Collection Title: | SIU THE-T | Title : | การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ | Original title : | Implementing Land Traffic Act (Drunk Driving) into Practice | Material Type: | printed text | Authors: | หทัยรัตน์ สนสกุล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name | Publisher: | กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร | Publication Date: | 2018 | Pagination: | ix, 95 น. | Layout: | ตาราง, ภาพประกอบ | Size: | 30 ซม. | Price: | 500.00 บาท | General note: | SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-08
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 | Languages : | Thai (tha) | Descriptors: | [LCSH]การนำนโยบายไปปฏิบัติ [LCSH]พระราชบัญญัติจราจรทางบก
| Keywords: | พระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ), การนำนโยบายไปปฏิบัติ | Abstract: | วัตถุประสงค์ของการศึกษาเรื่อง การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ คือ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้ขับขี่รถยนต์ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมของผู้ขับขี่รถยนต์ และ 3) เพื่อหาแนวทางและวางแผนในการปฏิบัติตามนโยบายการใช้พระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากผู้ใช้รถในจังหวัดปทุมธานี จำนวน 920 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ และใช้ค่าความถี ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการศึกษา พบว่า พฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) มี 4 รูปแบบ ประกอบด้วย พฤติกรรมตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และถูกดำเนินคดีพบมากที่สุด รองลงมา ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และไม่เคยถูกดำเนินคดี ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ แต่ถูกดำเนินคดี และตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติอย่างเคร่งครัดผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) พบว่า โดยรวม คือ ภูมิลำเนา และอาชีพสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ตามพระราชบัญญัติ มาตรการของพระราชบัญญัติ และ การสนับสนุนของผู้นำท้องที่ แต่เมื่อพิจารณาแยกตามพฤติกรรมของผู้ใช้รถทั้ง 4 รูปแบบ โดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ พบว่า 1) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ และการสนับสนุนของผู้นำท้องที่ ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถที่ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติอย่างเคร่งครัด 2) การใช้อำนาจตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ในการใช้พระราชบัญญัติส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถที่ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติแต่ถูกดำเนินคดี 3) มาตรการของพระราชบัญญัติสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ตามพระราชบัญญัติ และบทลงโทษของพระราชบัญญัติส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติฯ ที่ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และไม่เคยถูกดำเนินคดี และ 4) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่การสนับสนุนของผู้นำพื้นที่สื่อที่ใช้ในการรณรงค์ และการใช้อำนาจตัดสินของเจ้าหน้าที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถ ที่ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติและถูกดำเนินคดี สำหรับปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปปฏิบัติ พบว่า คือ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ และการสนับสนุนของผู้นำท้องที่มีผลต่อการตั้งใจปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดของผู้ใช้รถ | Curricular : | GE/MPA/DPA | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27882 |
SIU THE-T. การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ = Implementing Land Traffic Act (Drunk Driving) into Practice [printed text] / หทัยรัตน์ สนสกุล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - ix, 95 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม. 500.00 บาท SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-08
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 Languages : Thai ( tha) Descriptors: | [LCSH]การนำนโยบายไปปฏิบัติ [LCSH]พระราชบัญญัติจราจรทางบก
| Keywords: | พระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ), การนำนโยบายไปปฏิบัติ | Abstract: | วัตถุประสงค์ของการศึกษาเรื่อง การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ คือ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้ขับขี่รถยนต์ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมของผู้ขับขี่รถยนต์ และ 3) เพื่อหาแนวทางและวางแผนในการปฏิบัติตามนโยบายการใช้พระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากผู้ใช้รถในจังหวัดปทุมธานี จำนวน 920 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ และใช้ค่าความถี ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการศึกษา พบว่า พฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) มี 4 รูปแบบ ประกอบด้วย พฤติกรรมตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และถูกดำเนินคดีพบมากที่สุด รองลงมา ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และไม่เคยถูกดำเนินคดี ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ แต่ถูกดำเนินคดี และตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติอย่างเคร่งครัดผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) พบว่า โดยรวม คือ ภูมิลำเนา และอาชีพสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ตามพระราชบัญญัติ มาตรการของพระราชบัญญัติ และ การสนับสนุนของผู้นำท้องที่ แต่เมื่อพิจารณาแยกตามพฤติกรรมของผู้ใช้รถทั้ง 4 รูปแบบ โดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ พบว่า 1) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ และการสนับสนุนของผู้นำท้องที่ ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถที่ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติอย่างเคร่งครัด 2) การใช้อำนาจตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ในการใช้พระราชบัญญัติส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถที่ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติแต่ถูกดำเนินคดี 3) มาตรการของพระราชบัญญัติสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ตามพระราชบัญญัติ และบทลงโทษของพระราชบัญญัติส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติฯ ที่ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และไม่เคยถูกดำเนินคดี และ 4) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่การสนับสนุนของผู้นำพื้นที่สื่อที่ใช้ในการรณรงค์ และการใช้อำนาจตัดสินของเจ้าหน้าที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถ ที่ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติและถูกดำเนินคดี สำหรับปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปปฏิบัติ พบว่า คือ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ และการสนับสนุนของผู้นำท้องที่มีผลต่อการตั้งใจปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดของผู้ใช้รถ | Curricular : | GE/MPA/DPA | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27882 |
|