มีการใช้วัสดุ อุปกรณ์สำหรับการให้บริการมีความทันสมัย การให้บริการเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด และข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ เจ้าหน้าที่ให้บริการต่อผู้รับบริการเหมือนกันทุกราย โดยไม่เลือกปฏิบัติ 2) ด้านการสร้างทุนมนุษย์ที่ยั่งยืน นั้นเป็นการลงทุนในทุนมนุษย์ที่จะช่วยบำรุงรักษาคุณค่าและเพิ่มค่าทุนมนุษย์ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดสรรทรัพยากร และเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และความเป็นธรรมในการกระจายรายได้ นโยบายนี้เป็นการสร้างทุนมนุษย์และมีความสำคัญต่อกำลังคนมาก โครงการเกิดผลดีต่อสังคมในด้านการช่วยเพิ่มคุณภาพให้กับทุนมนุษย์ และสามารถประเมินค่าทางเศรษฐกิจด้านต้นทุนได้ในอนาคต ทำให้โครงการนี้เกิดประโยชน์ต่อสาธารณชนอย่างมากโดยวัดค่าเป็นตัวเงินไม่ได้เพราะเกิดประโยชน์กับระบบเศรษฐกิจ สังคม ที่มีคุณภาพCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27957 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607967 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-09 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607965 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-09 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available