From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง / นริดา อินนาค
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง Original title : Quality of Life Development of the Elderly at Lampang Province Material Type: printed text Authors: นริดา อินนาค, Author Pagination: xi, 154 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-12
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]คุณภาพชีวิต -- ผู้สูงอายุ -- ลำปางKeywords: การพัฒนา, คุณภาพชีวิต, ผู้สูงอายุ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง และ 4) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบผสานวิธี ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากผู้สูงอายุที่อาศัยในจังหวัดลำปาง จำนวน 400 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม เป็นคำถามปลายปิด สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และค่าการถดถอยเชิงพหุคูณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 20 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณา
ผลการวิจัยพบว่า
1) ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิต มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านสุขภาพและอนามัยผู้สูงอายุ และด้านส่งเสริมการมีงานทำและความมั่นคงทางรายได้ ตามลำดับ 2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง พบว่า ตัวแปรอิสระทั้ง 4 มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุ มีความสัมพันธ์ในระดับมาก รองลงมาปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความสัมพันธ์ในระดับมาก อันดับที่สามปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง และปัจจัยการสนับสุนจากชุมชนและสังคมมีความสัมพันธ์ระดับต่ำ ตามลำดับ
3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ประกอบด้วย 4 ปัจจัย คือ ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง และปัจจัยการสนับสนุนจากชุมชนและสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้รัอยละ 72.70 ในเชิงบวก
4) ปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง คือ การสนับสนุนให้ผู้สูงอายุระยะต้น ให้ทำงานตามความถนัดของตนเอง การปรับปรุงนโยบายด้านสาธารณสุข การบริการทางการแพทย์ การอำนวยความสะดวกด้านต่างๆ สำหรับผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุต้องการได้รับเบี้ยยังชีพเพิ่มขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตนเองให้ดีขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27949 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง = Quality of Life Development of the Elderly at Lampang Province [printed text] / นริดา อินนาค, Author . - [s.d.] . - xi, 154 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-12
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]คุณภาพชีวิต -- ผู้สูงอายุ -- ลำปางKeywords: การพัฒนา, คุณภาพชีวิต, ผู้สูงอายุ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง และ 4) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบผสานวิธี ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากผู้สูงอายุที่อาศัยในจังหวัดลำปาง จำนวน 400 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม เป็นคำถามปลายปิด สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และค่าการถดถอยเชิงพหุคูณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 20 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณา
ผลการวิจัยพบว่า
1) ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิต มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านสุขภาพและอนามัยผู้สูงอายุ และด้านส่งเสริมการมีงานทำและความมั่นคงทางรายได้ ตามลำดับ 2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง พบว่า ตัวแปรอิสระทั้ง 4 มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุ มีความสัมพันธ์ในระดับมาก รองลงมาปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความสัมพันธ์ในระดับมาก อันดับที่สามปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง และปัจจัยการสนับสุนจากชุมชนและสังคมมีความสัมพันธ์ระดับต่ำ ตามลำดับ
3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ประกอบด้วย 4 ปัจจัย คือ ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง และปัจจัยการสนับสนุนจากชุมชนและสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้รัอยละ 72.70 ในเชิงบวก
4) ปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง คือ การสนับสนุนให้ผู้สูงอายุระยะต้น ให้ทำงานตามความถนัดของตนเอง การปรับปรุงนโยบายด้านสาธารณสุข การบริการทางการแพทย์ การอำนวยความสะดวกด้านต่างๆ สำหรับผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุต้องการได้รับเบี้ยยังชีพเพิ่มขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตนเองให้ดีขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27949 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม / ศรีสุดา มีชำนาญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม Original title : Development of the Quality of Life for the Elderly In the Local Administrative Organizations In the Nakhonpathom Province Material Type: printed text Authors: ศรีสุดา มีชำนาญ, Author Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xi, 153 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- คุณภาพชีวิต -- นครปฐมKeywords: การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 2) ศึกษาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 3) เปรียบเทียบการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม และ 5) เสนอแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สูงอายุ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอละ 3 แห่ง รวมทั้งสิ้น 21 คน ใช้การสัมภาษณ์เจาะลึกบุคคลแบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม ด้านสมรรถนะของหน่วยงาน ด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ด้านความพร้อมด้านทรัพยากร และด้านความร่วมมือและสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการบริหารจัดการระบบพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านการอยู่ร่วมกันและการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านองค์กรด้านผู้สูงอายุ ด้านสุขภาพอนามัย และด้านการส่งเสริมอาชีพหรือรายได้ของผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกันมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนอาชีพ ไม่พบความแตกต่างกัน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมด้านความพร้อมด้านทรัพยากร ด้านความร่วมมือและการสนับสนุนจากหน่วยที่เกี่ยวข้อง ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม และด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของนโยบายสามารถร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้ร้อยละ 69.2
แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) ขับเคลื่อนการดำเนินงานระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะติดบ้านและติดเตียง 2) จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุเพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุที่ติดสังคมได้มีกิจกรรมร่วมกัน 3) จัดตั้งกองทุนผู้สูงอายุเพื่อเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ และ 4) การมอบหมายให้มีหน่วยงานภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ดูแลรับผิดชอบงานผู้สูงอายุโดยตรง เช่น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมและกองสวัสดิการสังคม
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) จัดให้มีจำนวนบุคลากรที่เพียงพอในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ 2) สร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับผู้นำท้องที่ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 3) ให้ความสำคัญกับการศึกษาสภาพสังคมและวิถีการดำรงชีวิตของคนในพื้นที่ และ 4) กำหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงานด้านผู้สูงอายุให้มีความสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในระดับชาติCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27947 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม = Development of the Quality of Life for the Elderly In the Local Administrative Organizations In the Nakhonpathom Province [printed text] / ศรีสุดา มีชำนาญ, Author . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xi, 153 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- คุณภาพชีวิต -- นครปฐมKeywords: การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 2) ศึกษาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 3) เปรียบเทียบการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม และ 5) เสนอแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สูงอายุ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอละ 3 แห่ง รวมทั้งสิ้น 21 คน ใช้การสัมภาษณ์เจาะลึกบุคคลแบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม ด้านสมรรถนะของหน่วยงาน ด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ด้านความพร้อมด้านทรัพยากร และด้านความร่วมมือและสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการบริหารจัดการระบบพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านการอยู่ร่วมกันและการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านองค์กรด้านผู้สูงอายุ ด้านสุขภาพอนามัย และด้านการส่งเสริมอาชีพหรือรายได้ของผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกันมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนอาชีพ ไม่พบความแตกต่างกัน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมด้านความพร้อมด้านทรัพยากร ด้านความร่วมมือและการสนับสนุนจากหน่วยที่เกี่ยวข้อง ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม และด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของนโยบายสามารถร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้ร้อยละ 69.2
แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) ขับเคลื่อนการดำเนินงานระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะติดบ้านและติดเตียง 2) จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุเพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุที่ติดสังคมได้มีกิจกรรมร่วมกัน 3) จัดตั้งกองทุนผู้สูงอายุเพื่อเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ และ 4) การมอบหมายให้มีหน่วยงานภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ดูแลรับผิดชอบงานผู้สูงอายุโดยตรง เช่น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมและกองสวัสดิการสังคม
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) จัดให้มีจำนวนบุคลากรที่เพียงพอในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ 2) สร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับผู้นำท้องที่ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 3) ให้ความสำคัญกับการศึกษาสภาพสังคมและวิถีการดำรงชีวิตของคนในพื้นที่ และ 4) กำหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงานด้านผู้สูงอายุให้มีความสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในระดับชาติCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27947 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607966 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607963 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available Readers who borrowed this document also borrowed:
Qualitative research practice Lewis,, Jane (1962-) Strategies of qualitative inquiry Denzin,, Norman K. Archaeology of knowledge Foucault,, Michel SIU IS-T. ความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี / สุเทพ แม้นเมฆ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2015
Collection Title: SIU IS-T Title : ความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี Original title : Satisfaction in Quality of Life Development of Soldiers in the Army Infantry Regiment, Surattani Province Material Type: printed text Authors: สุเทพ แม้นเมฆ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2015 Pagination: vii, 60 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-02
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ทหารบก -- สุราษฎร์ธานีKeywords: คุณภาพชีวิต,
ความพึงพอใจ,
ทหารAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการของจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี 2) ศึกษาข้อเสนอแนะในการพัฒนาและเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ทหารกองประจำการทหารบกสุราษฎร์ธานี จำนวน 200 นาย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ด้านที่พักอาศัย ด้านเครื่องแต่งกาย เครื่องนอนของใช้ส่วนตัว ด้านสุขภาพร่างกาย ด้านสวัสดิการอื่น ด้านอาหารและโภชนาการตามลำดับ สำหรับข้อเสนอแนะในการพัฒนาควรมีการจัดสวัสดิการและจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอและมากกว่าส่วนราชการอื่น ส่งเสริมด้านอาหารโภชนาการให้มากเพื่อสุขภาพของทหารกองประจำการ จัดให้มีกิจกรรมต่าง ๆ ในการผ่อนคลายการทำงานCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26656 SIU IS-T. ความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี = Satisfaction in Quality of Life Development of Soldiers in the Army Infantry Regiment, Surattani Province [printed text] / สุเทพ แม้นเมฆ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015 . - vii, 60 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-02
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ทหารบก -- สุราษฎร์ธานีKeywords: คุณภาพชีวิต,
ความพึงพอใจ,
ทหารAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการของจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี 2) ศึกษาข้อเสนอแนะในการพัฒนาและเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ทหารกองประจำการทหารบกสุราษฎร์ธานี จำนวน 200 นาย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ด้านที่พักอาศัย ด้านเครื่องแต่งกาย เครื่องนอนของใช้ส่วนตัว ด้านสุขภาพร่างกาย ด้านสวัสดิการอื่น ด้านอาหารและโภชนาการตามลำดับ สำหรับข้อเสนอแนะในการพัฒนาควรมีการจัดสวัสดิการและจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอและมากกว่าส่วนราชการอื่น ส่งเสริมด้านอาหารโภชนาการให้มากเพื่อสุขภาพของทหารกองประจำการ จัดให้มีกิจกรรมต่าง ๆ ในการผ่อนคลายการทำงานCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26656 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593051 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-02 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000593085 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-02 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available