From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SIU THE-T. ความเจริญของวัดไทยในต่างแดน / ปวรุตม์ ฐิติพงศิริกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : ความเจริญของวัดไทยในต่างแดน Original title : The Prosperity of Thai Buddhist Temples in Overseas Material Type: printed text Authors: ปวรุตม์ ฐิติพงศิริกุล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: ix, 261 p. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พระพุทธศาสนา
[LCSH]วัดไทย
[LCSH]วัดไทย -- จีน
[LCSH]วัดไทย -- สิงคโปร์Keywords: พระพุทธศาสนา,
ต่างแดน,
ความเจริญ,
วัดไทยAbstract: การศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาวัดไทยในต่างแดนว่ามีความเจริญรุ่งเรืองดำรงอยู่ได้เพราะอะไร และศึกษาแนวทางในการพัฒนาวัดไทยในต่างแดน เป็นการวิจัยแบบผสม มีกลุ่มเป้าหมายเป็นวัดจำนวน 2 พื้นที่คือวัดไทยในเขตปกครองพิเศษฮ่องกง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน และวัดไทยประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์ เนื่องจากเป็นวัดที่มีผู้ไปเยี่ยมเยียนเป็นจำนวนมาก ประกอบกับเป็นขอบเขตที่ผู้วิจัยจะทำการศึกษาได้ไม่ไกลจนเกินไป ในการวิจัยเชิงปริมาณใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยสอบถามพุทธศาสนิกชน ผู้ที่นับถือพระพุทธศาสนาในเขตชุมชน รวมทั้งนักท่องเที่ยวที่มาทำบุญ หรือเข้าร่วมจัดกิจกรรมที่วัด จำนวน 214 คน และการวิจัยเชิงคุณภาพ ทำการสัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth-Interview) เจ้าอาวาสวัด/รองเจ้าอาวาส หรือผู้แทนที่ได้รับมอบหมาย เป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญ
ผลการศึกษา พบว่า วัดไทยในต่างแดนมีความเจริญขึ้น ด้วยเหตุผล 3 ประการคือประการที่หนึ่งด้านความเลื่อมใสศรัทธา ตามทฤษฎีปทัสถาน ประการที่สองด้านวัตถุ ตามทฤษฎีบริหารธุรกิจ เช่น คนเข้าวัดเพราะว่าอยากบูชาวัตถุมงคล เครื่องราง นำโชค มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด และประการสุดท้ายคือด้านการปรับตัว ตามทฤษฎีการปรับตัวขององค์การ และคนไปวัดเพราะว่าวัดรู้จักปรับตัวตามทฤษฎีการปรับตัวซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีการปรับตัวของ ทัลคอร์ต พาร์สัน ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า การที่จะสามารถปรับตัวที่ทำให้วัดไทยในต่างแดนมีความเจริญรุ่งเรืองเป็นเพราะว่าจะต้องอิงกับธุรกิจบ้างเพื่อให้สามารถสนองตอบกับความต้องการของผู้มาทำบุญในต่างแดน ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ยอมรับได้ แต่เพื่อให้พระพุทธศาสนาดำรงตามหลักคำสอนของพระพุทธเจ้าจะต้องสนับสนุนและส่งเสริมในเรื่องของปทัสถานลงไปและจะต้องปรับตัวให้ทันตามความเจริญก้าวหน้าของสังคมและตามความต้องการของสังคม และโลกในยุคดิจิทัลCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27708 SIU THE-T. ความเจริญของวัดไทยในต่างแดน = The Prosperity of Thai Buddhist Temples in Overseas [printed text] / ปวรุตม์ ฐิติพงศิริกุล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - ix, 261 p. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พระพุทธศาสนา
[LCSH]วัดไทย
[LCSH]วัดไทย -- จีน
[LCSH]วัดไทย -- สิงคโปร์Keywords: พระพุทธศาสนา,
ต่างแดน,
ความเจริญ,
วัดไทยAbstract: การศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาวัดไทยในต่างแดนว่ามีความเจริญรุ่งเรืองดำรงอยู่ได้เพราะอะไร และศึกษาแนวทางในการพัฒนาวัดไทยในต่างแดน เป็นการวิจัยแบบผสม มีกลุ่มเป้าหมายเป็นวัดจำนวน 2 พื้นที่คือวัดไทยในเขตปกครองพิเศษฮ่องกง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน และวัดไทยประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์ เนื่องจากเป็นวัดที่มีผู้ไปเยี่ยมเยียนเป็นจำนวนมาก ประกอบกับเป็นขอบเขตที่ผู้วิจัยจะทำการศึกษาได้ไม่ไกลจนเกินไป ในการวิจัยเชิงปริมาณใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยสอบถามพุทธศาสนิกชน ผู้ที่นับถือพระพุทธศาสนาในเขตชุมชน รวมทั้งนักท่องเที่ยวที่มาทำบุญ หรือเข้าร่วมจัดกิจกรรมที่วัด จำนวน 214 คน และการวิจัยเชิงคุณภาพ ทำการสัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth-Interview) เจ้าอาวาสวัด/รองเจ้าอาวาส หรือผู้แทนที่ได้รับมอบหมาย เป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญ
ผลการศึกษา พบว่า วัดไทยในต่างแดนมีความเจริญขึ้น ด้วยเหตุผล 3 ประการคือประการที่หนึ่งด้านความเลื่อมใสศรัทธา ตามทฤษฎีปทัสถาน ประการที่สองด้านวัตถุ ตามทฤษฎีบริหารธุรกิจ เช่น คนเข้าวัดเพราะว่าอยากบูชาวัตถุมงคล เครื่องราง นำโชค มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด และประการสุดท้ายคือด้านการปรับตัว ตามทฤษฎีการปรับตัวขององค์การ และคนไปวัดเพราะว่าวัดรู้จักปรับตัวตามทฤษฎีการปรับตัวซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีการปรับตัวของ ทัลคอร์ต พาร์สัน ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า การที่จะสามารถปรับตัวที่ทำให้วัดไทยในต่างแดนมีความเจริญรุ่งเรืองเป็นเพราะว่าจะต้องอิงกับธุรกิจบ้างเพื่อให้สามารถสนองตอบกับความต้องการของผู้มาทำบุญในต่างแดน ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ยอมรับได้ แต่เพื่อให้พระพุทธศาสนาดำรงตามหลักคำสอนของพระพุทธเจ้าจะต้องสนับสนุนและส่งเสริมในเรื่องของปทัสถานลงไปและจะต้องปรับตัวให้ทันตามความเจริญก้าวหน้าของสังคมและตามความต้องการของสังคม และโลกในยุคดิจิทัลCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27708 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000597375 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000597409 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available