From this page you can:
Home |
Author details
Author มั่นคง สุปรีดา
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesการประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง / สุปรีดา มั่นคง in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง : และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน Material Type: printed text Authors: สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.84-101 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.84-101Keywords: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแลผู้ป่วย.การดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน.โรงพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน โดยการใช้การดูแลระยะเปลี่ยนผ่านตามแนวคิดของเนเลอร์ เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย.
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ กลุ่มผู้ป่วย และญาติผู้ดูแลตามเกณฑ์ แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 34 คู่ และกลุ่มทดลอง 40 คู่
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
1)โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลือดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
2)แบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล
3)แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4)แบบประเมินความพร้อมของญาติผู้ดูแล
5)แบบประเมินภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย
6)แบบประเมินความมั่นใจในการดูแล
7)แบบประเมินความเครียดของญาติผู้ดูแล
8)แบบประเมินคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
และ 9)แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยและฐาติผู้ดูแล
ผลการศึกษา พบว่า ระยะ 1เ ดือน-3 เดือน หลังจำหน่าย ค่าเฉี่ยคะแนนความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ความพร้อมของญาติผู้ดูแล และความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และในระยะ 3 เดือนหลังจำหน่าย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการปรับตัวและคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การศึกษาครั้งนี้ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวสามารถนำไปปรับใช้กับการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสื่อมและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26872 [article] การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง : และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน [printed text] / สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author . - 2017 . - p.84-101.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.84-101Keywords: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแลผู้ป่วย.การดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน.โรงพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน โดยการใช้การดูแลระยะเปลี่ยนผ่านตามแนวคิดของเนเลอร์ เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย.
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ กลุ่มผู้ป่วย และญาติผู้ดูแลตามเกณฑ์ แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 34 คู่ และกลุ่มทดลอง 40 คู่
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
1)โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลือดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
2)แบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล
3)แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4)แบบประเมินความพร้อมของญาติผู้ดูแล
5)แบบประเมินภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย
6)แบบประเมินความมั่นใจในการดูแล
7)แบบประเมินความเครียดของญาติผู้ดูแล
8)แบบประเมินคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
และ 9)แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยและฐาติผู้ดูแล
ผลการศึกษา พบว่า ระยะ 1เ ดือน-3 เดือน หลังจำหน่าย ค่าเฉี่ยคะแนนความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ความพร้อมของญาติผู้ดูแล และความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และในระยะ 3 เดือนหลังจำหน่าย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการปรับตัวและคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การศึกษาครั้งนี้ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวสามารถนำไปปรับใช้กับการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสื่อมและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26872 ความเหนื่อยล้าและวิธีการจัดการกับความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุ / ลัดดาวัลย์ ไกรรักษ์ in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 ([11/16/2017])
[article]
Title : ความเหนื่อยล้าและวิธีการจัดการกับความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุ : ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวภายหลังออกจากโรงพยาบาล Original title : Fatigue and fatigue management of family caregivers caring for older adults with heart failure post discharge Material Type: printed text Authors: ลัดดาวัลย์ ไกรรักษ์, Author ; วรรณภา ประไพพานิช, Author ; สุปรีดา มั่นคง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.17-30 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.17-30Keywords: ญาติผู้ดูแล.ความเหน่อยล้า.การจัดการกับความเหนื่อยล้า.ภาวะหัวใจล้มเหลว. Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษาความเหนื่อยล้าและการจัดการกับความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว โดยใช้ทฤษฎี The Theory of Unpleasant Symptoms และ Model for symptom management เป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา
กลุ่มตัวอย่างเป็นญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวที่จำหน่ายออกจากโรงพยาบาลไปแล้วอย่างน้อย1เดือน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ตามคุณสมบัติที่กำหนด จำนวน 100 คน เครื่องมือเก็บข้อมูล 4 ส่วน ประกอบด้วย 1) แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย 2) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของญาติ 3) แบบสอบถามความเหนื่อยล้า และ 4) แบบสอบถามการจัดการกับอาการเหนื่อยล้า วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย
ผลการวิจัยพบว่าญาติผู้ดูแลทั้งหมดมีความเหนื่อยล้าหลายระดับ โดยส่วนใหญ่มีความเหนื่อยล้าระดับปานกลาง มีการจัดการกับความเหนื่อยล้าโดยการไม่ใช้ยา และการใช้ยาร่วมกับการไม่ใช้ยา สำหรับการจัดการความเหนื่อยล้าโดยการไม่ใช้ยามีหลายกิจกรรมร่วมกัน ซึ่ง 5 กิจกรรมที่ใช้มาก ได้แก่ การพูดคุยกับคนรู้ใจ การนอนหลับ/พักผ่อน การทำสมาธิ การฟังดนตรีและการออกกำลังกาย กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีต่างๆในการจัดการกับความเหนื่อยล้าให้เหมาะสมตามสถานการณ์และอาการที่เกิดขึ้น แหล่งข้อมูลของการจัดการโดยไม่ใช้ยาขึ้นอยู่กับวิธีจัดการด้วยตนเองตามอาการและวิธีการของตนเอง โดยได้ความรู้จากแผ่นพับหรือหนังสือ ญาติผู้ดูแลจัดการกับความเหนื่อยล้าโดยการใช้ยาร่วมด้วยนั้นใช้แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่มาจากแพทย์และพยาบาลโดยคำนึงถึงการใช้ยาในขนาดที่เหมาะสม กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดคิดว่าการจัดการกับตนเองช่วยให้ความเหนื่อยล้าลดลงและช่วยให้รู้สึกสบายใจมากขึ้น กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดปฏิบัติกิจกรรมการจัดการกับความเหนื่อยล้าที่บ้าน
ผลการศึกษาแสดงว่าญาติผู้ดูแลผู้ป่วยมีความเหนื่อยล้า พยาบาลควรวางแผนการพยาบาลเพื่อป้องกัน ช่วยเหลือและแก้ไขการเกิดความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27486 [article] ความเหนื่อยล้าและวิธีการจัดการกับความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุ = Fatigue and fatigue management of family caregivers caring for older adults with heart failure post discharge : ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวภายหลังออกจากโรงพยาบาล [printed text] / ลัดดาวัลย์ ไกรรักษ์, Author ; วรรณภา ประไพพานิช, Author ; สุปรีดา มั่นคง, Author . - 2017 . - p.17-30.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.17-30Keywords: ญาติผู้ดูแล.ความเหน่อยล้า.การจัดการกับความเหนื่อยล้า.ภาวะหัวใจล้มเหลว. Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษาความเหนื่อยล้าและการจัดการกับความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว โดยใช้ทฤษฎี The Theory of Unpleasant Symptoms และ Model for symptom management เป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา
กลุ่มตัวอย่างเป็นญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวที่จำหน่ายออกจากโรงพยาบาลไปแล้วอย่างน้อย1เดือน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ตามคุณสมบัติที่กำหนด จำนวน 100 คน เครื่องมือเก็บข้อมูล 4 ส่วน ประกอบด้วย 1) แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย 2) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของญาติ 3) แบบสอบถามความเหนื่อยล้า และ 4) แบบสอบถามการจัดการกับอาการเหนื่อยล้า วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย
ผลการวิจัยพบว่าญาติผู้ดูแลทั้งหมดมีความเหนื่อยล้าหลายระดับ โดยส่วนใหญ่มีความเหนื่อยล้าระดับปานกลาง มีการจัดการกับความเหนื่อยล้าโดยการไม่ใช้ยา และการใช้ยาร่วมกับการไม่ใช้ยา สำหรับการจัดการความเหนื่อยล้าโดยการไม่ใช้ยามีหลายกิจกรรมร่วมกัน ซึ่ง 5 กิจกรรมที่ใช้มาก ได้แก่ การพูดคุยกับคนรู้ใจ การนอนหลับ/พักผ่อน การทำสมาธิ การฟังดนตรีและการออกกำลังกาย กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีต่างๆในการจัดการกับความเหนื่อยล้าให้เหมาะสมตามสถานการณ์และอาการที่เกิดขึ้น แหล่งข้อมูลของการจัดการโดยไม่ใช้ยาขึ้นอยู่กับวิธีจัดการด้วยตนเองตามอาการและวิธีการของตนเอง โดยได้ความรู้จากแผ่นพับหรือหนังสือ ญาติผู้ดูแลจัดการกับความเหนื่อยล้าโดยการใช้ยาร่วมด้วยนั้นใช้แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่มาจากแพทย์และพยาบาลโดยคำนึงถึงการใช้ยาในขนาดที่เหมาะสม กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดคิดว่าการจัดการกับตนเองช่วยให้ความเหนื่อยล้าลดลงและช่วยให้รู้สึกสบายใจมากขึ้น กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดปฏิบัติกิจกรรมการจัดการกับความเหนื่อยล้าที่บ้าน
ผลการศึกษาแสดงว่าญาติผู้ดูแลผู้ป่วยมีความเหนื่อยล้า พยาบาลควรวางแผนการพยาบาลเพื่อป้องกัน ช่วยเหลือและแก้ไขการเกิดความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27486 ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความพร้อมในการดูแล / นันทกาญจน์ ปักษี in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.22 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/14/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความพร้อมในการดูแล : ความเครียด การปรับตัว และความพึงพอใจต่อบริการที่ได้รับของญาติผู้ดูแล Material Type: printed text Authors: นันทกาญจน์ ปักษี, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สุปรีดา มั่นคง, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.65-79 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.22 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/14/2016] . - p.65-79Keywords: การดูแลผู้ป่วย.โรคหลอดเลือดสมอง.ความเครียด.การปรับตัว.ความพึงพอใจต่อบริการที่ได้รับ.ญาติผู้ป่วย.ผู้ดูแล. Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25545 [article] ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความพร้อมในการดูแล : ความเครียด การปรับตัว และความพึงพอใจต่อบริการที่ได้รับของญาติผู้ดูแล [printed text] / นันทกาญจน์ ปักษี, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สุปรีดา มั่นคง, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author . - 2016 . - p.65-79.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและญาติผู้ดูแล ระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความสามารถในการปฏิบัีติกิจวัตรประจำวันภาวะแทรกซ้อน และความพึงพอใจของผู้ป่วย / วาสนา มูลฐี in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 ([03/29/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและญาติผู้ดูแล ระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความสามารถในการปฏิบัีติกิจวัตรประจำวันภาวะแทรกซ้อน และความพึงพอใจของผู้ป่วย Original title : Impact of transitional care programme and family caregivers on stroke patient's routine activity performannce complications and satisfaction Material Type: printed text Authors: วาสนา มูลฐี, Author ; สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.95-110 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 [03/29/2016] . - p.95-110Keywords: ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วย.โรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแล.ความสามารถการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน.ภาวะแทรกซ้อน.ความพึงพอใจของผู้ป่วย. Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25650 [article] ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและญาติผู้ดูแล ระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความสามารถในการปฏิบัีติกิจวัตรประจำวันภาวะแทรกซ้อน และความพึงพอใจของผู้ป่วย = Impact of transitional care programme and family caregivers on stroke patient's routine activity performannce complications and satisfaction [printed text] / วาสนา มูลฐี, Author ; สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author . - 2016 . - p.95-110.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)