From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SIU THE-T. กลยุทธ์การเข้าสู่ตลาดเคมีภัณฑ์การเกษตรกรณีศึกษาประเทศเวียดนาม / สุนัดดา บัวดิษฐ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : กลยุทธ์การเข้าสู่ตลาดเคมีภัณฑ์การเกษตรกรณีศึกษาประเทศเวียดนาม Material Type: printed text Authors: สุนัดดา บัวดิษฐ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: ix, 150 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2018-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กลยุทธ์การตลาด
[LCSH]เคมีภัณฑ์ -- การเกษตร -- เวียดนามKeywords: กลยุทธ์การเข้าสู่ตลาด,
เคมีภัณฑ์การเกษตร,
ประเทศเวียดนามAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษากลยุทธ์การเข้าสู่ตลาดเคมีภัณฑ์การเกษตรกรณีศึกษาประเทศเวียดนามใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็น ผู้ประกอบการ ผู้ค้า ผู้บริหาร ธุรกิจที่ทำการค้าเคมีภัณฑ์เกษตรจำนวน 400 คน ด้วยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุสัมพันธ์ (multiple regression analysis) ในการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรและยอมรับสมมุติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย มีอายุระหว่าง 36–40 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี มีสถานะเป็นเจ้าของแต่เพียงผู้เดียว และปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งปัจจุบัน จำนวน 1–5 ปี นอกจากนี้ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นทั้งผู้ผลิตและผู้จำหน่าย มีแบรนด์เป็นของตนเอง 1- 5 แบรนด์ มีการจำหน่ายสินค้าเคมีภัณฑ์เกษตรไปประเทศอื่นนอกเหนือจากเวียดนาม และมีมูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ในเวียดนามรวม 10–20 ล้านบาท ต่อปี นอกจากนี้ ผลการวิจัยยังพบว่า ปัจจัยด้านราคามีความสำคัญสูงสุดในปัจจัยด้านส่วนประสมการตลาดต่อการดำเนินกลยุทธ์ในการเข้าสู่ตลาด ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการทำธุรกิจเคมีภัณฑ์เกษตรในประเทศเวียดนาม พบว่าประสบการณ์ต่างประเทศของผู้ตอบแบบสอบถามมีอิทธิพลสูงที่สุดและ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามใช้กลยุทธ์การร่วมทุนมากที่สุด ผลการวิจัยยังพบความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์ต่างประเทศ ความเสี่ยงของประเทศ ความได้เปรียบด้านการดำเนินการกับการใช้กลยุทธ์ทางธุรกิจและพบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านราคากับการใช้กลยุทธ์ทางธุรกิจ นอกจากนี้ผลการวิจัย ยังพบความสัมพันธ์ระหว่างการลงทุนตรง หรือการเข้าไปผลิตและการร่วมทุน กับการเลือกใช้กลยุทธ์ในการเข้าสู่ตลาดเคมีภัณฑ์เกษตรเวียดนามที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27827 SIU THE-T. กลยุทธ์การเข้าสู่ตลาดเคมีภัณฑ์การเกษตรกรณีศึกษาประเทศเวียดนาม [printed text] / สุนัดดา บัวดิษฐ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - ix, 150 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2018-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กลยุทธ์การตลาด
[LCSH]เคมีภัณฑ์ -- การเกษตร -- เวียดนามKeywords: กลยุทธ์การเข้าสู่ตลาด,
เคมีภัณฑ์การเกษตร,
ประเทศเวียดนามAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษากลยุทธ์การเข้าสู่ตลาดเคมีภัณฑ์การเกษตรกรณีศึกษาประเทศเวียดนามใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็น ผู้ประกอบการ ผู้ค้า ผู้บริหาร ธุรกิจที่ทำการค้าเคมีภัณฑ์เกษตรจำนวน 400 คน ด้วยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุสัมพันธ์ (multiple regression analysis) ในการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรและยอมรับสมมุติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย มีอายุระหว่าง 36–40 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี มีสถานะเป็นเจ้าของแต่เพียงผู้เดียว และปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งปัจจุบัน จำนวน 1–5 ปี นอกจากนี้ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นทั้งผู้ผลิตและผู้จำหน่าย มีแบรนด์เป็นของตนเอง 1- 5 แบรนด์ มีการจำหน่ายสินค้าเคมีภัณฑ์เกษตรไปประเทศอื่นนอกเหนือจากเวียดนาม และมีมูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ในเวียดนามรวม 10–20 ล้านบาท ต่อปี นอกจากนี้ ผลการวิจัยยังพบว่า ปัจจัยด้านราคามีความสำคัญสูงสุดในปัจจัยด้านส่วนประสมการตลาดต่อการดำเนินกลยุทธ์ในการเข้าสู่ตลาด ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการทำธุรกิจเคมีภัณฑ์เกษตรในประเทศเวียดนาม พบว่าประสบการณ์ต่างประเทศของผู้ตอบแบบสอบถามมีอิทธิพลสูงที่สุดและ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามใช้กลยุทธ์การร่วมทุนมากที่สุด ผลการวิจัยยังพบความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์ต่างประเทศ ความเสี่ยงของประเทศ ความได้เปรียบด้านการดำเนินการกับการใช้กลยุทธ์ทางธุรกิจและพบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านราคากับการใช้กลยุทธ์ทางธุรกิจ นอกจากนี้ผลการวิจัย ยังพบความสัมพันธ์ระหว่างการลงทุนตรง หรือการเข้าไปผลิตและการร่วมทุน กับการเลือกใช้กลยุทธ์ในการเข้าสู่ตลาดเคมีภัณฑ์เกษตรเวียดนามที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27827 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000597862 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000597854 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน / มณฑิรา ชุนลิ้ม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน Original title : Sport Development’s Contribution to the Marketing Strategy of Private University Material Type: printed text Authors: มณฑิรา ชุนลิ้ม, Author ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 156 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-11
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กลยุทธ์การตลาด
[LCSH]กีฬาKeywords: รูปแบบการพัฒนากีฬา,
กลยุทธ์การตลาด,
มหาวิทยาลัยเอกชน,
วิจัยเชิงคุณภาพAbstract: การศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชนมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาลักษณะการใช้กีฬาเป็นกลยุทธ์ทางการตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกและ/หรือสมัครเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยเอกชน 3) เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนากีฬาที่มีผลต่อการส่งเสริมกลยุทธ์ด้านการตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้ผู้วิจัยทำการวิจัยในครั้งนี้
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ที่มีการกำหนดกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะ (Purposive Sampling) จากสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จำนวน 8 แห่ง ที่มีระดับผลการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42 แบ่งเป็นกลุ่มสถาบันที่ได้รับเหรียญรางวัลมาก เหรียญรางวัลปานกลาง และเหรียญรางวัลน้อย โดยใช้รูปแบบการสัมภาษณ์คำถามแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-Structured) กับผู้บริหารฝ่ายกิจการนักศึกษาหรือด้านสำนักกีฬา สถาบันละ 2 คน จำนวน 16 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยทำการส่งหนังสือขออนุญาตเข้าสัมภาษณ์พร้อมส่งข้อคำถาม ประเด็นการสัมภาษณ์กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญและขออนุญาตทำการบันทึกเสียงร่วมกับการจดบันทึกในระหว่างการสัมภาษณ์ และถอดเทปการบันทึกการสัมภาษณ์โดยผู้วิจัยและนำมาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ในแต่ละประเด็น ร่วมกับจากการศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี แล้วนำมาสรุปและอภิปรายผลของการวิจัยตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ผลการวิเคราะห์ของการวิจัย พบว่า สภาวะการแข่งขันทางการกีฬาของสถาบันอุดมศึกษานั้น มีลักษณะการแข่งขันกันในรูปแบบมหาวิทยาลัยของรัฐกับมหาวิทยาลัยเอกชนและในกลุ่มของมหาวิทยาลัยเอกชนด้วยกัน โดยมีระบบการให้ทุนการศึกษาความสามารถพิเศษด้านกีฬาเช่นเดียวกัน โดยมีลักษณะการแข่งขันมุ่งเน้นเหรียญรางวัลและระดับของจำนวนเหรียญรางวัลเพื่อเพิ่ม หรือรักษาระดับของมหาวิทยาลัย (Ranking) และประชาสัมพันธ์ชื่อมหาวิทยาลัย ซึ่งผลงานจากการพัฒนากีฬาของมหาวิทยาลัยมีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อของนักเรียน รูปแบบการพัฒนากีฬาของมหาวิทยาลัยเอกชนสามารถแบ่งออกตาม 7 Ps คือ 1) ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) ประเภทกีฬาที่ส่งเสริม หลักสูตรการเรียนการสอน หลักสูตรการฝึกอบรมระยะสั้น 2) ด้านผลตอบแทนที่ได้รับจากการเข้ามาศึกษาในมหาวิทยาลัย (Price) ทุนการศึกษา ระบบจูงใจค่าตอบแทน สวัสดิการ 3) ด้านช่องทางการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในการรับนักศึกษา (Place) สถานที่ตั้งมหาวิทยาลัย การจัดการเรียนการสอน เวลาการให้บริการของเจ้าหน้าที่ 4) ด้านการส่งเสริม (Promotions) โครงการ/กิจกรรมด้านกีฬา การให้บริการด้านอาคาร สนามกีฬาและสิ่งอำนวยความสะดวก 5) ด้านบุคลากร (People) มีคณาจารย์และผู้ฝึกสอนที่มีชื่อเสียง 6) ด้านกายภาพและการนำเสนอ (Physical Evidence/Environment and Presentation) สนามกีฬาและอาคารกีฬา สิ่งอำนวยความสะดวกด้านกีฬา 7) ด้านกระบวนการ (Process) ระบบดูแลเรื่องการเรียน ระบบการฝึกซ้อม การประสานความร่วมมือกับสมาคมกีฬานอกจากนี้ ผลการวิจัยพบว่า มหาวิทยาลัยเอกชนใช้กีฬาเป็นกลยุทธ์การตลาดเพื่อการประชาสัมพันธ์ด้านการสร้างตราสินค้า (Brand Image) ของมหาวิทยาลัยและการให้ทุนการศึกษานักกีฬาที่มีชื่อเสียงเพื่อเป็นทูตตราสินค้า (Brand Ambassador) เพื่อเป็นแบบอย่างดึงดูดนักเรียนที่ชื่นชอบนักกีฬาเลือกเข้าศึกษาต่อได้Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27548 SIU THE-T. การพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน = Sport Development’s Contribution to the Marketing Strategy of Private University [printed text] / มณฑิรา ชุนลิ้ม, Author ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 156 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-11
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กลยุทธ์การตลาด
[LCSH]กีฬาKeywords: รูปแบบการพัฒนากีฬา,
กลยุทธ์การตลาด,
มหาวิทยาลัยเอกชน,
วิจัยเชิงคุณภาพAbstract: การศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชนมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาลักษณะการใช้กีฬาเป็นกลยุทธ์ทางการตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกและ/หรือสมัครเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยเอกชน 3) เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนากีฬาที่มีผลต่อการส่งเสริมกลยุทธ์ด้านการตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้ผู้วิจัยทำการวิจัยในครั้งนี้
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ที่มีการกำหนดกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะ (Purposive Sampling) จากสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จำนวน 8 แห่ง ที่มีระดับผลการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42 แบ่งเป็นกลุ่มสถาบันที่ได้รับเหรียญรางวัลมาก เหรียญรางวัลปานกลาง และเหรียญรางวัลน้อย โดยใช้รูปแบบการสัมภาษณ์คำถามแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-Structured) กับผู้บริหารฝ่ายกิจการนักศึกษาหรือด้านสำนักกีฬา สถาบันละ 2 คน จำนวน 16 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยทำการส่งหนังสือขออนุญาตเข้าสัมภาษณ์พร้อมส่งข้อคำถาม ประเด็นการสัมภาษณ์กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญและขออนุญาตทำการบันทึกเสียงร่วมกับการจดบันทึกในระหว่างการสัมภาษณ์ และถอดเทปการบันทึกการสัมภาษณ์โดยผู้วิจัยและนำมาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ในแต่ละประเด็น ร่วมกับจากการศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี แล้วนำมาสรุปและอภิปรายผลของการวิจัยตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ผลการวิเคราะห์ของการวิจัย พบว่า สภาวะการแข่งขันทางการกีฬาของสถาบันอุดมศึกษานั้น มีลักษณะการแข่งขันกันในรูปแบบมหาวิทยาลัยของรัฐกับมหาวิทยาลัยเอกชนและในกลุ่มของมหาวิทยาลัยเอกชนด้วยกัน โดยมีระบบการให้ทุนการศึกษาความสามารถพิเศษด้านกีฬาเช่นเดียวกัน โดยมีลักษณะการแข่งขันมุ่งเน้นเหรียญรางวัลและระดับของจำนวนเหรียญรางวัลเพื่อเพิ่ม หรือรักษาระดับของมหาวิทยาลัย (Ranking) และประชาสัมพันธ์ชื่อมหาวิทยาลัย ซึ่งผลงานจากการพัฒนากีฬาของมหาวิทยาลัยมีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อของนักเรียน รูปแบบการพัฒนากีฬาของมหาวิทยาลัยเอกชนสามารถแบ่งออกตาม 7 Ps คือ 1) ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) ประเภทกีฬาที่ส่งเสริม หลักสูตรการเรียนการสอน หลักสูตรการฝึกอบรมระยะสั้น 2) ด้านผลตอบแทนที่ได้รับจากการเข้ามาศึกษาในมหาวิทยาลัย (Price) ทุนการศึกษา ระบบจูงใจค่าตอบแทน สวัสดิการ 3) ด้านช่องทางการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในการรับนักศึกษา (Place) สถานที่ตั้งมหาวิทยาลัย การจัดการเรียนการสอน เวลาการให้บริการของเจ้าหน้าที่ 4) ด้านการส่งเสริม (Promotions) โครงการ/กิจกรรมด้านกีฬา การให้บริการด้านอาคาร สนามกีฬาและสิ่งอำนวยความสะดวก 5) ด้านบุคลากร (People) มีคณาจารย์และผู้ฝึกสอนที่มีชื่อเสียง 6) ด้านกายภาพและการนำเสนอ (Physical Evidence/Environment and Presentation) สนามกีฬาและอาคารกีฬา สิ่งอำนวยความสะดวกด้านกีฬา 7) ด้านกระบวนการ (Process) ระบบดูแลเรื่องการเรียน ระบบการฝึกซ้อม การประสานความร่วมมือกับสมาคมกีฬานอกจากนี้ ผลการวิจัยพบว่า มหาวิทยาลัยเอกชนใช้กีฬาเป็นกลยุทธ์การตลาดเพื่อการประชาสัมพันธ์ด้านการสร้างตราสินค้า (Brand Image) ของมหาวิทยาลัยและการให้ทุนการศึกษานักกีฬาที่มีชื่อเสียงเพื่อเป็นทูตตราสินค้า (Brand Ambassador) เพื่อเป็นแบบอย่างดึงดูดนักเรียนที่ชื่นชอบนักกีฬาเลือกเข้าศึกษาต่อได้Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27548 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596708 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-11 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000596690 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-11 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available