From this page you can:
Home |
วารสารเกื้อการุณย์ / คณะพยาบาลศาสตร์ เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช . Vol.22 No.2 July-Dec 2015Published date : 02/15/2016 |
Available articles
Add the result to your basketบทบามพยาบาลในการป้องกันภาวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์ / สุชาดา เตชาวาทกุล in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.22 No.2 July-Dec 2015 ([02/15/2016])
[article]
Title : บทบามพยาบาลในการป้องกันภาวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์ Original title : Nursing roles for preventing preeclampsia Material Type: printed text Authors: สุชาดา เตชาวาทกุล, Author Publication Date: 2016 Article on page: หน้า 7-19 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.2 July-Dec 2015 [02/15/2016] . - หน้า 7-19Keywords: ภวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์บทบาทพยาบาล Abstract: ภาวะความดันโลหิตสูงในจตรีตั้งครรภ์เป็นภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรมที่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อทั้งสตรีและทารกในครรภ์ โดยอาจทำให้สตรีตั้งครรภ์เกิดการชัก เกิดภาวะของโรคหลอกเลือดสมองอย่างฉับพลัน และกลุ่มอาการ HELLP ในขณะที่ทารกอาจเกิดภาวะเจริญเติบโตช้าในครรภ์ การคลอดก่อนกำหนด เป็นต้น ถึงแม้ในปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุการเกิดภาวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งคนนภ์ที่แท้จริง แต่ก็สามารถป้องกันภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์โดย 1) เป้าระวังความเสี่ยง ได้แก่ การประเมินประวัติสูติกรรมในอดีต ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบิน ประวัติการเจ็บป่วย ระดับดัชนีมวลกายก่อนตั้งครรภ์ การเพิ่มของน้ำหนักระหว่างตั้งครรภ์ และค่าความดันโลหิต 2) ให้คำแนะนำสตีตั้งครรภ์ในการปฏิบัติเพื่อป้องภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์โดยพักผ่อนอย่างเพยงพอ และรับประทานอาหารที่มีเส้นใยและมีปริมาณอคลเซียมสูง 3.) ให้คำแนะนำในการปฏิบัตเพื่อลดความรุนแรง ของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์โดยสังเกตอาการผิดปกติ ได้อก่ ปวดศรีศะ จุกแน่นลิ้นปี่ การมองเห็นเปลียนแปลง การนับการดั้นของทารกในครรภ์อย่างสม่ำสเมอ และการฝากครรภ์ตามนัด พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการประเมินปัจจัยเสี่ยง ทั้งปัจจัยที่สามารถปรับเปลี่ยนได้ ปัจจัยที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้ และปัจจัยที่ได้จากการประเมินทางคลินิก เพื่อเฝ้าระวังความเสี่ยงและนำนำไปสู่การวินิจฉัยที่ทันท่วงที รวมถึงยังมีบทบาทในการให้คำแนะนำแก่สตรีครรภ์เพื่อป้องปันและลดความรุนแรงของภาวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์ด้วย Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25388 [article] บทบามพยาบาลในการป้องกันภาวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์ = Nursing roles for preventing preeclampsia [printed text] / สุชาดา เตชาวาทกุล, Author . - 2016 . - หน้า 7-19.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.2 July-Dec 2015 [02/15/2016] . - หน้า 7-19Keywords: ภวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์บทบาทพยาบาล Abstract: ภาวะความดันโลหิตสูงในจตรีตั้งครรภ์เป็นภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรมที่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อทั้งสตรีและทารกในครรภ์ โดยอาจทำให้สตรีตั้งครรภ์เกิดการชัก เกิดภาวะของโรคหลอกเลือดสมองอย่างฉับพลัน และกลุ่มอาการ HELLP ในขณะที่ทารกอาจเกิดภาวะเจริญเติบโตช้าในครรภ์ การคลอดก่อนกำหนด เป็นต้น ถึงแม้ในปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุการเกิดภาวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งคนนภ์ที่แท้จริง แต่ก็สามารถป้องกันภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์โดย 1) เป้าระวังความเสี่ยง ได้แก่ การประเมินประวัติสูติกรรมในอดีต ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบิน ประวัติการเจ็บป่วย ระดับดัชนีมวลกายก่อนตั้งครรภ์ การเพิ่มของน้ำหนักระหว่างตั้งครรภ์ และค่าความดันโลหิต 2) ให้คำแนะนำสตีตั้งครรภ์ในการปฏิบัติเพื่อป้องภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์โดยพักผ่อนอย่างเพยงพอ และรับประทานอาหารที่มีเส้นใยและมีปริมาณอคลเซียมสูง 3.) ให้คำแนะนำในการปฏิบัตเพื่อลดความรุนแรง ของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์โดยสังเกตอาการผิดปกติ ได้อก่ ปวดศรีศะ จุกแน่นลิ้นปี่ การมองเห็นเปลียนแปลง การนับการดั้นของทารกในครรภ์อย่างสม่ำสเมอ และการฝากครรภ์ตามนัด พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการประเมินปัจจัยเสี่ยง ทั้งปัจจัยที่สามารถปรับเปลี่ยนได้ ปัจจัยที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้ และปัจจัยที่ได้จากการประเมินทางคลินิก เพื่อเฝ้าระวังความเสี่ยงและนำนำไปสู่การวินิจฉัยที่ทันท่วงที รวมถึงยังมีบทบาทในการให้คำแนะนำแก่สตรีครรภ์เพื่อป้องปันและลดความรุนแรงของภาวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์ด้วย Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25388 พฤติกรรมจริยธรรมของนักศึกษาพยาบาล:กรอบความคิดในการสร้างและพัฒนาแบบประเมินพฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรมตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ / กิ่งดาว การะเกต in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.22 No.2 July-Dec 2015 ([02/15/2016])
[article]
Title : พฤติกรรมจริยธรรมของนักศึกษาพยาบาล:กรอบความคิดในการสร้างและพัฒนาแบบประเมินพฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรมตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Original title : (TQF) Virtue and Ethics behavior of nursing student:Framework of creating and developing evaluation form referred to Thai qualification framework for higher education. (TQF:HEd) Material Type: printed text Authors: กิ่งดาว การะเกต, Author ; งามเอก ลำมะนา, Author ; จุไรรัตน์ ชลกรโชติทรัพย์, Author Publication Date: 2016 Article on page: หน้า. 20-29 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.2 July-Dec 2015 [02/15/2016] . - หน้า. 20-29Keywords: พฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรมนักศึกษาพยาบาลกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษแห่งชาติ (TQF) Abstract: การผลิตบัณฑิตวิชาชีพการพยาบาลนอกจากจะให้ได้มาตารฐานโดยสภาการพยาบาลแล้ว ยังต้องให้ได้มาตารฐานตามที่สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) กำหนดไว้ว่า จะต้องผลิตบัณฑิตพยาบาลให้มีมาตารฐานผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai qualification framework for higher education: TQF: HEd)ทั้ง 8 ด้านได้แก่ 1) มีความรู้ความเข้าใจในหลักศาสนาและจนิยธรรม 2) การควบคุมตนเองได้ 3) การแยกแยะความดีความชั่วได้ 4) เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 5) รับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น 6) ความมีระเบียบวินัย 7) ซื่อสัตย์ ปฏิบัตตามจรรยาบรรณวิชาชีพและเป็นแบบอย่างที่ดี 8) ส่งเสริมสิทธิผู้ป่วย ซึ่งคณะผู้เขียนได้สร้างและพัฒนาแบบประเมินพฤติกรรมคุณธรรม จริยธรรมตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิขึ้นมา เพื่อใช้ประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาพยาบาล โดยแต่ละข้อคำถามจะมีการให้คะแนนแบบ Scoring Rubric การประเมินนี้เป็นรูปแบบใหม่ที่ผู้ประเมินมีการประเมินและนักศึกษาได้ทราบเกณฑ์นั้นก่อนลงมือปฎิบัติงาน ผลการประเมินนำไปสู่พัฒนาหรือปรับปรุงพฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาพยาบาลทั้ง 8 ด้าน และสามารถวางรูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัตได้อย่างชัดเจน ทำให้สามารถัพฒนานักศึกษาพยาบาลให้มีพฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรมตามที่คาดกหวังไว้ได้ Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25389 [article] พฤติกรรมจริยธรรมของนักศึกษาพยาบาล:กรอบความคิดในการสร้างและพัฒนาแบบประเมินพฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรมตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ = (TQF) Virtue and Ethics behavior of nursing student:Framework of creating and developing evaluation form referred to Thai qualification framework for higher education. (TQF:HEd) [printed text] / กิ่งดาว การะเกต, Author ; งามเอก ลำมะนา, Author ; จุไรรัตน์ ชลกรโชติทรัพย์, Author . - 2016 . - หน้า. 20-29.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.2 July-Dec 2015 [02/15/2016] . - หน้า. 20-29Keywords: พฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรมนักศึกษาพยาบาลกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษแห่งชาติ (TQF) Abstract: การผลิตบัณฑิตวิชาชีพการพยาบาลนอกจากจะให้ได้มาตารฐานโดยสภาการพยาบาลแล้ว ยังต้องให้ได้มาตารฐานตามที่สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) กำหนดไว้ว่า จะต้องผลิตบัณฑิตพยาบาลให้มีมาตารฐานผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai qualification framework for higher education: TQF: HEd)ทั้ง 8 ด้านได้แก่ 1) มีความรู้ความเข้าใจในหลักศาสนาและจนิยธรรม 2) การควบคุมตนเองได้ 3) การแยกแยะความดีความชั่วได้ 4) เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 5) รับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น 6) ความมีระเบียบวินัย 7) ซื่อสัตย์ ปฏิบัตตามจรรยาบรรณวิชาชีพและเป็นแบบอย่างที่ดี 8) ส่งเสริมสิทธิผู้ป่วย ซึ่งคณะผู้เขียนได้สร้างและพัฒนาแบบประเมินพฤติกรรมคุณธรรม จริยธรรมตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิขึ้นมา เพื่อใช้ประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาพยาบาล โดยแต่ละข้อคำถามจะมีการให้คะแนนแบบ Scoring Rubric การประเมินนี้เป็นรูปแบบใหม่ที่ผู้ประเมินมีการประเมินและนักศึกษาได้ทราบเกณฑ์นั้นก่อนลงมือปฎิบัติงาน ผลการประเมินนำไปสู่พัฒนาหรือปรับปรุงพฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาพยาบาลทั้ง 8 ด้าน และสามารถวางรูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัตได้อย่างชัดเจน ทำให้สามารถัพฒนานักศึกษาพยาบาลให้มีพฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรมตามที่คาดกหวังไว้ได้ Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25389 บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม / ชัชวาล วงค์สารี in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.22 No.2 July-Dec 2015 ([02/15/2016])
[article]
Title : บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม Original title : hemodialysis nurses' role in prevention and management volume overload in end stage of renal failure patient on receiving hemodialysis Material Type: printed text Authors: ชัชวาล วงค์สารี, Author Publication Date: 2016 Article on page: หน้า. 30-40 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.2 July-Dec 2015 [02/15/2016] . - หน้า. 30-40Keywords: บทบาทพยาบาลไตเทียม ภาวะน้ำเกินผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย Abstract: ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่รักษาด้วยการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม จำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องโดยการฟอกเลือด 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์ ซึ่งปัจจุบันพบว่าจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการรักษารูปแบบนี้มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นและภสวะน้ำเกินเป็นภาวะแทรกซ้อนหลักที่พบในผู้ป่วยกลุ่มนี้นอกจากจะทำให้ผู้ป่วยไม่สุขสบายแล้ว ยังเป็นสาเหตุให้โรคอื่นแสดงอาการแทรกซ้อนที่รุนแรงตามมา ในรายที่มีภาวะน้ำเกินอย่างเฉียบพลันจะทำให้เกิดการเสียชีวิตอย่างรวดเร็วจากโรคหัวใจกำเริบที่รุนแรง ซึ่งบางครั้งสาเหตุของการเกิดภาวะน้ำเกินสามารถป้องกันและจัดการได้ พยาบาลไตเทียมในฐานะบุคลากร มี 3 บทบาทที่สำคัญ ดังนี้ 1) บทบาทการป้องกันการเกิดน้ำเกิน โดยการสนับสนุนให้ผู้ป่วยมีความสามารถในการดูแลตนเองเพื่อควบคุมน้ำและการให้คพแนะนำและให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเพื่อการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตเพื่อควบคุมน้ำ 2) บทบาทการดูแลผู้ป่วยที่มารับการฟอกเลือดปกติ โดยการดูแลผู้ป่วยที่มาฟอกเลือดตามแกติตั้งแต่ปู้ป่วยเริ่มมารอรับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ขณะฟอกเลือดและหลังการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมซึ่งมีความสำคัญมากที่จะช่วยดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ได้รับการฟอกเลือดขจัดของเสียและดึงน้ำส่วนเกินออก 3) บทบาทการจัดการภาวะน้ำเกินกรณีแุกเฉินเร่งด่วนเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะน้ำเกินที่แสดงอาการหอบเหนื่อยฉุกเฉินนอกเวลาทำการปกติของคลินิกไตเทียม หากผู้ป่วยมาพบแพทย์และแพทย์สั่งการรักษาผู้ป่วยด้วยการฟอกเลือดอย่างเร่งด่วน เพื่อลดอาการหรือช่วยชีวิตผู้ป่วย พยาบาลไตเทียมต้องแสดงบทบาทกึ่งอิสระตามการประเมินสภาพผู้ป่วยที่เป็นปัจจุบัน เริ่มฟอกเลือกโดยการดึงน้ำส่วนเกินออกอย่างรวดเร็๋วเพื่อช่วยเหลือลดอาการไม่สุขสบายผู้ป่วยที่สอดคล้องกับแผนการักษาของแพทย์ Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25390 [article] บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม = hemodialysis nurses' role in prevention and management volume overload in end stage of renal failure patient on receiving hemodialysis [printed text] / ชัชวาล วงค์สารี, Author . - 2016 . - หน้า. 30-40.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.2 July-Dec 2015 [02/15/2016] . - หน้า. 30-40Keywords: บทบาทพยาบาลไตเทียม ภาวะน้ำเกินผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย Abstract: ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่รักษาด้วยการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม จำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องโดยการฟอกเลือด 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์ ซึ่งปัจจุบันพบว่าจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการรักษารูปแบบนี้มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นและภสวะน้ำเกินเป็นภาวะแทรกซ้อนหลักที่พบในผู้ป่วยกลุ่มนี้นอกจากจะทำให้ผู้ป่วยไม่สุขสบายแล้ว ยังเป็นสาเหตุให้โรคอื่นแสดงอาการแทรกซ้อนที่รุนแรงตามมา ในรายที่มีภาวะน้ำเกินอย่างเฉียบพลันจะทำให้เกิดการเสียชีวิตอย่างรวดเร็วจากโรคหัวใจกำเริบที่รุนแรง ซึ่งบางครั้งสาเหตุของการเกิดภาวะน้ำเกินสามารถป้องกันและจัดการได้ พยาบาลไตเทียมในฐานะบุคลากร มี 3 บทบาทที่สำคัญ ดังนี้ 1) บทบาทการป้องกันการเกิดน้ำเกิน โดยการสนับสนุนให้ผู้ป่วยมีความสามารถในการดูแลตนเองเพื่อควบคุมน้ำและการให้คพแนะนำและให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเพื่อการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตเพื่อควบคุมน้ำ 2) บทบาทการดูแลผู้ป่วยที่มารับการฟอกเลือดปกติ โดยการดูแลผู้ป่วยที่มาฟอกเลือดตามแกติตั้งแต่ปู้ป่วยเริ่มมารอรับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ขณะฟอกเลือดและหลังการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมซึ่งมีความสำคัญมากที่จะช่วยดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ได้รับการฟอกเลือดขจัดของเสียและดึงน้ำส่วนเกินออก 3) บทบาทการจัดการภาวะน้ำเกินกรณีแุกเฉินเร่งด่วนเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะน้ำเกินที่แสดงอาการหอบเหนื่อยฉุกเฉินนอกเวลาทำการปกติของคลินิกไตเทียม หากผู้ป่วยมาพบแพทย์และแพทย์สั่งการรักษาผู้ป่วยด้วยการฟอกเลือดอย่างเร่งด่วน เพื่อลดอาการหรือช่วยชีวิตผู้ป่วย พยาบาลไตเทียมต้องแสดงบทบาทกึ่งอิสระตามการประเมินสภาพผู้ป่วยที่เป็นปัจจุบัน เริ่มฟอกเลือกโดยการดึงน้ำส่วนเกินออกอย่างรวดเร็๋วเพื่อช่วยเหลือลดอาการไม่สุขสบายผู้ป่วยที่สอดคล้องกับแผนการักษาของแพทย์ Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25390