From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SIU THE-T. ปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการที่มีต่อผลประกอบการของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย / ภาคภูมิ ภัควิภาส / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการที่มีต่อผลประกอบการของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย Original title : Factors of Entrepreneur's Knowledge that affect SMEs Performances, Case of Northern Thailand Material Type: printed text Authors: ภาคภูมิ ภัควิภาส, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: xvii, 379 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2018-05
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ประกอบการ
[LCSH]วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมKeywords: ปัจจัยด้านความรู้,
ผลประกอบการ,
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค้นหาปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการ ที่ที่มีต่อผลประกอบการของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย จากประชากรและกลุ่มตัวอย่างของผู้ประกอบการธุรกิจในเขตพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทยทั้งหมด 17 จังหวัด จำนวน 400 ราย และ ทำการสัมภาษณ์ ผู้ประกอบการ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก อีก จำนวน 4 ราย โดยใช้ซึ่งกลุ่มตัวที่ทำการคัดเลือกโดยใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็น (Nonprobability Sampling) การสุ่มเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling Technique) โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิตเชิงพรรณา ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐาน ทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร สำหรับกำหนดการวัดการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient)
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการที่มีต่อผลประกอบการของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย ในภาพรวมระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ซึ่งพิจารณารายด้านทั้ง 10 ด้าน ดังนี้ องค์การแห่งการเรียนรู้: (การส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยี) (x ̅ = 4.050, S.D. = 0.575) (แรงจูงใจในการเรียนรู้) (x ̅ = 3.998, S.D. = 0.689) และ (พลวัตการเรียนรู้) (x ̅ = 3.992, S.D. = 0.467) บรรยากาศการเรียนรู้: (การสื่อสาร) (x ̅ =4.040, S.D. = 0.469) และ (การเรียนรู้และแลกเปลี่ยนความรู้) (x ̅ = 3.761, S.D. = 0.504) การจัดการความรู้: (การแสวงหาความรู้) (x ̅ =4.154, S.D. = 0.564) (การประยุกต์ใช้ความรู้) (x ̅ = 4.144, S.D. = 0.589) (การจัดเก็บความรู้) (x ̅ =4.008, S.D. = 0.505) (การแบ่งปันความรู้) (x ̅ = 3.993, S.D. = 0.525) และ (การสร้างความรู้) (x ̅ = 3.591, S.D. = 0.765) ผลประกอบการของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทยในภาพรวมอยู่ในระดับผลการดำเนินงานของธุรกิจดีกว่าคู่แข่ง ซึ่งพิจารณารายด้านทั้ง 4 ด้าน ดังนี้ ผลการดำเนินงานด้านกระบวนการภายใน (x ̅ =4.097, S.D. = 0.665) ผลการดำเนินงานด้านการเรียนรู้และการเจริญเติบโต (x ̅ = 4.058, S.D. = 0.522) ผลการดำเนินงานด้านลูกค้า (x ̅ =3.995, S.D. = 0.503) และผลการดำเนินงานด้านการเงิน (x ̅ = 3.669, S.D. = 0.713)
การทดสอบสมมติฐานของการวิจัยพบว่า 1) ลักษะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันทางด้าน อายุ มีค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการที่ไม่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม ลักษะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันทางด้าน ตำแหน่ง ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน และกลุ่มประเภทของธุรกิจ มีค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการที่แตกต่างกัน ในส่วนของการทดสอบความสัมพันธ์ พบว่า 1) ปัจจัยความรู้ ด้านองค์การแห่งการเรียนรู้ มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย ด้านลูกค้า ด้านการเรียนรู้และการเจริญเติบโต กระบวนการภายใน แต่ไม่มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงาน ด้านการเงิน 2) ปัจจัยความรู้ ด้านบรรยากาศการเรียนรู้ มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย ด้านการเรียนรู้และการเจริญเติบโต แต่ไม่มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงาน ด้านการเงิน ด้านลูกค้า และด้านกระบวนการภายใน 3) ปัจจัยความรู้ ด้านการจัดการความรู้ มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย ด้านผลการดำเนินงานด้านการเงิน แต่ไม่มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงาน ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการภายใน และด้านการเรียนรู้และการเจริญเติบโต
การนำงานวิจัยไปพัฒนาปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการที่มีต่อผลประกอบการของกลุ่มวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย นอกจาก ผู้ประกอบการจะให้ความสำคัญ การนำองค์กร ในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ที่ชัดเจนแล้ว กลยุทธ์ระดับปฏิบัติการนั้นจะต้องมุ่งเน้นการพัฒนาองค์การให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ การพัฒนาและนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมไปถึงการจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ให้กับบุคลากรในองค์ อีกด้วยCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27836 SIU THE-T. ปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการที่มีต่อผลประกอบการของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย = Factors of Entrepreneur's Knowledge that affect SMEs Performances, Case of Northern Thailand [printed text] / ภาคภูมิ ภัควิภาส, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - xvii, 379 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2018-05
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ประกอบการ
[LCSH]วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมKeywords: ปัจจัยด้านความรู้,
ผลประกอบการ,
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค้นหาปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการ ที่ที่มีต่อผลประกอบการของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย จากประชากรและกลุ่มตัวอย่างของผู้ประกอบการธุรกิจในเขตพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทยทั้งหมด 17 จังหวัด จำนวน 400 ราย และ ทำการสัมภาษณ์ ผู้ประกอบการ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก อีก จำนวน 4 ราย โดยใช้ซึ่งกลุ่มตัวที่ทำการคัดเลือกโดยใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็น (Nonprobability Sampling) การสุ่มเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling Technique) โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิตเชิงพรรณา ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐาน ทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร สำหรับกำหนดการวัดการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient)
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการที่มีต่อผลประกอบการของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย ในภาพรวมระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ซึ่งพิจารณารายด้านทั้ง 10 ด้าน ดังนี้ องค์การแห่งการเรียนรู้: (การส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยี) (x ̅ = 4.050, S.D. = 0.575) (แรงจูงใจในการเรียนรู้) (x ̅ = 3.998, S.D. = 0.689) และ (พลวัตการเรียนรู้) (x ̅ = 3.992, S.D. = 0.467) บรรยากาศการเรียนรู้: (การสื่อสาร) (x ̅ =4.040, S.D. = 0.469) และ (การเรียนรู้และแลกเปลี่ยนความรู้) (x ̅ = 3.761, S.D. = 0.504) การจัดการความรู้: (การแสวงหาความรู้) (x ̅ =4.154, S.D. = 0.564) (การประยุกต์ใช้ความรู้) (x ̅ = 4.144, S.D. = 0.589) (การจัดเก็บความรู้) (x ̅ =4.008, S.D. = 0.505) (การแบ่งปันความรู้) (x ̅ = 3.993, S.D. = 0.525) และ (การสร้างความรู้) (x ̅ = 3.591, S.D. = 0.765) ผลประกอบการของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทยในภาพรวมอยู่ในระดับผลการดำเนินงานของธุรกิจดีกว่าคู่แข่ง ซึ่งพิจารณารายด้านทั้ง 4 ด้าน ดังนี้ ผลการดำเนินงานด้านกระบวนการภายใน (x ̅ =4.097, S.D. = 0.665) ผลการดำเนินงานด้านการเรียนรู้และการเจริญเติบโต (x ̅ = 4.058, S.D. = 0.522) ผลการดำเนินงานด้านลูกค้า (x ̅ =3.995, S.D. = 0.503) และผลการดำเนินงานด้านการเงิน (x ̅ = 3.669, S.D. = 0.713)
การทดสอบสมมติฐานของการวิจัยพบว่า 1) ลักษะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันทางด้าน อายุ มีค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการที่ไม่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม ลักษะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันทางด้าน ตำแหน่ง ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน และกลุ่มประเภทของธุรกิจ มีค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการที่แตกต่างกัน ในส่วนของการทดสอบความสัมพันธ์ พบว่า 1) ปัจจัยความรู้ ด้านองค์การแห่งการเรียนรู้ มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย ด้านลูกค้า ด้านการเรียนรู้และการเจริญเติบโต กระบวนการภายใน แต่ไม่มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงาน ด้านการเงิน 2) ปัจจัยความรู้ ด้านบรรยากาศการเรียนรู้ มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย ด้านการเรียนรู้และการเจริญเติบโต แต่ไม่มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงาน ด้านการเงิน ด้านลูกค้า และด้านกระบวนการภายใน 3) ปัจจัยความรู้ ด้านการจัดการความรู้ มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย ด้านผลการดำเนินงานด้านการเงิน แต่ไม่มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงาน ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการภายใน และด้านการเรียนรู้และการเจริญเติบโต
การนำงานวิจัยไปพัฒนาปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการที่มีต่อผลประกอบการของกลุ่มวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย นอกจาก ผู้ประกอบการจะให้ความสำคัญ การนำองค์กร ในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ที่ชัดเจนแล้ว กลยุทธ์ระดับปฏิบัติการนั้นจะต้องมุ่งเน้นการพัฒนาองค์การให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ การพัฒนาและนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมไปถึงการจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ให้กับบุคลากรในองค์ อีกด้วยCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27836 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598183 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-05 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598159 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-05 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. รูปแบบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย / เอกพงษ์ หริ่มเจริญ / ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2021
Collection Title: SIU THE-T Title : รูปแบบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย Original title : Entrepreneurial Competency Development of Agribusiness Processing Business Industrial Entrepreneurs in Thailand Material Type: printed text Authors: เอกพงษ์ หริ่มเจริญ, Author ; สรณ โภชนจันทร์, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name Publisher: ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2021 Pagination: x, 149 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2021-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2564Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
[LCSH]อุตสาหกรรมการผลิต
[LCSH]อุตสาหกรรมการเกษตร -- ไทยKeywords: สมรรถนะที่จำเป็นของผู้ประกอบการ, วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, อุตสาหกรรมการผลิต, ธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย 2) เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทยในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มผู้เชี่ยวชาญในการสัมภาษณ์เชิงลึกจำนวน 10 คน และกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis) ผลจากการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการพัฒนารูปแบบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลักได้แก่ ด้านความรู้ (Knowledge) ด้านทักษะ (Skill) และ ด้านคุณลักษณะอื่นๆ (Attitude) Curricular : BBA/GE/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28564 SIU THE-T. รูปแบบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย = Entrepreneurial Competency Development of Agribusiness Processing Business Industrial Entrepreneurs in Thailand [printed text] / เอกพงษ์ หริ่มเจริญ, Author ; สรณ โภชนจันทร์, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name . - [S.l.] : ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021 . - x, 149 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2021-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2564
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
[LCSH]อุตสาหกรรมการผลิต
[LCSH]อุตสาหกรรมการเกษตร -- ไทยKeywords: สมรรถนะที่จำเป็นของผู้ประกอบการ, วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, อุตสาหกรรมการผลิต, ธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย 2) เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทยในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มผู้เชี่ยวชาญในการสัมภาษณ์เชิงลึกจำนวน 10 คน และกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis) ผลจากการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการพัฒนารูปแบบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลักได้แก่ ด้านความรู้ (Knowledge) ด้านทักษะ (Skill) และ ด้านคุณลักษณะอื่นๆ (Attitude) Curricular : BBA/GE/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28564 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607639 SIU THE-T: SOM-DBA-2021-01 c.2 Book Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607674 SIU THE-T: SOM-DBA-2021-01 c.1 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU Thesis. คุณลักษณะสำคัญของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่ประสบความสำเร็จในหมวดการค้า / วินัย วารมา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU Thesis Title : คุณลักษณะสำคัญของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่ประสบความสำเร็จในหมวดการค้า Original title : Essential Characteristic of Successful SMEs Entrepreneurs in Trade Section Material Type: printed text Authors: วินัย วารมา, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 110 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-07
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ประกอบการ
[LCSH]วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมKeywords: คุณลักษณะผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบสำคัญของคุณลักษณะของผู้ประกอบการและความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและพยากรณ์รูปแบบความสัมพันธ์ขององค์ประกอบคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่มีผลต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในหมวดการค้าโดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบการของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในหมวดการค้าที่ประกอบธุรกิจค้าส่งและค้าปลีกจำนวน 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ในการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการศึกษาเกี่ยวกับคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่สำคัญ พบว่ามีความสำคัญเรียงตามลำดับ คือ ความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหาของผู้ประกอบการ ทักษะในการสื่อสารและการสนทนากับลูกค้า ความคิดสร้างสรรค์ ทักษะในด้านการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ศิลปะในการจูงใจลูกค้าความสามารถในการนำเสนอสินค้าให้เวลาในการบริหารงาน ความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า ความสามารถในการวางแผน ทักษะด้านการคำนวณและดูแลสุขภาพร่างกาย ผลจากการวิจัยด้านกลยุทธ์ด้านการตลาดพบว่า ผู้ประกอบการให้ความสำคัญกับปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และปัจจัยด้านราคาเรียงตามลำดับความสำคัญ นอกจากนี้ผลจากการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรสามารถนำมาสรุปได้ว่า คุณลักษณะของผู้ประกอบการมีความสัมพันธ์กับความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางหรือขนาดย่อมในหมวดการค้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยจากคุณลักษณะของผู้ประกอบการทั้ง 16 องค์ประกอบ ที่ทำการทดสอบ พบว่ามี 11 องค์ประกอบ ประกอบด้วย ด้านสุขภาพ ด้านเวลาในการบริหารงาน ด้านศิลปะในการจูงใจลูกค้า ด้านทักษะในการสื่อสาร ด้านการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ด้านการนำเสนอสินค้า ด้านการคำนวน ด้านการวิเคราะห์ปัญหา ด้านตัดสินใจ ด้านลักษณะผู้นำ และด้านการสร้างเครือข่าย มีความสัมพันธ์กับความสำเร็จในการประกอบธุรกิจในหมวดการค้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้ง 4 ด้าน คือ ความสำเร็จทางธุรกิจ แนวโน้มของจำนวนพนักงาน แนวโน้มของจำนวนลูกค้า และแนวโน้มของยอดขายCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27318 SIU Thesis. คุณลักษณะสำคัญของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่ประสบความสำเร็จในหมวดการค้า = Essential Characteristic of Successful SMEs Entrepreneurs in Trade Section [printed text] / วินัย วารมา, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 110 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-07
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ประกอบการ
[LCSH]วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมKeywords: คุณลักษณะผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบสำคัญของคุณลักษณะของผู้ประกอบการและความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและพยากรณ์รูปแบบความสัมพันธ์ขององค์ประกอบคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่มีผลต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในหมวดการค้าโดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบการของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในหมวดการค้าที่ประกอบธุรกิจค้าส่งและค้าปลีกจำนวน 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ในการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการศึกษาเกี่ยวกับคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่สำคัญ พบว่ามีความสำคัญเรียงตามลำดับ คือ ความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหาของผู้ประกอบการ ทักษะในการสื่อสารและการสนทนากับลูกค้า ความคิดสร้างสรรค์ ทักษะในด้านการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ศิลปะในการจูงใจลูกค้าความสามารถในการนำเสนอสินค้าให้เวลาในการบริหารงาน ความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า ความสามารถในการวางแผน ทักษะด้านการคำนวณและดูแลสุขภาพร่างกาย ผลจากการวิจัยด้านกลยุทธ์ด้านการตลาดพบว่า ผู้ประกอบการให้ความสำคัญกับปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และปัจจัยด้านราคาเรียงตามลำดับความสำคัญ นอกจากนี้ผลจากการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรสามารถนำมาสรุปได้ว่า คุณลักษณะของผู้ประกอบการมีความสัมพันธ์กับความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางหรือขนาดย่อมในหมวดการค้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยจากคุณลักษณะของผู้ประกอบการทั้ง 16 องค์ประกอบ ที่ทำการทดสอบ พบว่ามี 11 องค์ประกอบ ประกอบด้วย ด้านสุขภาพ ด้านเวลาในการบริหารงาน ด้านศิลปะในการจูงใจลูกค้า ด้านทักษะในการสื่อสาร ด้านการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ด้านการนำเสนอสินค้า ด้านการคำนวน ด้านการวิเคราะห์ปัญหา ด้านตัดสินใจ ด้านลักษณะผู้นำ และด้านการสร้างเครือข่าย มีความสัมพันธ์กับความสำเร็จในการประกอบธุรกิจในหมวดการค้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้ง 4 ด้าน คือ ความสำเร็จทางธุรกิจ แนวโน้มของจำนวนพนักงาน แนวโน้มของจำนวนลูกค้า และแนวโน้มของยอดขายCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27318 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595320 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-07 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595296 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-07 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available