Collection Title: | SIU THE-T | Title : | วิธีการแข่งขันของกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองระดับเทศบาลตำบล อำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง | Original title : | Competitive Strategies of Political Interest Groups at Subdistrict Municipality Level, Nikhompattana, District, Rayong | Material Type: | printed text | Authors: | ฉัตรชัย เล็กบุญแถม, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name | Publisher: | กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร | Publication Date: | 2018 | Pagination: | ix, 133 น. | Layout: | ตาราง, ภาพประกอบ | Size: | 30 ซม. | Price: | 500.00 บาท | General note: | SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-07
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 | Languages : | Thai (tha) | Descriptors: | [LCSH]การปกครองท้องถิ่น
| Keywords: | การเมืองระดับท้องถิ่น,
กลุ่มผลประโยชน์,
รูปแบบ,
วิธีการการแข่งขัน | Abstract: | วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการแข่งขันของกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองในระดับเทศบาลตำบล และศึกษาการใช้เครื่องมือที่กลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองนำมาใช้ในการแข่งขันทางการเมืองในระดับเทศบาลตำบลโดยใช้อำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง เป็นกรณีศึกษา วิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้สัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มผู้นำชุมชน กลุ่มสตรีแม่บ้าน กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มเกษตรกร กลุ่มพ่อค้า/แม่ค้า และกลุ่มข้าราชการในพื้นที่เทศบาลตำบลมะขามคู่ เทศบาลตำบลมาบข่า และเทศบาลตำบลมาบข่าพัฒนา อำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง จำนวน 110 คน
ผลการวิจัย พบว่า องค์ประกอบที่ทำให้กลุ่มนักการเมืองที่ชนะการเลือกตั้งประสบความสำเร็จในการเลือกตั้งเป็นเรื่องเกี่ยวกับการมีนโยบายที่ชัดเจน และสามารถตอบสนองความต้องการของชาวบ้านในพื้นที่ รู้และเข้าใจปัญหาเป็นอย่างดี โดยการเข้ามีส่วนร่วมกิจกรรมในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง มีความเป็นเครือญาติกับคนในพื้นที่มีความสัมพันธ์อันดีตลอดมา และยังมีพรรคการเมืองระดับชาติคอยให้การสนับสนุนให้ความช่วยเหลือในเรื่องต่างๆ นอกจากนี้พบว่ามีการสร้างความนิยมจากประชาชนโดยการเข้าไปช่วยเหลือโครงการต่างๆ ส่งเสริมและเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชนอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับชุมชนและร่วมผลักดันกิจกรรมใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์กับชุมชนอย่างต่อเนื่อง การเป็นกันเองกับชาวบ้านเหมือนญาติพี่น้อง ไม่แบ่งกลุ่มหรือประเภท โดยเฉพาะในเรื่องผลประโยชน์แอบแฝง และการปกป้องผลประโยชน์ของประชาชนทุกภาคส่วน สำหรับปัจจัยที่มีอิทธิพลส่งผลต่อลักษณะการต่อสู้ทางการเมืองของกลุ่มผลประโยชน์ผลการวิจัยพบว่ามีลักษณะการต่อสู้ในรูปแบบของการเข้าพื้นที่อย่างต่อเนื่อง โดยเน้นในเรื่องตัวบุคคล บทบาททางการเมือง นโยบาย การปกป้องผลประโยชน์ ตลอดจนความสัมพันธ์ โดยมีกลุ่มชาวบ้านคอยช่วยเหลือและอำนวยความสะดวก เร่งกระทำในเรื่องของประชานิยมของการแข่งขัน และเป็นไปในลักษณะของการลงพื้นที่หาเสียงโดยใช้ความสัมพันธ์เชิงเครือญาติ ซึ่งต่างฝ่ายต่างให้เครือญาติและเพื่อนๆ ช่วยเหลือเพื่อขอคะแนนเสียงจากประชาชนในพื้นที่ และที่สำคัญกลุ่มนักการเมืองท้องถิ่นได้ใช้ความสัมพันธ์ที่ดี เพื่อขอความช่วยเหลือจากนักการเมืองระดับประเทศเพื่อให้การสนับสนุน
ผลการวิจัยเกี่ยวกับรูปแบบและลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนกับกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองในเขตพื้นที่ พบว่า มีการสร้างสัมพันธภาพของกลุ่มนักการเมืองที่ชนะการเลือกตั้งและกลุ่มนักการเมืองที่แพ้การเลือกตั้ง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อบทบาทของกลุ่มองค์กรต่างๆ ของประชาชนในการรับสนับสนุนของกลุ่มนักการเมืองที่ชนะในการเลือกตั้งและกลุ่มนักการเมืองที่แพ้การเลือกตั้ง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อบทบาทความสำคัญของคุณสมบัติ และนโยบายของผู้สมัครรับเลือกตั้ง และผลจากบทบาทของกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมือง ในเขตพื้นที่เทศบาลที่ พบว่า การสร้างบทบาทของกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองในเขตพื้นที่ส่งผลบวกมากกว่าผลลบ | Curricular : | GE | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27842 |
SIU THE-T. วิธีการแข่งขันของกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองระดับเทศบาลตำบล อำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง = Competitive Strategies of Political Interest Groups at Subdistrict Municipality Level, Nikhompattana, District, Rayong [printed text] / ฉัตรชัย เล็กบุญแถม, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - ix, 133 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม. 500.00 บาท SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-07
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 Languages : Thai ( tha) Descriptors: | [LCSH]การปกครองท้องถิ่น
| Keywords: | การเมืองระดับท้องถิ่น,
กลุ่มผลประโยชน์,
รูปแบบ,
วิธีการการแข่งขัน | Abstract: | วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการแข่งขันของกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองในระดับเทศบาลตำบล และศึกษาการใช้เครื่องมือที่กลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองนำมาใช้ในการแข่งขันทางการเมืองในระดับเทศบาลตำบลโดยใช้อำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง เป็นกรณีศึกษา วิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้สัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มผู้นำชุมชน กลุ่มสตรีแม่บ้าน กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มเกษตรกร กลุ่มพ่อค้า/แม่ค้า และกลุ่มข้าราชการในพื้นที่เทศบาลตำบลมะขามคู่ เทศบาลตำบลมาบข่า และเทศบาลตำบลมาบข่าพัฒนา อำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง จำนวน 110 คน
ผลการวิจัย พบว่า องค์ประกอบที่ทำให้กลุ่มนักการเมืองที่ชนะการเลือกตั้งประสบความสำเร็จในการเลือกตั้งเป็นเรื่องเกี่ยวกับการมีนโยบายที่ชัดเจน และสามารถตอบสนองความต้องการของชาวบ้านในพื้นที่ รู้และเข้าใจปัญหาเป็นอย่างดี โดยการเข้ามีส่วนร่วมกิจกรรมในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง มีความเป็นเครือญาติกับคนในพื้นที่มีความสัมพันธ์อันดีตลอดมา และยังมีพรรคการเมืองระดับชาติคอยให้การสนับสนุนให้ความช่วยเหลือในเรื่องต่างๆ นอกจากนี้พบว่ามีการสร้างความนิยมจากประชาชนโดยการเข้าไปช่วยเหลือโครงการต่างๆ ส่งเสริมและเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชนอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับชุมชนและร่วมผลักดันกิจกรรมใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์กับชุมชนอย่างต่อเนื่อง การเป็นกันเองกับชาวบ้านเหมือนญาติพี่น้อง ไม่แบ่งกลุ่มหรือประเภท โดยเฉพาะในเรื่องผลประโยชน์แอบแฝง และการปกป้องผลประโยชน์ของประชาชนทุกภาคส่วน สำหรับปัจจัยที่มีอิทธิพลส่งผลต่อลักษณะการต่อสู้ทางการเมืองของกลุ่มผลประโยชน์ผลการวิจัยพบว่ามีลักษณะการต่อสู้ในรูปแบบของการเข้าพื้นที่อย่างต่อเนื่อง โดยเน้นในเรื่องตัวบุคคล บทบาททางการเมือง นโยบาย การปกป้องผลประโยชน์ ตลอดจนความสัมพันธ์ โดยมีกลุ่มชาวบ้านคอยช่วยเหลือและอำนวยความสะดวก เร่งกระทำในเรื่องของประชานิยมของการแข่งขัน และเป็นไปในลักษณะของการลงพื้นที่หาเสียงโดยใช้ความสัมพันธ์เชิงเครือญาติ ซึ่งต่างฝ่ายต่างให้เครือญาติและเพื่อนๆ ช่วยเหลือเพื่อขอคะแนนเสียงจากประชาชนในพื้นที่ และที่สำคัญกลุ่มนักการเมืองท้องถิ่นได้ใช้ความสัมพันธ์ที่ดี เพื่อขอความช่วยเหลือจากนักการเมืองระดับประเทศเพื่อให้การสนับสนุน
ผลการวิจัยเกี่ยวกับรูปแบบและลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนกับกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองในเขตพื้นที่ พบว่า มีการสร้างสัมพันธภาพของกลุ่มนักการเมืองที่ชนะการเลือกตั้งและกลุ่มนักการเมืองที่แพ้การเลือกตั้ง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อบทบาทของกลุ่มองค์กรต่างๆ ของประชาชนในการรับสนับสนุนของกลุ่มนักการเมืองที่ชนะในการเลือกตั้งและกลุ่มนักการเมืองที่แพ้การเลือกตั้ง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อบทบาทความสำคัญของคุณสมบัติ และนโยบายของผู้สมัครรับเลือกตั้ง และผลจากบทบาทของกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมือง ในเขตพื้นที่เทศบาลที่ พบว่า การสร้างบทบาทของกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองในเขตพื้นที่ส่งผลบวกมากกว่าผลลบ | Curricular : | GE | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27842 |
|