Title : | รายงานการวิจัยเรื่อง การตัดสินใจใช้ยาบ้าของผู้เสพติดชายวันทำงาน | Material Type: | printed text | Authors: | เสริมสุข ราษฎร์ดุษฎี, Author ; ดุษณีย์ ชาญปรีชา, Author ; อภิรดี พฤกษาพนาชาตื, Author ; รุจิรา อาภาุบุษยพันธุ์, Author | Publisher: | โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข | Publication Date: | 2544 | Pagination: | ก-ค, 39 หน้า | Layout: | ตารางประกอบ. | Size: | 30 ซม. | ISBN (or other code): | 978-974-773-994-1 | Price: | บริจาค. | Languages : | Thai (tha) | Descriptors: | [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย [LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด [LCSH]ยาบ้า -- การเสพติด
| Keywords: | ยาบ้า.
วัยทำงาน.
การใช้สารเสพติด. | Class number: | HV5840 ร726 2544 | Abstract: | งานวิจัยนี้เพื่อศึกษา การรับรู้ การให้ึความหมาย และการตัดสินใจใช้ยาบ้าของชายวัยทำงาน วิธีการศึกษาใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก แบบกึ่งโครงสร้าง จากผู้ป่วยตึกมุกและตึกมรกตในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ จำนวน 8 ราย ผลการศึกษามีดังนี้ ประเด็นที่เกี่ยวข้องและส่งผลให้เกิดการตัดสินใจใช้ยาบ้าของผู้เสพติดชายวัยทำงานได้แก่
การขาดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องโทษ พิษภัยของยาบ้า ทำให้ผู้ป่วยมีความเชื่อและทัศนคติต่อยาบ้าไม่เหมาะสม โดยเชื่อว่าการเสพยาบ้าไม่ทำให้ติด และใช้แล้วจะทำงานได้มากขึ้น จึงทดลองใช้
โอกาสและประสบการณ์ที่ผู้ป่วยได้สัมผัสและคลุกคลีกับกลุ่มผู้ใช้ยาบ้า เมื่อมีโอกาสได้เข้าไปรับรู้และเห็นบ่อย ๆ ถูกเพื่อนชักชวย บางครั้งต้องการเป็นคนเด่น เท่ห์ เป็นส่วนหนึ่งในกลุ่มเพื่อน จึงตัดสินใจทดลองใช้
การที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีการแพร่ระบาดของยาบ้า จนเห็นเป็นเรื่องปกติ เมื่อถูกเพื่อนชักชวนจึงเข้าไปร่วมเสพโดยง่าย
การเผชิญความเครียดที่ไม่มีประสิทธิภาพ ปัญหาต่าง ๆ ที่ทำให้ผู้ป่วยเกิดความเครียด ได้แก่ ปัญหาครอบครัวแตกแยก ความขัดแย้งในครอบครัว ภาระหนี้ิสิน การขาดผู้ให้คำปรึกษา เมื่อผู้ป่วยไม่สามารถจัดการกับต้นเหตุของความเครียดได้สำเร็จ จึงเกิดพฤติกรรมการใช้ยาบ้าที่ทำให้ความเครียดลดลงได้เพียงชั่วคราวเท่านั้น
แนวทางการแำก้่ไขเพื่อลดปัญหาให้อยู่ในระดับที่มีผลเสียหายต่อสังคมน้อยที่สุด มีดังนี้
การให้ความรู้แก่ประชาชนโดยผ่านทางสือมวลชนแขนงต่าง ๆ เกี่ยวกับโทษและพิษของยาบ้า เพื่อลดการอยากรู้อยากลอง การเพิ่มบทบาทของชุมชน ส่งเสริมให้ชุมชนมีการรวมตัวกันเพื่อให้ชุมชนเข้มแข็ง ปลุกจิตสำนึกให้ทุกคนเกิดความรับผิดชอบ ป้องกันยาเสพติดที่อาจเกิดขี้นกับชุมชนของตนเอง กำจัดแหล่งมั่วสุมและแหล่งอบายมุขต่าง ๆ ที่อาจนำไปสู่ปัญหายาเสพติด และการเพิ่มหน่วยบริการให้คำปรึกษาปัญหายาเสพติดให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ การเปิดบริการโทรศัพท์สายด่วนตอบปัญหายาเสพติด และปัญหาที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ เพื่อให้ผู้ที่มีปัญหาได้มีที่ปรึกษาและได้รับความช่วยเหลือที่ถูกต้อง เป็นการแก้ไขและลดปัญหาทางสังคม
| Curricular : | BALA/BNS/GE | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23297 |
รายงานการวิจัยเรื่อง การตัดสินใจใช้ยาบ้าของผู้เสพติดชายวันทำงาน [printed text] / เสริมสุข ราษฎร์ดุษฎี, Author ; ดุษณีย์ ชาญปรีชา, Author ; อภิรดี พฤกษาพนาชาตื, Author ; รุจิรา อาภาุบุษยพันธุ์, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - ก-ค, 39 หน้า : ตารางประกอบ. ; 30 ซม. ISSN : 978-974-773-994-1 : บริจาค. Languages : Thai ( tha) Descriptors: | [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย [LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด [LCSH]ยาบ้า -- การเสพติด
| Keywords: | ยาบ้า.
วัยทำงาน.
การใช้สารเสพติด. | Class number: | HV5840 ร726 2544 | Abstract: | งานวิจัยนี้เพื่อศึกษา การรับรู้ การให้ึความหมาย และการตัดสินใจใช้ยาบ้าของชายวัยทำงาน วิธีการศึกษาใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก แบบกึ่งโครงสร้าง จากผู้ป่วยตึกมุกและตึกมรกตในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ จำนวน 8 ราย ผลการศึกษามีดังนี้ ประเด็นที่เกี่ยวข้องและส่งผลให้เกิดการตัดสินใจใช้ยาบ้าของผู้เสพติดชายวัยทำงานได้แก่
การขาดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องโทษ พิษภัยของยาบ้า ทำให้ผู้ป่วยมีความเชื่อและทัศนคติต่อยาบ้าไม่เหมาะสม โดยเชื่อว่าการเสพยาบ้าไม่ทำให้ติด และใช้แล้วจะทำงานได้มากขึ้น จึงทดลองใช้
โอกาสและประสบการณ์ที่ผู้ป่วยได้สัมผัสและคลุกคลีกับกลุ่มผู้ใช้ยาบ้า เมื่อมีโอกาสได้เข้าไปรับรู้และเห็นบ่อย ๆ ถูกเพื่อนชักชวย บางครั้งต้องการเป็นคนเด่น เท่ห์ เป็นส่วนหนึ่งในกลุ่มเพื่อน จึงตัดสินใจทดลองใช้
การที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีการแพร่ระบาดของยาบ้า จนเห็นเป็นเรื่องปกติ เมื่อถูกเพื่อนชักชวนจึงเข้าไปร่วมเสพโดยง่าย
การเผชิญความเครียดที่ไม่มีประสิทธิภาพ ปัญหาต่าง ๆ ที่ทำให้ผู้ป่วยเกิดความเครียด ได้แก่ ปัญหาครอบครัวแตกแยก ความขัดแย้งในครอบครัว ภาระหนี้ิสิน การขาดผู้ให้คำปรึกษา เมื่อผู้ป่วยไม่สามารถจัดการกับต้นเหตุของความเครียดได้สำเร็จ จึงเกิดพฤติกรรมการใช้ยาบ้าที่ทำให้ความเครียดลดลงได้เพียงชั่วคราวเท่านั้น
แนวทางการแำก้่ไขเพื่อลดปัญหาให้อยู่ในระดับที่มีผลเสียหายต่อสังคมน้อยที่สุด มีดังนี้
การให้ความรู้แก่ประชาชนโดยผ่านทางสือมวลชนแขนงต่าง ๆ เกี่ยวกับโทษและพิษของยาบ้า เพื่อลดการอยากรู้อยากลอง การเพิ่มบทบาทของชุมชน ส่งเสริมให้ชุมชนมีการรวมตัวกันเพื่อให้ชุมชนเข้มแข็ง ปลุกจิตสำนึกให้ทุกคนเกิดความรับผิดชอบ ป้องกันยาเสพติดที่อาจเกิดขี้นกับชุมชนของตนเอง กำจัดแหล่งมั่วสุมและแหล่งอบายมุขต่าง ๆ ที่อาจนำไปสู่ปัญหายาเสพติด และการเพิ่มหน่วยบริการให้คำปรึกษาปัญหายาเสพติดให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ การเปิดบริการโทรศัพท์สายด่วนตอบปัญหายาเสพติด และปัญหาที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ เพื่อให้ผู้ที่มีปัญหาได้มีที่ปรึกษาและได้รับความช่วยเหลือที่ถูกต้อง เป็นการแก้ไขและลดปัญหาทางสังคม
| Curricular : | BALA/BNS/GE | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23297 |
| |