From this page you can:
Home |
Author details
Author รัตน์วิจิตต์เวช รักซ้อน
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesกระบวนการติดเฮโรอีน / รักซ้อน รัตน์วิจิตต์เวช / บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ - 2538
Title : กระบวนการติดเฮโรอีน Original title : The processes of heroin addiction Material Type: printed text Authors: รักซ้อน รัตน์วิจิตต์เวช, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Publication Date: 2538 Pagination: 201 หน้า. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: ปริญญานิพนธ์ (ศศ.ด (พัฒนศึกษาศาสตร์))-- มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2538 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่สังคม
[LCSH]การติดเฮโรอีน
[LCSH]ยาเสพติดกับเยาวชนKeywords: เฮโรอีน.
การเสพยา.Class number: WM270 ร711 2538 Abstract: การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการใช้การสัมภาษณ์ระดับลึก รายละเอียดประวัติชีวิตของกลุ่มผู้ติดยาเสพติดเกี่ยวกับประสบการณ์ชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเข้าสู่กระบวนการติดเฮโรอีนและทัศนะของพวกเขาเกี่ยวกับเงื่อนไขที่เกิดขึ้นในชีวิตที่ทำให้เขาเป็นผู้ติดเฮโรอีน กลุ่มตัวอย่างได้จากการเลือกแบบเชิงทฤษฎีจากเยาวชนผู้ติดเฮโรอีนที่มารับบริการบำบัดรักษาที่คลินิคยาเสพติด โดยการถอนพิษยด้วยเมทาโดน เพศชาย อายุระหว่าง 15-25 ปี จำนวนทั้งหมด 32 ราย
ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการติดเฮโรอีนของเยาวชนประกอบด้วยขั้นตอนต่อเนื่องดังนี้
1.ขั้นเริ่มต้นเสพ เงื่อนไขที่ทำให้เยาวชนเข้าสู่ขั้นเริ่มต้นเสพ ได้แก่ เงื่อนไขด้านบุคคล เงื่อนไขด้านเพื่อน เงื่อนไขด้านครอบครัว เงื่อนไขด้านโรงเรียน เงื่อนไขเีกี่ยวกับเฮโรอีน และเงื่อนไขเสพด้วยความไม่รู้
2. ขั้นเสพต่อเนื่อง เงื่อนไขที่ทำให้เยาวชนเมื่อผ่านขั้นเริ่มต้นเสพแล้วมีการเสพต่อเนื่อง ได้แก่ ความรู้สึกเคลิบเคลิ้มสุขสบาย การประเมินความรู้สึกตนเอง การอธิบายเหตุผล การปฎิสังสรรค์กับเพื่อนที่เสพเฮโรอีน การหลีกเลี่ยงกลุ่มอาการเนื่องจากการหยุดยา และติดใจรสชาดของเฮโรอีน
ผลการวิจัยพบว่า มีเงื่อนไขที่ทำให้กระบวนการติดเฮโรอีนถูกชะลอให้ช้าออกไป ได้แก่ การให้ความหมายในเชิงลบ การไม่รู้วิธีเสพที่ถูกต้อง และเงื่อนไขด้านสถานการณ์ที่ไม่เอื้อต่อการเสพเฮโรอีนต่อ
นอกจากนั้น การธำรงการเป็นผู้ติดเฮโรอีนขึ้นอยู่กับการยอมรับและให้นิยามตนเอง เครือข่ายสัมพันธ์ ลักษณะความสัมพันธ์ การถูกประทับตรา และการมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนแบบซ่อนเร้นด้วยการแสดงตัวเหมือนคนอื่น ๆ เป็นต้น
ผลการวิจัยนี้ นำไปสู่ข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การป้องกันและให้การศึกษาเกี่ยวกับการใช้ยาเสพติด การบำบัดรักษา การฟื้นฟูสมรรถภาพ การติดตามผล และการดูแลภายหลังการบำบัดรักษา ผลการวิจัยนี่จะเป็นประโยชน์ต่อพ่อ แม่ ครู อาจารย์ นักเรียน และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาเสพติดCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23292 กระบวนการติดเฮโรอีน = The processes of heroin addiction [printed text] / รักซ้อน รัตน์วิจิตต์เวช, Author . - กรุงเทพ ฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2538 . - 201 หน้า. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค.
ปริญญานิพนธ์ (ศศ.ด (พัฒนศึกษาศาสตร์))-- มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2538
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่สังคม
[LCSH]การติดเฮโรอีน
[LCSH]ยาเสพติดกับเยาวชนKeywords: เฮโรอีน.
การเสพยา.Class number: WM270 ร711 2538 Abstract: การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการใช้การสัมภาษณ์ระดับลึก รายละเอียดประวัติชีวิตของกลุ่มผู้ติดยาเสพติดเกี่ยวกับประสบการณ์ชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเข้าสู่กระบวนการติดเฮโรอีนและทัศนะของพวกเขาเกี่ยวกับเงื่อนไขที่เกิดขึ้นในชีวิตที่ทำให้เขาเป็นผู้ติดเฮโรอีน กลุ่มตัวอย่างได้จากการเลือกแบบเชิงทฤษฎีจากเยาวชนผู้ติดเฮโรอีนที่มารับบริการบำบัดรักษาที่คลินิคยาเสพติด โดยการถอนพิษยด้วยเมทาโดน เพศชาย อายุระหว่าง 15-25 ปี จำนวนทั้งหมด 32 ราย
ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการติดเฮโรอีนของเยาวชนประกอบด้วยขั้นตอนต่อเนื่องดังนี้
1.ขั้นเริ่มต้นเสพ เงื่อนไขที่ทำให้เยาวชนเข้าสู่ขั้นเริ่มต้นเสพ ได้แก่ เงื่อนไขด้านบุคคล เงื่อนไขด้านเพื่อน เงื่อนไขด้านครอบครัว เงื่อนไขด้านโรงเรียน เงื่อนไขเีกี่ยวกับเฮโรอีน และเงื่อนไขเสพด้วยความไม่รู้
2. ขั้นเสพต่อเนื่อง เงื่อนไขที่ทำให้เยาวชนเมื่อผ่านขั้นเริ่มต้นเสพแล้วมีการเสพต่อเนื่อง ได้แก่ ความรู้สึกเคลิบเคลิ้มสุขสบาย การประเมินความรู้สึกตนเอง การอธิบายเหตุผล การปฎิสังสรรค์กับเพื่อนที่เสพเฮโรอีน การหลีกเลี่ยงกลุ่มอาการเนื่องจากการหยุดยา และติดใจรสชาดของเฮโรอีน
ผลการวิจัยพบว่า มีเงื่อนไขที่ทำให้กระบวนการติดเฮโรอีนถูกชะลอให้ช้าออกไป ได้แก่ การให้ความหมายในเชิงลบ การไม่รู้วิธีเสพที่ถูกต้อง และเงื่อนไขด้านสถานการณ์ที่ไม่เอื้อต่อการเสพเฮโรอีนต่อ
นอกจากนั้น การธำรงการเป็นผู้ติดเฮโรอีนขึ้นอยู่กับการยอมรับและให้นิยามตนเอง เครือข่ายสัมพันธ์ ลักษณะความสัมพันธ์ การถูกประทับตรา และการมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนแบบซ่อนเร้นด้วยการแสดงตัวเหมือนคนอื่น ๆ เป็นต้น
ผลการวิจัยนี้ นำไปสู่ข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การป้องกันและให้การศึกษาเกี่ยวกับการใช้ยาเสพติด การบำบัดรักษา การฟื้นฟูสมรรถภาพ การติดตามผล และการดูแลภายหลังการบำบัดรักษา ผลการวิจัยนี่จะเป็นประโยชน์ต่อพ่อ แม่ ครู อาจารย์ นักเรียน และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาเสพติดCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23292 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357044 THE WM270 ร711 2538 Book Main Library General Shelf Available