From this page you can:
Home |
Available articles
Add the result to your basketการใช้ผู้ป่วยจำลองในการศึกษาพยาบาล / ประทุม สร้อยวงศ์ in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([03/07/2016])
[article]
Title : การใช้ผู้ป่วยจำลองในการศึกษาพยาบาล Original title : The use of standardized patients in nursing education Material Type: printed text Authors: ประทุม สร้อยวงศ์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.289-296 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p.289-296Keywords: ผู้ป่วยจำลองการศึกษาพยาบาลการใช้ผู้ป่วยจำลอง Abstract: ผู้ป่วยจำจอง หมายถึง บุคคลทั่วไปที่มีสุขภาพดี หรือผู้ป่วยหรือที่ได้รับการเตรียมหรือฝึกให้แสดงบทบาทของการเป็นผู้ป่วย การใช้ผู้ป่วยจำลองในการศึกษาพยาบาลมีวัตถุประสงค์เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้และเกิดทักษะที่ต้องการโดยผ่านการมีปฏิสัมพันธ์ของผู้เรียนกับผู้ป่วยจำลองพบว่า เป็นวิธีการสอนที่ดีวิธีหนึ่ง ที่ช่วยส่งเสริมทักษะการสื่อสาร ความมั่นใจทักษะ และความสามารถของนักศึกษาในการประเมินสุขภาพ ช่วยให้นักศึกษาได้ฝึกการคิดเชิงวิเคราะห์ และช่วยลดความกลัว หรือความกังวลของนักศึกษาได้ เนื้อหาของบทความรี้ ประกอบด้วยลักษณะของผู้ป่วยจำลอง ข้อดี ข้อเสียในการใช้ผู้ป่วยจำลอง ประเด็นที่ควรพิจารณหากสถาบันการศึกษาจะนำผู้ป่วยจำลองไปใช้เป็นวิธีการหนึ่งในการจัดการเรียนการสอน รวมทั้งนำเสนอตัวอย่างการใช้ผู้ป่วยจำลองในการสอนทางคลินิก เรื่อง การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็ง ในการฝึกปฏิบัติการพยายาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 สำหรับนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 จำนวน 36 คน ผลการประเมินของนักศึกษา พบว่า ผู้เรียนร้อยละ 61.10 มีความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งในระดับดี ผู้เรียนร้อยละ 94 มีความมั่นใจในระดับสูงในการนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติและร้อยละ 97 มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดต่อการเรียนรู้ด้วยวิธีนี้ นอกจากนี้นักศึกษาประเมินว่าการเรียนด้วยวิธีนี้สนุก ได้ประสบการณ์ตรงในการให้การพยาบาลผู้ป่วยจำลองที่เหมือนในสถานการณ์จริงและทำให้ตระหนักถึงความรู้สึกของผู้ป่วย Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25405 [article] การใช้ผู้ป่วยจำลองในการศึกษาพยาบาล = The use of standardized patients in nursing education [printed text] / ประทุม สร้อยวงศ์, Author . - 2016 . - p.289-296.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p.289-296Keywords: ผู้ป่วยจำลองการศึกษาพยาบาลการใช้ผู้ป่วยจำลอง Abstract: ผู้ป่วยจำจอง หมายถึง บุคคลทั่วไปที่มีสุขภาพดี หรือผู้ป่วยหรือที่ได้รับการเตรียมหรือฝึกให้แสดงบทบาทของการเป็นผู้ป่วย การใช้ผู้ป่วยจำลองในการศึกษาพยาบาลมีวัตถุประสงค์เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้และเกิดทักษะที่ต้องการโดยผ่านการมีปฏิสัมพันธ์ของผู้เรียนกับผู้ป่วยจำลองพบว่า เป็นวิธีการสอนที่ดีวิธีหนึ่ง ที่ช่วยส่งเสริมทักษะการสื่อสาร ความมั่นใจทักษะ และความสามารถของนักศึกษาในการประเมินสุขภาพ ช่วยให้นักศึกษาได้ฝึกการคิดเชิงวิเคราะห์ และช่วยลดความกลัว หรือความกังวลของนักศึกษาได้ เนื้อหาของบทความรี้ ประกอบด้วยลักษณะของผู้ป่วยจำลอง ข้อดี ข้อเสียในการใช้ผู้ป่วยจำลอง ประเด็นที่ควรพิจารณหากสถาบันการศึกษาจะนำผู้ป่วยจำลองไปใช้เป็นวิธีการหนึ่งในการจัดการเรียนการสอน รวมทั้งนำเสนอตัวอย่างการใช้ผู้ป่วยจำลองในการสอนทางคลินิก เรื่อง การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็ง ในการฝึกปฏิบัติการพยายาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 สำหรับนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 จำนวน 36 คน ผลการประเมินของนักศึกษา พบว่า ผู้เรียนร้อยละ 61.10 มีความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งในระดับดี ผู้เรียนร้อยละ 94 มีความมั่นใจในระดับสูงในการนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติและร้อยละ 97 มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดต่อการเรียนรู้ด้วยวิธีนี้ นอกจากนี้นักศึกษาประเมินว่าการเรียนด้วยวิธีนี้สนุก ได้ประสบการณ์ตรงในการให้การพยาบาลผู้ป่วยจำลองที่เหมือนในสถานการณ์จริงและทำให้ตระหนักถึงความรู้สึกของผู้ป่วย Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25405 รองเท้าสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน บทบาทของพยาบาล / รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([03/07/2016])
[article]
Title : รองเท้าสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน บทบาทของพยาบาล Original title : Shoes for persons with diabets nurses mellitus nurse roles Material Type: printed text Authors: รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.298-308 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p.298-308Keywords: รองเท้าผู้ป่วยโรคเบาหวานแผลที่เท้าการป้องกันแผลที่เท้าบทบาทของพยาบาล Abstract: วัตถุประสงค์ เพื่อนำเสนอบทบาทของพยาบาลในการจัดการเกี่ยวกับรองเท้าสำหรับผู้ป่วยเบาหวาร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการป้องกีนการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน โดยพยาบาลมีบทบาทตั้งแต่การประเมินความเสี่ยงของเท้า การให้คำแนะนำในการป่องกันการเกิดแผลที่เท้าตามระดับกลุ่มเสี่ยง การบริหารจัดการ การเลือกรองเท้าสำหรับผู้ป่วยเบาหวานตามลักษณะภาวะแทรกซ้อนที่เท้า การแก้ไขอุปสรรคในการจัดบริการรองเท้าใหเผู้ป่วยเบาหวานตามสิทธิหลักประกันสุขภาพ และการค้นหาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการไม่ใช้รองเท้าสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน โดยมีเป้าหมายคือ เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวาน Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25406 [article] รองเท้าสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน บทบาทของพยาบาล = Shoes for persons with diabets nurses mellitus nurse roles [printed text] / รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย, Author . - 2016 . - p.298-308.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p.298-308Keywords: รองเท้าผู้ป่วยโรคเบาหวานแผลที่เท้าการป้องกันแผลที่เท้าบทบาทของพยาบาล Abstract: วัตถุประสงค์ เพื่อนำเสนอบทบาทของพยาบาลในการจัดการเกี่ยวกับรองเท้าสำหรับผู้ป่วยเบาหวาร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการป้องกีนการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน โดยพยาบาลมีบทบาทตั้งแต่การประเมินความเสี่ยงของเท้า การให้คำแนะนำในการป่องกันการเกิดแผลที่เท้าตามระดับกลุ่มเสี่ยง การบริหารจัดการ การเลือกรองเท้าสำหรับผู้ป่วยเบาหวานตามลักษณะภาวะแทรกซ้อนที่เท้า การแก้ไขอุปสรรคในการจัดบริการรองเท้าใหเผู้ป่วยเบาหวานตามสิทธิหลักประกันสุขภาพ และการค้นหาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการไม่ใช้รองเท้าสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน โดยมีเป้าหมายคือ เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวาน Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25406 การทบทวนหลักฐานเชิงประจักษ์เกี่ยวกับการป้องกันและจัดการการติดเชื้อ / ธิดารัตน์ แสงรุ่ง in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([03/07/2016])
[article]
Title : การทบทวนหลักฐานเชิงประจักษ์เกี่ยวกับการป้องกันและจัดการการติดเชื้อ : ไวรัสอีสุกอีใสของบุคลากรทีมสุขภาพ Original title : A review of evidence on prevention and management of varicella zocter infection in health care workers Material Type: printed text Authors: ธิดารัตน์ แสงรุ่ง, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.309-321 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p.309-321Keywords: โรคอีสุกอีใสเชื้อไวรัสวาริเซลลาวัคซีนป้องกันโรคอีสุกอีใสการป้องกันและจัดการบุคลากรทีมสุขภาพ Abstract: วัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมหลักฐานอ้างอิงทางวิชาการอย่างเป็นระบบ วิเคราะห์ และสรุปประเด็นสำคัญของงานวิจัยที่เกี่ยวกับแนวทางการป้องกันและจัดการการติดเชื้อไวรัสอีสุกอีใสของบุคลากรทีมสุขภาพในโรงพยาบาล วิธีการศึกษาสืบค้นจากงานวิจัยที่เกั้ยวข้องที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในปี ค.ศ. 1995-2010 จากฐานข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์และวารสารวิชาการต่าง ๆ ได้งานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งหมด 18 เรื่อง แบ่งเป็นงานวิจัยระดับ B จำนวน 1 เรื่อง และระดับ C จำนวน 17 เรื่อง ผลการศึกษาสรุปเนื้อหาออกได้เป็น 3 ส่วน คือ 1 วิธีการคัดกรองโรคอีสุกอีใสสามารถทำนายการมีภูมิคุ้มกันต่อเชื้่อไวรัสอีสุกอีใสหรือประวัติเคยได้รับวัคซีนป้องกันไวรัสอีสุกอีใสในร่างกายได้ โดยยืนยันผลจากการตรวจเลือดหาแอนติบอดิชนิด IgG ต่อเชื้อไวรัสอีสุกอีใสด้วยวิธี enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) 2 วิธีการป้องกันการติดเชื้อไวรัสอีสุกอีใสของบุคลากรทีมสุขภาพในโรงพยาบาล ได้แก่ การให้วัคซิีนป้องกันไวรัสอีสุกอีใสบุคลากรที่ไม่เคยเป็น หรือไม่แน่ใจว่าเคยเป็นโรคอีสุกอีใสมาก่อน 3 วิธีการจัดการการติดเชื้อไวรัสอีสุกอีใสของบุคลากรทีมสุขภาพในโรงพยาบาล ได้แก่ การแยกผู้ป่วย การลางาน จึงต้องจ้างบุคลากรอื่นทำงานทดแทน และการใช้ยาอะไซโคลเวียร์ หรือ VZIG (varicella zoster immunoglobulin ในการรักษาผู้สัมผัสเชื้อไวรัสอีสุกอีใสและผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกันในร่างกายต่ำ วิธีการจัดการเล่านี้กระทำเมื่อมีการระบาดของโรคเกิดขึ้นแล้ว ซึ่งอาจจะมีความเสี่ยงต่อการระบาดของโรคได้มากกว่าที่คาดไว้
Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25407 [article] การทบทวนหลักฐานเชิงประจักษ์เกี่ยวกับการป้องกันและจัดการการติดเชื้อ = A review of evidence on prevention and management of varicella zocter infection in health care workers : ไวรัสอีสุกอีใสของบุคลากรทีมสุขภาพ [printed text] / ธิดารัตน์ แสงรุ่ง, Author . - 2016 . - p.309-321.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p.309-321Keywords: โรคอีสุกอีใสเชื้อไวรัสวาริเซลลาวัคซีนป้องกันโรคอีสุกอีใสการป้องกันและจัดการบุคลากรทีมสุขภาพ Abstract: วัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมหลักฐานอ้างอิงทางวิชาการอย่างเป็นระบบ วิเคราะห์ และสรุปประเด็นสำคัญของงานวิจัยที่เกี่ยวกับแนวทางการป้องกันและจัดการการติดเชื้อไวรัสอีสุกอีใสของบุคลากรทีมสุขภาพในโรงพยาบาล วิธีการศึกษาสืบค้นจากงานวิจัยที่เกั้ยวข้องที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในปี ค.ศ. 1995-2010 จากฐานข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์และวารสารวิชาการต่าง ๆ ได้งานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งหมด 18 เรื่อง แบ่งเป็นงานวิจัยระดับ B จำนวน 1 เรื่อง และระดับ C จำนวน 17 เรื่อง ผลการศึกษาสรุปเนื้อหาออกได้เป็น 3 ส่วน คือ 1 วิธีการคัดกรองโรคอีสุกอีใสสามารถทำนายการมีภูมิคุ้มกันต่อเชื้่อไวรัสอีสุกอีใสหรือประวัติเคยได้รับวัคซีนป้องกันไวรัสอีสุกอีใสในร่างกายได้ โดยยืนยันผลจากการตรวจเลือดหาแอนติบอดิชนิด IgG ต่อเชื้อไวรัสอีสุกอีใสด้วยวิธี enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) 2 วิธีการป้องกันการติดเชื้อไวรัสอีสุกอีใสของบุคลากรทีมสุขภาพในโรงพยาบาล ได้แก่ การให้วัคซิีนป้องกันไวรัสอีสุกอีใสบุคลากรที่ไม่เคยเป็น หรือไม่แน่ใจว่าเคยเป็นโรคอีสุกอีใสมาก่อน 3 วิธีการจัดการการติดเชื้อไวรัสอีสุกอีใสของบุคลากรทีมสุขภาพในโรงพยาบาล ได้แก่ การแยกผู้ป่วย การลางาน จึงต้องจ้างบุคลากรอื่นทำงานทดแทน และการใช้ยาอะไซโคลเวียร์ หรือ VZIG (varicella zoster immunoglobulin ในการรักษาผู้สัมผัสเชื้อไวรัสอีสุกอีใสและผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกันในร่างกายต่ำ วิธีการจัดการเล่านี้กระทำเมื่อมีการระบาดของโรคเกิดขึ้นแล้ว ซึ่งอาจจะมีความเสี่ยงต่อการระบาดของโรคได้มากกว่าที่คาดไว้
Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25407 ภาระในการดูแลตนเองของผู้ป่วยที่มีภาวะผิดปกติของระบบประสาทที่เกี่ยวกับการติดเชื้อเอชไอวี / สมพิศ พงษ์วิรัตน์ in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([03/07/2016])
[article]
Title : ภาระในการดูแลตนเองของผู้ป่วยที่มีภาวะผิดปกติของระบบประสาทที่เกี่ยวกับการติดเชื้อเอชไอวี Original title : Self-care burden in patients with HIV - Associated neurocognitive disorders Material Type: printed text Authors: สมพิศ พงษ์วิรัตน์, Author ; พูลสุข เจนพาณิชย์, Author ; ศศิโสภิณ เกียรติบูรณกุล, Author Publication Date: 2016 Article on page: p322-334 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p322-334Keywords: ภาระในการดูแลตนเองภาระผิดปกติทางระบบประสาทการติดเชื้อเอชไอวี Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณา เพื่อศึกษาความชุกของภาวะผิดปกติของระบบประสาทที่เกี่ยวกับการติดเชื้อเอชไอวี และภาระในการดูแลตนเองของผู้ป่วยที่มีภาวะผิดปกติของระบบประสาทที่เกี่ยวกับการติดเชื่อเอชไอวี โดยใช้แนวคิดเรืท่องภาระในการดูแลตนเองของโอเบริสต์ เป็นแนวทางในการศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ติดเชื่อเอชไอวีที่เข้ามารับการรักษาในคลินิกโรคติดเชื้อเอชไอวี คิดเป็นร้อยละ 12.40 และพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีภาระในการดูแลตนเองโดยรวมเฉลี่ยในระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 77.27 เมื่อพิจารณาคะแนนในการดูแลตนเองรายด้าน พบว่า การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ การจัดการเรื่องค่าใช้จ่าย และการหาแหล่งประโยชน์ในชุมชน เพื่อนำมาช่วยในการดูแลสุขภาพเป็นภาระในการดูแลตนเองมากที่สุด ผลการศึกษาครั้งนี้ช่วยให้ทีมสุขภาพวางแผนให้การดูแลที่เฉพาะเจาะจงสำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะผิดปกติทางระบบประสาทที่เกี่ยวกับการติดเชื้อเอชไอวีเพือลดภาระในการดูแลตนเองของกลุ่มนี้และส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25408 [article] ภาระในการดูแลตนเองของผู้ป่วยที่มีภาวะผิดปกติของระบบประสาทที่เกี่ยวกับการติดเชื้อเอชไอวี = Self-care burden in patients with HIV - Associated neurocognitive disorders [printed text] / สมพิศ พงษ์วิรัตน์, Author ; พูลสุข เจนพาณิชย์, Author ; ศศิโสภิณ เกียรติบูรณกุล, Author . - 2016 . - p322-334.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p322-334Keywords: ภาระในการดูแลตนเองภาระผิดปกติทางระบบประสาทการติดเชื้อเอชไอวี Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณา เพื่อศึกษาความชุกของภาวะผิดปกติของระบบประสาทที่เกี่ยวกับการติดเชื้อเอชไอวี และภาระในการดูแลตนเองของผู้ป่วยที่มีภาวะผิดปกติของระบบประสาทที่เกี่ยวกับการติดเชื่อเอชไอวี โดยใช้แนวคิดเรืท่องภาระในการดูแลตนเองของโอเบริสต์ เป็นแนวทางในการศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ติดเชื่อเอชไอวีที่เข้ามารับการรักษาในคลินิกโรคติดเชื้อเอชไอวี คิดเป็นร้อยละ 12.40 และพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีภาระในการดูแลตนเองโดยรวมเฉลี่ยในระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 77.27 เมื่อพิจารณาคะแนนในการดูแลตนเองรายด้าน พบว่า การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ การจัดการเรื่องค่าใช้จ่าย และการหาแหล่งประโยชน์ในชุมชน เพื่อนำมาช่วยในการดูแลสุขภาพเป็นภาระในการดูแลตนเองมากที่สุด ผลการศึกษาครั้งนี้ช่วยให้ทีมสุขภาพวางแผนให้การดูแลที่เฉพาะเจาะจงสำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะผิดปกติทางระบบประสาทที่เกี่ยวกับการติดเชื้อเอชไอวีเพือลดภาระในการดูแลตนเองของกลุ่มนี้และส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25408 ปััจัยทำนายพฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อโรคมือเท้าปากของ / วิภาดา แสงนิมิตรชัยกุล in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([03/07/2016])
[article]
Title : ปััจัยทำนายพฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อโรคมือเท้าปากของ : ผู้ดูแลเด็กในสถานรับเลี้ยงเด็กเล็กวัยก่อนอนุบาลและผู้ปกครอง Original title : Fcators predicting preventive health behavior regarding hand foot and mouse disease among pre-kindergarten's caretakers and parents Material Type: printed text Authors: วิภาดา แสงนิมิตรชัยกุล, Author ; ปรีย์กมล รัชนกุล, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.336-351 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p.336-351Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันการติดโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กเล็กวัยก่อนอนุบาล กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลเด็กในสถานรับเลี้ยงเด็ก จำนวน 179 ราย และผู้ปกครองของเด็กที่มารับบริการในสถานรับเลี้ยงเด็กเล็กวัยก่อนนอนุบาลจำนวน 179 ราย กลุ่มตัวอย่างถูกคัดเลือกสถานรับเลี้ยงเด็กที่้เป็นศูนย์เด็กเล็ก หรือโรงเรียนอนุบาลที่อยู่ในสังกัดมหาวิทยาลัยและสังกัดกรมการปรกครองส่วนท้องถิ่น แบบชั้นภูมิโดยจำแนกเป็นอำเภอในจังหวัดปทุมธานี และเลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ 1 แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครอง 2 แบบสอบถามการรับรู้ภาวะสุขภาพเด็กของผู้ดูแล 3 แบบสอบถามการรับรู้ข้อมูลข่่าวสาร 4 แบบวัดความรู้เกี่ยวกับโรค มือ เท้า ปาก 5 แบบสอบถามการรับรู้เกี่ยวกัยโรค มือ เท้า ปาก และ 6 แบบสอบถามพฤติกรรมการติดเชื้อโรค มือ เท้า ปาก วิเคราะห์ข่้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย วิเคราะห์ปัจจัยทำนายโดยใช้สถิติวิเคราะห์ถดถอยพหคูณ แบบขั้นตอน ผกการศึกษา พบว่า ในกลุ่มผู้ดูแลเด็ก ปัจจัยที่สามารถทำนายพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโรค มือ เท้า ปาก ได้แก่ ความรู้เรื่องโรคมือ เท้า ปาก ประสบการณ์การดูแลเด็กผู้ป่วยของผู้ดูแลเด็ก และการรับรู้ข้อมูลข่่าวสารเกี่ยวกับการระบาดของโรค ซึ่งทำนายได้ร้อยละ 14 อย่างมี่นัยสำคัญทางสถิติ และในกลุ่มผู้ปกครองปัจจัยที่สมามารถทำนายพฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อโรคมือ เท้า ปากได้ คือ ความรู้เรื่องโรคมือ เท้่า ปาก และระดับการศึกษาของผู้ปกครอง สามารถทำนายได้ร้อยละ 9.80 อย่างมีนัยสำคัฯทางสถิติ แม้อำนาขของตัวแปรทำนายดังกล่าวไม่สูง แต่ก๋ควรส่งเสริมให้ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองได้รับความรู้ ข้อมูล ข้าวสาร และกระตุ้นเตือนอย่างสมำเสมอ เพื่อให้เกิดพฤติกรรมการป้้องกันการติดเชื้อ โรคมือ เท้่า ปาก และเป็นแนวทางหนึ่งที่ช่งบลดการระบาดไดี่ระดับหนึุ่ง Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25409 [article] ปััจัยทำนายพฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อโรคมือเท้าปากของ = Fcators predicting preventive health behavior regarding hand foot and mouse disease among pre-kindergarten's caretakers and parents : ผู้ดูแลเด็กในสถานรับเลี้ยงเด็กเล็กวัยก่อนอนุบาลและผู้ปกครอง [printed text] / วิภาดา แสงนิมิตรชัยกุล, Author ; ปรีย์กมล รัชนกุล, Author . - 2016 . - p.336-351.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p.336-351Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันการติดโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กเล็กวัยก่อนอนุบาล กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลเด็กในสถานรับเลี้ยงเด็ก จำนวน 179 ราย และผู้ปกครองของเด็กที่มารับบริการในสถานรับเลี้ยงเด็กเล็กวัยก่อนนอนุบาลจำนวน 179 ราย กลุ่มตัวอย่างถูกคัดเลือกสถานรับเลี้ยงเด็กที่้เป็นศูนย์เด็กเล็ก หรือโรงเรียนอนุบาลที่อยู่ในสังกัดมหาวิทยาลัยและสังกัดกรมการปรกครองส่วนท้องถิ่น แบบชั้นภูมิโดยจำแนกเป็นอำเภอในจังหวัดปทุมธานี และเลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ 1 แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครอง 2 แบบสอบถามการรับรู้ภาวะสุขภาพเด็กของผู้ดูแล 3 แบบสอบถามการรับรู้ข้อมูลข่่าวสาร 4 แบบวัดความรู้เกี่ยวกับโรค มือ เท้า ปาก 5 แบบสอบถามการรับรู้เกี่ยวกัยโรค มือ เท้า ปาก และ 6 แบบสอบถามพฤติกรรมการติดเชื้อโรค มือ เท้า ปาก วิเคราะห์ข่้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย วิเคราะห์ปัจจัยทำนายโดยใช้สถิติวิเคราะห์ถดถอยพหคูณ แบบขั้นตอน ผกการศึกษา พบว่า ในกลุ่มผู้ดูแลเด็ก ปัจจัยที่สามารถทำนายพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโรค มือ เท้า ปาก ได้แก่ ความรู้เรื่องโรคมือ เท้า ปาก ประสบการณ์การดูแลเด็กผู้ป่วยของผู้ดูแลเด็ก และการรับรู้ข้อมูลข่่าวสารเกี่ยวกับการระบาดของโรค ซึ่งทำนายได้ร้อยละ 14 อย่างมี่นัยสำคัญทางสถิติ และในกลุ่มผู้ปกครองปัจจัยที่สมามารถทำนายพฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อโรคมือ เท้า ปากได้ คือ ความรู้เรื่องโรคมือ เท้่า ปาก และระดับการศึกษาของผู้ปกครอง สามารถทำนายได้ร้อยละ 9.80 อย่างมีนัยสำคัฯทางสถิติ แม้อำนาขของตัวแปรทำนายดังกล่าวไม่สูง แต่ก๋ควรส่งเสริมให้ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองได้รับความรู้ ข้อมูล ข้าวสาร และกระตุ้นเตือนอย่างสมำเสมอ เพื่อให้เกิดพฤติกรรมการป้้องกันการติดเชื้อ โรคมือ เท้่า ปาก และเป็นแนวทางหนึ่งที่ช่งบลดการระบาดไดี่ระดับหนึุ่ง Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25409 ผลของการใช้โปรแกรมการจัดการตนเองต่อการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมการหายใจลำบาก / ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([03/07/2016])
[article]
Title : ผลของการใช้โปรแกรมการจัดการตนเองต่อการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมการหายใจลำบาก : และความทนทานในการออกกำลังกายของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง Original title : Effect of a self management program on perceived self efficacy to control Dyspnea and exercise tolerance in patients with chronic obstructive pulmonary disease Material Type: printed text Authors: ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, Author ; ละเอียด จารุสมบัติ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.352-367 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p.352-367Keywords: โปรแกรมการจัดการตนเองการรับรู้สมรรถนะของตนเองการควบคุมอาการหายใจลำบากความทนทานในการออกกำลังกายผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมการจัดการตนเองต่อการรับรู่สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจลำบาก และความทนทานในการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โดยใช้กรอบแนวความคิดการสนับสนุนการจัดการตนเองของวากเนอร์และคณะ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยอายุุรกรรม โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิแห่งหนึ่งด้วยอาการหายใจลำบาก จำนวน 70 ราย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 35 ราย และกลุ่มทดลอง 35 ราย กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการตนเอง 8 สัปดาห์ ประกอบด้วย การให้ความรู้และฝึกทักษะพื้นฐานในการจัดการตนเอง และการสนับสนุนให้ผู้ป่วยได้ทำกิจกรรมการจัดการตนเองโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ร่วมกับการสนับสนุนให้ครอบครัวมีส่วนร่วมและติดตามเยี่ยมประเมินผล ในสัปดาห์ที่ 4 และ 8 เครื่องมือที่ใช่้ ประกอบด้วย แแบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจลำบาก และประเมินความทนทานในการออกกำลังกาย โดยการทดสอบระยะทางที่เดินได้ใน 6 วินาที วิเคราะห์ข้อมูบโดยใช้สถิติบรรยาย การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ 1 ปัจจัย ร่วมกับการเปรียบเทียบระหวา่างกลุ่ม พบว่า กลุ่มตัวอย่าวงร้อยละ 99.30 เป(็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 68.64 ปี SD = 8.99 กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีอายุเฉลี่ยไม่แตกต่างกัน ภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายในจลำบาก แตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และกลุ่มทดลองมีความทนทานในการออกกำลังกายไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม การศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะ คือ การจัดการคนเองในผู้ป่วยปอดดุดกั้นเรื้อรัง จะประสบผลสำเร็จได้ ผู้ป่วยต้องเข้ามามามีส่วนร่วมในการวางแผนกิจกรรม โดยทางครอบครัวต้องเป็นผู้สนับสนุน พยาบาสลเป็นผู็ส่งเสริมสมรรถนะในการปฏิบัิตกิจกรรม และเป็นหุ้นส่วนในการจัดการตนเองของผู้ป่วย Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25410 [article] ผลของการใช้โปรแกรมการจัดการตนเองต่อการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมการหายใจลำบาก = Effect of a self management program on perceived self efficacy to control Dyspnea and exercise tolerance in patients with chronic obstructive pulmonary disease : และความทนทานในการออกกำลังกายของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง [printed text] / ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, Author ; ละเอียด จารุสมบัติ, Author . - 2016 . - p.352-367.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p.352-367Keywords: โปรแกรมการจัดการตนเองการรับรู้สมรรถนะของตนเองการควบคุมอาการหายใจลำบากความทนทานในการออกกำลังกายผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมการจัดการตนเองต่อการรับรู่สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจลำบาก และความทนทานในการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โดยใช้กรอบแนวความคิดการสนับสนุนการจัดการตนเองของวากเนอร์และคณะ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยอายุุรกรรม โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิแห่งหนึ่งด้วยอาการหายใจลำบาก จำนวน 70 ราย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 35 ราย และกลุ่มทดลอง 35 ราย กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการตนเอง 8 สัปดาห์ ประกอบด้วย การให้ความรู้และฝึกทักษะพื้นฐานในการจัดการตนเอง และการสนับสนุนให้ผู้ป่วยได้ทำกิจกรรมการจัดการตนเองโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ร่วมกับการสนับสนุนให้ครอบครัวมีส่วนร่วมและติดตามเยี่ยมประเมินผล ในสัปดาห์ที่ 4 และ 8 เครื่องมือที่ใช่้ ประกอบด้วย แแบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายใจลำบาก และประเมินความทนทานในการออกกำลังกาย โดยการทดสอบระยะทางที่เดินได้ใน 6 วินาที วิเคราะห์ข้อมูบโดยใช้สถิติบรรยาย การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ 1 ปัจจัย ร่วมกับการเปรียบเทียบระหวา่างกลุ่ม พบว่า กลุ่มตัวอย่าวงร้อยละ 99.30 เป(็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 68.64 ปี SD = 8.99 กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีอายุเฉลี่ยไม่แตกต่างกัน ภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการควบคุมอาการหายในจลำบาก แตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และกลุ่มทดลองมีความทนทานในการออกกำลังกายไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม การศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะ คือ การจัดการคนเองในผู้ป่วยปอดดุดกั้นเรื้อรัง จะประสบผลสำเร็จได้ ผู้ป่วยต้องเข้ามามามีส่วนร่วมในการวางแผนกิจกรรม โดยทางครอบครัวต้องเป็นผู้สนับสนุน พยาบาสลเป็นผู็ส่งเสริมสมรรถนะในการปฏิบัิตกิจกรรม และเป็นหุ้นส่วนในการจัดการตนเองของผู้ป่วย Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25410 ผลของการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธต่อความวิตกกังวลของผู้ดูแล / สุนันทา ตั้งปนิธานดี in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([03/07/2016])
[article]
Title : ผลของการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธต่อความวิตกกังวลของผู้ดูแล : เด็กกำพร้า และถูกทอดทิ้ง Original title : Effect of counseling based on Buddhist psychology on anxiety in foster parents Material Type: printed text Authors: สุนันทา ตั้งปนิธานดี, Author ; ชนมน เจนจิรวัฒน์, Author ; ปัญจศา ลี้ศิริสรรพ์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.368-381 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p.368-381Keywords: การให้คำปรึกษา จิตวิทยาแนวพุทธผู้ดูแลเด็กกำพร้าและถูกทอดทิ้งความวิตกกังวล Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธต่อความวิตกกังวลของผู้ดูแลเด็กกำพร้าและถูกทอดทิ้ง ใช้รูปแบบการวิจัยแบบกลุ่มเดียววัดผลเปรีัยบเทียบก่อนและหลังการทดลอง 1 ครั้ง ระหว่างการทดลอง 4 ครั้ง และหลังสิ้นสุดการทดลอง 1 ครั้ง วัดแต่ละครั้งห่างกัน 3-4 สัปดาห์ ยึดหลักการพิทักษ์สิทธิ์ และยินยอมเข้าร่วมงานวิจัยก่อนดำเนินการเก็บข้อมูล กลุ่มตัวอย่างคือ แม่และน้าผู้ปฏิบัติบทบาทมารดาทดแทนในการเลี้ยงดูเด็กกำพร้า และถูกทอดทิ้ง หมู่บ้านเด็กมูลนิธิสงเคราะห์เด็กของสภากาชาไดทย จำนวน 11 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ดำเนินการโดยให้แม่และน้าเข้าร่วมการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธทั้งแบขบรายบุคคล และรายกลุ่ม ครั้งละประมาณ 3 ชั่วโมง รวมทั้งหมด 5 ครั้ง เป็นระยะเวลา 14 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได่แก่ การให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามวัดความวิตกกังวลของสปิลเบอร์เกอร์ วิเคราะหข้อมูลด้วยสถิติบรรยายและสถิติ Wilcoxon Signed -Ranks Test ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยคแนนความวิตกกังวลหลังเข้าร่วมการให้คำปรึกษาครั้งที่ 1 2 3 4 และ 5 ต่ำกว่าก่อนให้คำปรึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ตังนั้รการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธควรได้รับการพิจารณในการนำมาใช้เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ปฏิบัติบทบาทมารดาทดแทนในการเลีึ้ยงดูเด็กกำพร้าและถูกทอดทิ้่ง อย่างไรก็ตจาม ในการศึกษาครั้งนี้ ไม่มีกลุ่มควบคุมและจำนวนตัวอย่างน้อย จึงมีข้อจำกัดในการอ้างอิงผลการวิจัยในกลุ่มอื่น Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25411 [article] ผลของการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธต่อความวิตกกังวลของผู้ดูแล = Effect of counseling based on Buddhist psychology on anxiety in foster parents : เด็กกำพร้า และถูกทอดทิ้ง [printed text] / สุนันทา ตั้งปนิธานดี, Author ; ชนมน เจนจิรวัฒน์, Author ; ปัญจศา ลี้ศิริสรรพ์, Author . - 2016 . - p.368-381.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p.368-381Keywords: การให้คำปรึกษา จิตวิทยาแนวพุทธผู้ดูแลเด็กกำพร้าและถูกทอดทิ้งความวิตกกังวล Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธต่อความวิตกกังวลของผู้ดูแลเด็กกำพร้าและถูกทอดทิ้ง ใช้รูปแบบการวิจัยแบบกลุ่มเดียววัดผลเปรีัยบเทียบก่อนและหลังการทดลอง 1 ครั้ง ระหว่างการทดลอง 4 ครั้ง และหลังสิ้นสุดการทดลอง 1 ครั้ง วัดแต่ละครั้งห่างกัน 3-4 สัปดาห์ ยึดหลักการพิทักษ์สิทธิ์ และยินยอมเข้าร่วมงานวิจัยก่อนดำเนินการเก็บข้อมูล กลุ่มตัวอย่างคือ แม่และน้าผู้ปฏิบัติบทบาทมารดาทดแทนในการเลี้ยงดูเด็กกำพร้า และถูกทอดทิ้ง หมู่บ้านเด็กมูลนิธิสงเคราะห์เด็กของสภากาชาไดทย จำนวน 11 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ดำเนินการโดยให้แม่และน้าเข้าร่วมการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธทั้งแบขบรายบุคคล และรายกลุ่ม ครั้งละประมาณ 3 ชั่วโมง รวมทั้งหมด 5 ครั้ง เป็นระยะเวลา 14 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได่แก่ การให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามวัดความวิตกกังวลของสปิลเบอร์เกอร์ วิเคราะหข้อมูลด้วยสถิติบรรยายและสถิติ Wilcoxon Signed -Ranks Test ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยคแนนความวิตกกังวลหลังเข้าร่วมการให้คำปรึกษาครั้งที่ 1 2 3 4 และ 5 ต่ำกว่าก่อนให้คำปรึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ตังนั้รการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธควรได้รับการพิจารณในการนำมาใช้เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ปฏิบัติบทบาทมารดาทดแทนในการเลีึ้ยงดูเด็กกำพร้าและถูกทอดทิ้่ง อย่างไรก็ตจาม ในการศึกษาครั้งนี้ ไม่มีกลุ่มควบคุมและจำนวนตัวอย่างน้อย จึงมีข้อจำกัดในการอ้างอิงผลการวิจัยในกลุ่มอื่น Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25411 รูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล / ภาวนา กีรติยุตวงศ์ in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([03/07/2016])
[article]
Title : รูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล : มหาวิทยาลัยบูรพา Material Type: printed text Authors: ภาวนา กีรติยุตวงศ์, Author ; สุวรรณี มหากายนันท์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.382-394 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p.382-394Keywords: รูปแบบการเรียนรู้นักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาตรี Abstract: เพื่อศึกาารูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาลหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาบูรพา จำแนกตามชั้นปี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความเพียงพอต่อค่าใช้จ่ายที่ได้รับต่างกันมีรูปแบบการเรียนรู้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิต ผลการวิจัยนี้ชี้ให้เห็นว่า ผู้สอนควรให้ความสนใจกับรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบสล และออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้่องกัลผู้เรียนในแต่ละชั้นปี Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25412 [article] รูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล : มหาวิทยาลัยบูรพา [printed text] / ภาวนา กีรติยุตวงศ์, Author ; สุวรรณี มหากายนันท์, Author . - 2016 . - p.382-394.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p.382-394Keywords: รูปแบบการเรียนรู้นักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาตรี Abstract: เพื่อศึกาารูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาลหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาบูรพา จำแนกตามชั้นปี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความเพียงพอต่อค่าใช้จ่ายที่ได้รับต่างกันมีรูปแบบการเรียนรู้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิต ผลการวิจัยนี้ชี้ให้เห็นว่า ผู้สอนควรให้ความสนใจกับรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบสล และออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้่องกัลผู้เรียนในแต่ละชั้นปี Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25412 การใช้นวัตกรรมหุ่นแขนในการฝึกหัตถการใ้สารน้ำทางหลอดเลือดดำของนักศึกษาพยาบาล / สุภลักษณ์ เชยชม in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([03/07/2016])
[article]
Title : การใช้นวัตกรรมหุ่นแขนในการฝึกหัตถการใ้สารน้ำทางหลอดเลือดดำของนักศึกษาพยาบาล Material Type: printed text Authors: สุภลักษณ์ เชยชม, Author ; ดลรัตน์ รุจิวัฒนาการ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.395-407 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p.395-407Keywords: นวัตกรรมหุ่นแขนการใหสารน้ำหลอดเลือดดำการฝึกหัดถการในห้องปฏิบัติการนักศึกษาพยาบาล Abstract: การวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อพัฒนานวัตกรรมหุ่นแขนให้สารนำ้ทางหลอดเลือดดำให้มีลักษระทางกายวิภาคศาสตร์ และสรีรวิทยาคล้ายมนุษย์และเปรียบเทียบผลการใช้นวัตกรรมหุ่นแขนกับหุ่นแขนให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำแบบเดิม ใช้กรอบแนวคิดกรวยประสบการณ์ของเดล เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด กล่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งหนึ่งลงทะเบียนเรียนวิชาสปฏิบัติการพยาบาลรากฐาน 1 จำนวน 152 ราย เครื่องมือทรี่ใช้ในการทดลอง ประกอบด้วย หุ่นแขน แบบเดิมและนวัตกรรมหุ่นแขน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และแบบประเมินการใช้หุ่นแขนให้สารน้ำหลอดเลือดดำ ซึ่งประเมินคุณภาพ 4 ด้าน ได้แก่ 1. ความเหมือนจริง 2. ทักษะการปฏิบัติในการแงเข็มให้สารน้ำ 3 เจคติต่อวิชาชีพพยาบาลเมื่อแทงเข็มให้สารน้ำ และ 4 การนำไปใช้ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติบรรยายและสถิติ Wilcoxon ฆรเืำก - ฑฟืา Test ผลการวิจัย พบว่า คะแนนประเมินการใช้นวัตกรรมหุ่นแขนสูงกว่า หุ่นแขนแบบเดิม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กลุ่มตัวอย่างให้ข้อคิดเห็นว่า คุณลักษณะของนวัตกรรมหุ่านแขน ที่มีเบือดไหลย้อนเมื่อแทงเข็มเข้าหล่อดเลือดดำช่วยเสริมสร้างความมั่นใจ ความพร้อมในการปฏิบัติงานจริงให้แก่นักศึกษา และต้องการให้นวีตกรรมหุ่นแขน มีสิ่งช่งชี้เมื่อแทงเข็มทะลุออกนอกหลอดเลือด หรือไม่ตรงตามตำแหน่ง ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้ นำไปสู่การพัฒนาคุณลักษระและประสิทธิภาพของนวัตกรรมหุ่นแขนเพื่อฝึกหัตถการให้สารน่้ำทางหลอดเลือดดำต่อไป
Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25413 [article] การใช้นวัตกรรมหุ่นแขนในการฝึกหัตถการใ้สารน้ำทางหลอดเลือดดำของนักศึกษาพยาบาล [printed text] / สุภลักษณ์ เชยชม, Author ; ดลรัตน์ รุจิวัฒนาการ, Author . - 2016 . - p.395-407.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p.395-407Keywords: นวัตกรรมหุ่นแขนการใหสารน้ำหลอดเลือดดำการฝึกหัดถการในห้องปฏิบัติการนักศึกษาพยาบาล Abstract: การวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อพัฒนานวัตกรรมหุ่นแขนให้สารนำ้ทางหลอดเลือดดำให้มีลักษระทางกายวิภาคศาสตร์ และสรีรวิทยาคล้ายมนุษย์และเปรียบเทียบผลการใช้นวัตกรรมหุ่นแขนกับหุ่นแขนให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำแบบเดิม ใช้กรอบแนวคิดกรวยประสบการณ์ของเดล เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด กล่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งหนึ่งลงทะเบียนเรียนวิชาสปฏิบัติการพยาบาลรากฐาน 1 จำนวน 152 ราย เครื่องมือทรี่ใช้ในการทดลอง ประกอบด้วย หุ่นแขน แบบเดิมและนวัตกรรมหุ่นแขน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และแบบประเมินการใช้หุ่นแขนให้สารน้ำหลอดเลือดดำ ซึ่งประเมินคุณภาพ 4 ด้าน ได้แก่ 1. ความเหมือนจริง 2. ทักษะการปฏิบัติในการแงเข็มให้สารน้ำ 3 เจคติต่อวิชาชีพพยาบาลเมื่อแทงเข็มให้สารน้ำ และ 4 การนำไปใช้ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติบรรยายและสถิติ Wilcoxon ฆรเืำก - ฑฟืา Test ผลการวิจัย พบว่า คะแนนประเมินการใช้นวัตกรรมหุ่นแขนสูงกว่า หุ่นแขนแบบเดิม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กลุ่มตัวอย่างให้ข้อคิดเห็นว่า คุณลักษณะของนวัตกรรมหุ่านแขน ที่มีเบือดไหลย้อนเมื่อแทงเข็มเข้าหล่อดเลือดดำช่วยเสริมสร้างความมั่นใจ ความพร้อมในการปฏิบัติงานจริงให้แก่นักศึกษา และต้องการให้นวีตกรรมหุ่นแขน มีสิ่งช่งชี้เมื่อแทงเข็มทะลุออกนอกหลอดเลือด หรือไม่ตรงตามตำแหน่ง ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้ นำไปสู่การพัฒนาคุณลักษระและประสิทธิภาพของนวัตกรรมหุ่นแขนเพื่อฝึกหัตถการให้สารน่้ำทางหลอดเลือดดำต่อไป
Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25413