Collection Title: | SIU THE-T | Title : | ผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ต่อผู้ใช้บริการทางด้านการเงินของธนาคารพาณิชย์ไทย กรณีศึกษาเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล | Original title : | The Influence of Artificial Intelligence on Customers of Thai Commercial Banks: A Case Study of Customers in Bangkok Metropolitan Area | Material Type: | printed text | Authors: | ไตรรัตน์ ธนะประกอบกรณ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name | Publisher: | กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร | Publication Date: | 2019 | Pagination: | xxvii, 312 น. | Layout: | ตาราง, ภาพประกอบ | Size: | 30 ซม. | Price: | 500.00 บาท | General note: | SIU THE-T: SOM-DBA-2019-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562 | Languages : | Thai (tha) | Descriptors: | [LCSH]ธนาคารพาณิชย์ -- ไทย -- กรุงเทพมหานครและปริมณฑล [LCSH]ปัญญาประดิษฐ์ -- ผลกระทบ [LCSH]พฤติกรรมผู้บริโภค
| Keywords: | ทัศนคติ, พฤติกรรมการใช้บริการ, คุณภาพบริการ, ผลิตภัณฑ์/บริการ,
ผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ | Abstract: | การวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยด้านทัศนคติ ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ ปัจจัยคุณภาพบริการ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์/บริการ และผลกระทบของการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการให้บริการทางด้านการเงินกับผู้ใช้บริการ 2) เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบของปัจจัยด้านทัศนคติ ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ ปัจจัยคุณภาพบริการ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์/บริการที่มีต่อการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการให้บริการทางด้านการเงินกับผู้ใช้บริการ โดยใช้เทคนิคการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .93 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือผู้ใช้บริการธนาคารพาณิชย์ไทยเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 405 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน คือ การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ (Multiple Linear Regression Analysis) เพื่อทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาวิจัยพบว่า ผู้ใช้บริการธนาคารพาณิชย์ไทยเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31-40 ปี ระดับการศึกษาส่วนใหญ่ปริญญาโท อาชีพส่วนใหญ่เป็นเจ้าของกิจการ/ธุรกิจส่วนตัว ระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือนส่วนใหญ่ 30,001-40,000 บาท ธนาคารพาณิชย์ไทยที่ใช้บริการส่วนใหญ่เป็นธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) และประเภทของบริการทางด้านการเงินที่ใช้บริการ ส่วนใหญ่โอนเงินระหว่างบัญชี นอกเหนือจากการใช้บริการที่เคาน์เตอร์ธนาคาร ช่องทางการให้บริการทางด้านการเงินอื่นที่ท่านใช้บริการ ส่วนใหญ่ผ่านช่องทางเครื่องเอทีเอ็ม รองลงมาโทรศัพท์เคลื่อนที่
ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า 1) ปัจจัยด้านทัศนคติ 2) ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ3) ปัจจัยคุณภาพบริการ และ 4) ปัจจัยผลิตภัณฑ์/บริการมีอิทธิพลต่อผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ที่มีต่อผู้ใช้บริการทางด้านการเงินของธนาคารพาณิชย์ไทย กรณีศึกษาเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ดังนั้นสถาบันการเงินสามารถนำผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้ในการพิจารณาวางแผนแก้ไข และพัฒนาการออกแบบกลยุทธ์ทางการตลาดที่เป็นการขยายช่องทางการให้บริการทางการเงินที่สามารถตอบสนองความพึงพอใจให้กับลูกค้าผู้ใช้บริการได้อย่างทั่วถึงและสอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน | Curricular : | BBA/GE/MBA/PhDM | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27933 |
SIU THE-T. ผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ต่อผู้ใช้บริการทางด้านการเงินของธนาคารพาณิชย์ไทย กรณีศึกษาเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล = The Influence of Artificial Intelligence on Customers of Thai Commercial Banks: A Case Study of Customers in Bangkok Metropolitan Area [printed text] / ไตรรัตน์ ธนะประกอบกรณ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xxvii, 312 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม. 500.00 บาท SIU THE-T: SOM-DBA-2019-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562 Languages : Thai ( tha) Descriptors: | [LCSH]ธนาคารพาณิชย์ -- ไทย -- กรุงเทพมหานครและปริมณฑล [LCSH]ปัญญาประดิษฐ์ -- ผลกระทบ [LCSH]พฤติกรรมผู้บริโภค
| Keywords: | ทัศนคติ, พฤติกรรมการใช้บริการ, คุณภาพบริการ, ผลิตภัณฑ์/บริการ,
ผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ | Abstract: | การวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยด้านทัศนคติ ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ ปัจจัยคุณภาพบริการ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์/บริการ และผลกระทบของการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการให้บริการทางด้านการเงินกับผู้ใช้บริการ 2) เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบของปัจจัยด้านทัศนคติ ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ ปัจจัยคุณภาพบริการ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์/บริการที่มีต่อการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการให้บริการทางด้านการเงินกับผู้ใช้บริการ โดยใช้เทคนิคการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .93 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือผู้ใช้บริการธนาคารพาณิชย์ไทยเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 405 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน คือ การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ (Multiple Linear Regression Analysis) เพื่อทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาวิจัยพบว่า ผู้ใช้บริการธนาคารพาณิชย์ไทยเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31-40 ปี ระดับการศึกษาส่วนใหญ่ปริญญาโท อาชีพส่วนใหญ่เป็นเจ้าของกิจการ/ธุรกิจส่วนตัว ระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือนส่วนใหญ่ 30,001-40,000 บาท ธนาคารพาณิชย์ไทยที่ใช้บริการส่วนใหญ่เป็นธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) และประเภทของบริการทางด้านการเงินที่ใช้บริการ ส่วนใหญ่โอนเงินระหว่างบัญชี นอกเหนือจากการใช้บริการที่เคาน์เตอร์ธนาคาร ช่องทางการให้บริการทางด้านการเงินอื่นที่ท่านใช้บริการ ส่วนใหญ่ผ่านช่องทางเครื่องเอทีเอ็ม รองลงมาโทรศัพท์เคลื่อนที่
ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า 1) ปัจจัยด้านทัศนคติ 2) ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ3) ปัจจัยคุณภาพบริการ และ 4) ปัจจัยผลิตภัณฑ์/บริการมีอิทธิพลต่อผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ที่มีต่อผู้ใช้บริการทางด้านการเงินของธนาคารพาณิชย์ไทย กรณีศึกษาเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ดังนั้นสถาบันการเงินสามารถนำผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้ในการพิจารณาวางแผนแก้ไข และพัฒนาการออกแบบกลยุทธ์ทางการตลาดที่เป็นการขยายช่องทางการให้บริการทางการเงินที่สามารถตอบสนองความพึงพอใจให้กับลูกค้าผู้ใช้บริการได้อย่างทั่วถึงและสอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน | Curricular : | BBA/GE/MBA/PhDM | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27933 |
|