From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SIU IS-T. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชากับความผูกพันต่อองค์กร กรณีศึกษาเจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี / ธนัญชัย ปรีชาเชี่ยว / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2015
Collection Title: SIU IS-T Title : ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชากับความผูกพันต่อองค์กร กรณีศึกษาเจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Relationships between Leadership of Commander and Organizational Commitment: A Case of Police Officers in Surattani Province) Material Type: printed text Authors: ธนัญชัย ปรีชาเชี่ยว, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2015 Pagination: viii, 63 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-04
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- สุราษฎร์ธานี
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- กรณีศึกษาKeywords: ภาวะผู้นำ,
ความผูกพันต่อองค์กรAbstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจ เปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชากับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้แบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูลจากเจ้าหน้าที่ตำรวจชั้นประทวนถึงรองสารวัตรในจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 340 คน สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติทดสอบที (t-test) ค่าสถิติทดสอบเอฟ (F-test) และค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีความผูกพันต่อองค์กรในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย คือ มีความรู้สึกภาคภูมิใจในองค์กร การยอมรับและเชื่อมั่นเป้าหมายขององค์กร ความต้องการเป็นสมาชิกขององค์กร และมีความเต็มใจที่จะปฏิบัติงานเพื่อองค์กร ผลการเปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์กร พบว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจที่มีอายุ ระยะเวลารับราชการ ระดับการศึกษา ระดับชั้นตำแหน่ง และอัตราเงินเดือนที่แตกต่างกัน มีความผูกพันต่อองค์กรไม่แตกต่างกัน และผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชากับความผูกพันต่อองค์กร พบว่า ภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชาด้านสติปัญญา ความรู้ความสามารถ และบุคลิกภาพ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำกับความผูกพันต่อองค์กร และภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชาด้านลักษณะทางด้านเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับงาน และลักษณะทางสังคมและการมีปฏิสัมพันธ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26658 SIU IS-T. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชากับความผูกพันต่อองค์กร กรณีศึกษาเจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี = Relationships between Leadership of Commander and Organizational Commitment: A Case of Police Officers in Surattani Province) [printed text] / ธนัญชัย ปรีชาเชี่ยว, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015 . - viii, 63 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-04
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- สุราษฎร์ธานี
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- กรณีศึกษาKeywords: ภาวะผู้นำ,
ความผูกพันต่อองค์กรAbstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจ เปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชากับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้แบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูลจากเจ้าหน้าที่ตำรวจชั้นประทวนถึงรองสารวัตรในจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 340 คน สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติทดสอบที (t-test) ค่าสถิติทดสอบเอฟ (F-test) และค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีความผูกพันต่อองค์กรในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย คือ มีความรู้สึกภาคภูมิใจในองค์กร การยอมรับและเชื่อมั่นเป้าหมายขององค์กร ความต้องการเป็นสมาชิกขององค์กร และมีความเต็มใจที่จะปฏิบัติงานเพื่อองค์กร ผลการเปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์กร พบว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจที่มีอายุ ระยะเวลารับราชการ ระดับการศึกษา ระดับชั้นตำแหน่ง และอัตราเงินเดือนที่แตกต่างกัน มีความผูกพันต่อองค์กรไม่แตกต่างกัน และผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชากับความผูกพันต่อองค์กร พบว่า ภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชาด้านสติปัญญา ความรู้ความสามารถ และบุคลิกภาพ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำกับความผูกพันต่อองค์กร และภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชาด้านลักษณะทางด้านเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับงาน และลักษณะทางสังคมและการมีปฏิสัมพันธ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26658 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593127 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-04 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593093 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-04 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. บทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กรณีศึกษา : สายการบินบิสสิเนสแอร์ / ดำรง ตะนารัตน์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : บทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กรณีศึกษา : สายการบินบิสสิเนสแอร์ Original title : The Manager’s Role in leading the Organization to Success Case Study: Business Air Airlines Material Type: printed text Authors: ดำรง ตะนารัตน์, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 77 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-14
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้จัดการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- กรณีศึกษา
[LCSH]สายการบินKeywords: บทบาท, ผู้นำ, ภาวะผู้นำ, ผู้จัดการ, การตัดสินใจ, สายการบิน บิสสิเนสแอร์ Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กรณีศึกษา : สายการบินบิสสิเนสแอร์ และเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้จัดการ จำนวน 10 คนซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานของสายการบินบิสสิเนสแอร์ เป็นผู้ให้ข้อมูลหลักโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ผลการศึกษา พบว่า แนวทางการบริหารงานของสายการบินบิสสิเนสแอร์ มีการกำหนดเป้าหมายขององค์กรอย่างชัดเจน ชี้แจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบ ด้านความรอบรู้ในงาน ผู้จัดการต้องมีความรู้ในฝ่ายอื่นๆทุกๆฝ่าย การตัดสินใจผิดพลาดไม่กล้าตัดสินใจ หรือตัดสินใจล่าช้าก็จะเกิดการสูญเสียค่าใช้จ่าย ด้านความสามารถทางการบริหาร ควรมีการสอนงาน แก้ปัญหาและให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตามเพื่อบรรลุเป้าหมาย ด้านมนุษย์สัมพันธ์ช่วยเป็นตัวประสานงานให้งานคล่องตัวขึ้น ลดการขัดแย้ง ลดความไม่เข้าใจกันในการทำงาน บทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ ต้องใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงาน
แนวทางการพัฒนาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ ควรเพิ่มทักษะการบริหารโดยการฝึกอบรมผู้จัดการ การบริหารจัดการบุคลากร และต้องมีเส้นทางความก้าวหน้าในสายวิชาชีพ
ปัญหาในการทำงาน ได้แก่ เป็นการบริหารงานแบบครอบครัว โดยเจ้าของเป็นผู้ตัดสินใจ ขาดสภาพคล่องทางการเงิน นักบินขาดแคลน เครื่องบินมีอายุเกิน 16ปี ขาดแคลนชิ้นส่วนอะไหล่ (spare part) ในการซ่อมบำรุง ฝ่ายการตลาดและการเงินยังขาดประสบการณ์การด้านการจัดการในการวางแผน กระแสเงินสดหมุนเวียน(Cash Flow) มาจาก(กำไร)Margin ต่ำและขาดผู้มีความสามารถ หรือผู้ชำนาญการทำการควบคุมต้นทุน(cost control)
อุปสรรค ได้แก่ การเปลี่ยนกฎข้อบังคับของกรมการบินพลเรือนทำให้การดำเนินธุรกิจลำบากขึ้น การถูกปรับลดความน่าเชื่อถือด้านความปลอดภัย การเสียโอกาสในการดำเนินธุรกิจ มีผู้บริหารในแต่ละหน่วยเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรเพิ่มขึ้น และภัยพิบัติทางธรรมชาติ การบริหารการเงินของผู้บริหารผิดพลาด การบริหารบุคคลล้มเหลวCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26890 SIU IS-T. บทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กรณีศึกษา : สายการบินบิสสิเนสแอร์ = The Manager’s Role in leading the Organization to Success Case Study: Business Air Airlines [printed text] / ดำรง ตะนารัตน์, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 77 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-14
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้จัดการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- กรณีศึกษา
[LCSH]สายการบินKeywords: บทบาท, ผู้นำ, ภาวะผู้นำ, ผู้จัดการ, การตัดสินใจ, สายการบิน บิสสิเนสแอร์ Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กรณีศึกษา : สายการบินบิสสิเนสแอร์ และเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้จัดการ จำนวน 10 คนซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานของสายการบินบิสสิเนสแอร์ เป็นผู้ให้ข้อมูลหลักโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ผลการศึกษา พบว่า แนวทางการบริหารงานของสายการบินบิสสิเนสแอร์ มีการกำหนดเป้าหมายขององค์กรอย่างชัดเจน ชี้แจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบ ด้านความรอบรู้ในงาน ผู้จัดการต้องมีความรู้ในฝ่ายอื่นๆทุกๆฝ่าย การตัดสินใจผิดพลาดไม่กล้าตัดสินใจ หรือตัดสินใจล่าช้าก็จะเกิดการสูญเสียค่าใช้จ่าย ด้านความสามารถทางการบริหาร ควรมีการสอนงาน แก้ปัญหาและให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตามเพื่อบรรลุเป้าหมาย ด้านมนุษย์สัมพันธ์ช่วยเป็นตัวประสานงานให้งานคล่องตัวขึ้น ลดการขัดแย้ง ลดความไม่เข้าใจกันในการทำงาน บทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ ต้องใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงาน
แนวทางการพัฒนาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ ควรเพิ่มทักษะการบริหารโดยการฝึกอบรมผู้จัดการ การบริหารจัดการบุคลากร และต้องมีเส้นทางความก้าวหน้าในสายวิชาชีพ
ปัญหาในการทำงาน ได้แก่ เป็นการบริหารงานแบบครอบครัว โดยเจ้าของเป็นผู้ตัดสินใจ ขาดสภาพคล่องทางการเงิน นักบินขาดแคลน เครื่องบินมีอายุเกิน 16ปี ขาดแคลนชิ้นส่วนอะไหล่ (spare part) ในการซ่อมบำรุง ฝ่ายการตลาดและการเงินยังขาดประสบการณ์การด้านการจัดการในการวางแผน กระแสเงินสดหมุนเวียน(Cash Flow) มาจาก(กำไร)Margin ต่ำและขาดผู้มีความสามารถ หรือผู้ชำนาญการทำการควบคุมต้นทุน(cost control)
อุปสรรค ได้แก่ การเปลี่ยนกฎข้อบังคับของกรมการบินพลเรือนทำให้การดำเนินธุรกิจลำบากขึ้น การถูกปรับลดความน่าเชื่อถือด้านความปลอดภัย การเสียโอกาสในการดำเนินธุรกิจ มีผู้บริหารในแต่ละหน่วยเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรเพิ่มขึ้น และภัยพิบัติทางธรรมชาติ การบริหารการเงินของผู้บริหารผิดพลาด การบริหารบุคคลล้มเหลวCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26890 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593655 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-14 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593663 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-14 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available