From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรมเชิงรุกในเขตพื้นที่สถานีภูธรห้วยกระเจา อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี / พันธุ์ไทย ปรัชญาวงศ์ชัย / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรมเชิงรุกในเขตพื้นที่สถานีภูธรห้วยกระเจา อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี Original title : The Participation of the Public in Crime Prevention, Proactive in the Area of Police Station Huay Krajao Huay Krajao District, Kanchanaburi Provice Material Type: printed text Authors: พันธุ์ไทย ปรัชญาวงศ์ชัย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: x, 76 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-27
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กาญจนบุรี -- ประชากร
[LCSH]การป้องกันอาชญากรรม -- การมีส่วนร่วมของประชาชน -- กาญจนบุรี
[LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกันKeywords: การมีส่วนร่วมของประชาชน,
การป้องกันอาชญากรรมเชิงรุก,
สถานีตำรวจภูธรห้วยกระเจา,
จังหวัดกาญจนบุรีCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26623 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรมเชิงรุกในเขตพื้นที่สถานีภูธรห้วยกระเจา อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี = The Participation of the Public in Crime Prevention, Proactive in the Area of Police Station Huay Krajao Huay Krajao District, Kanchanaburi Provice [printed text] / พันธุ์ไทย ปรัชญาวงศ์ชัย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - x, 76 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-27
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กาญจนบุรี -- ประชากร
[LCSH]การป้องกันอาชญากรรม -- การมีส่วนร่วมของประชาชน -- กาญจนบุรี
[LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกันKeywords: การมีส่วนร่วมของประชาชน,
การป้องกันอาชญากรรมเชิงรุก,
สถานีตำรวจภูธรห้วยกระเจา,
จังหวัดกาญจนบุรีCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26623 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592723 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-27 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592699 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-27 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม กรณีศึกษาสถานีตำรวจภูธรเมืองสุราษฎร์ธานี / ศราวุฒิ ดีทองอ่อน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม กรณีศึกษาสถานีตำรวจภูธรเมืองสุราษฎร์ธานี Original title : Community Volunteer Police’s Participation in Crime Suppression: The Case of Mueang Surat Thani Police Station Material Type: printed text Authors: ศราวุฒิ ดีทองอ่อน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 78 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-33
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การมีส่วนร่วม
[LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกันKeywords: การมีส่วนร่วม,
การป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม,
อาสาสมัครตำรวจบ้านAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วม และเพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม : กรณีศึกษาสถานีตำรวจภูธรเมืองสุราษฏร์ธานี จำแนกตามอายุ ระดับการศึกษา และระยะเวลาในการเป็นอาสาสมัครตำรวจบ้าน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ อาสาสมัครตำรวจบ้านทั้งหมดของสถานีตำรวจภูธรเมืองสุราษฏร์ธานีจำนวน 360 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติเชิงพรรณนาที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้การทดสอบค่า F-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ในการทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัย พบว่า การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า การปฏิบัติงานตามแผนที่กำหนดมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือการมีส่วนร่วม การประเมินผลการปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมในการปรับปรุงแผนการทำงาน และการวางแผนการปฏิบัติงาน ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมจำแนกตามอายุ ระดับการศึกษา และระยะเวลาในการเป็นอาสาสมัครตำรวจบ้าน พบว่า โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26949 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม กรณีศึกษาสถานีตำรวจภูธรเมืองสุราษฎร์ธานี = Community Volunteer Police’s Participation in Crime Suppression: The Case of Mueang Surat Thani Police Station [printed text] / ศราวุฒิ ดีทองอ่อน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 78 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-33
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การมีส่วนร่วม
[LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกันKeywords: การมีส่วนร่วม,
การป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม,
อาสาสมัครตำรวจบ้านAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วม และเพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม : กรณีศึกษาสถานีตำรวจภูธรเมืองสุราษฏร์ธานี จำแนกตามอายุ ระดับการศึกษา และระยะเวลาในการเป็นอาสาสมัครตำรวจบ้าน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ อาสาสมัครตำรวจบ้านทั้งหมดของสถานีตำรวจภูธรเมืองสุราษฏร์ธานีจำนวน 360 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติเชิงพรรณนาที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้การทดสอบค่า F-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ในการทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัย พบว่า การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า การปฏิบัติงานตามแผนที่กำหนดมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือการมีส่วนร่วม การประเมินผลการปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมในการปรับปรุงแผนการทำงาน และการวางแผนการปฏิบัติงาน ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมจำแนกตามอายุ ระดับการศึกษา และระยะเวลาในการเป็นอาสาสมัครตำรวจบ้าน พบว่า โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26949 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594273 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-33 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594265 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-33 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. พฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน / ฉัตรกวินฐ์ กุลโท / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : พฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน Original title : Behavior of Crime Prevention Against Rape Cases Material Type: printed text Authors: ฉัตรกวินฐ์ กุลโท, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: ix, 195 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500 Baht General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกัน
[LCSH]อาชญากรรมทางเพศ -- วิจัยKeywords: การป้องกัน, คดีข่มขืน, พฤติกรรม, อาชญากรรม Abstract: การศึกษานี้เป็นวิจัยแบบผสมระหว่างเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน (2) เปรียบเทียบปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน และ (3) หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผลต่อการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืนกับพฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบบเลือกตอบและแบบสัมภาษณ์ จากกลุ่มจากประชาชนที่อาศัยในเขตเทศบาลนคร นครราชสีมา จำนวน 400 คน วิจัยนี้ใช้สถิติการหาค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regressions) ทดสอบตัวแปร และการทดสอบสมมุติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 20 -30 ปี มีสถานภาพสมรส มีวุฒิการศึกษาปริญญาตรี นับถือศาสนาพุทธ ประกอบธุรกิจส่วนตัว มีรายได้ 15,001 – 20,000 บาทต่อเดือน นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมในการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน ประกอบด้วยนโยบายด้านการปราบปราม ด้านการสื่อสารเครือข่ายชุมชน ด้านมวลชนและการสร้างเครือข่าย ด้านเทคโนโลยีกล้องวงจรปิด ด้านระบบสายตรวจ และด้านอาชญวิทยา เรียงตามลำดับ นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านการสื่อสารเครือข่ายชุมชน ด้านนโยบายการปราบปราม ด้านมวลชนและการสร้างเครือข่าย ด้านเทคโนโลยีกล้องวงจรปิด เป็นตัวพยากรณ์พฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27879 SIU THE-T. พฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน = Behavior of Crime Prevention Against Rape Cases [printed text] / ฉัตรกวินฐ์ กุลโท, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - ix, 195 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500 Baht
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกัน
[LCSH]อาชญากรรมทางเพศ -- วิจัยKeywords: การป้องกัน, คดีข่มขืน, พฤติกรรม, อาชญากรรม Abstract: การศึกษานี้เป็นวิจัยแบบผสมระหว่างเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน (2) เปรียบเทียบปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน และ (3) หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผลต่อการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืนกับพฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบบเลือกตอบและแบบสัมภาษณ์ จากกลุ่มจากประชาชนที่อาศัยในเขตเทศบาลนคร นครราชสีมา จำนวน 400 คน วิจัยนี้ใช้สถิติการหาค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regressions) ทดสอบตัวแปร และการทดสอบสมมุติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 20 -30 ปี มีสถานภาพสมรส มีวุฒิการศึกษาปริญญาตรี นับถือศาสนาพุทธ ประกอบธุรกิจส่วนตัว มีรายได้ 15,001 – 20,000 บาทต่อเดือน นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมในการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน ประกอบด้วยนโยบายด้านการปราบปราม ด้านการสื่อสารเครือข่ายชุมชน ด้านมวลชนและการสร้างเครือข่าย ด้านเทคโนโลยีกล้องวงจรปิด ด้านระบบสายตรวจ และด้านอาชญวิทยา เรียงตามลำดับ นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านการสื่อสารเครือข่ายชุมชน ด้านนโยบายการปราบปราม ด้านมวลชนและการสร้างเครือข่าย ด้านเทคโนโลยีกล้องวงจรปิด เป็นตัวพยากรณ์พฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27879 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598571 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-09 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598597 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-09 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available