From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SIU IS-T. การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ในทัศนะของข้าราชการส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา ข้าราชการส่วนท้องถิ่นที่เข้าฝึกอบรม ณ สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น / ณัฐชนน เหลืองสมานกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ในทัศนะของข้าราชการส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา ข้าราชการส่วนท้องถิ่นที่เข้าฝึกอบรม ณ สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น Original title : Good Governance of Local Governments in Thailand : Local Officials’ Perspectives Case Study; Local Officials Training at Local Personnel Development Institution Material Type: printed text Authors: ณัฐชนน เหลืองสมานกุล, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 79 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-23
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- ทัศนคติ
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- ไทยKeywords: หลักธรรมาภิบาล
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นการใช้หลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย เปรียบเทียบการใช้หลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในทัศนะของข้าราชการส่วนท้องถิ่นไทย และเสนอแนะแนวทางส่งเสริมการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ ข้าราชการที่ปฏิบัติงานอยู่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ที่เข้ารับการอบรมกับสถาบันพัฒนาบุคลากรส่วนท้องถิ่น จำนวน 200 คน Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26544 SIU IS-T. การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ในทัศนะของข้าราชการส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา ข้าราชการส่วนท้องถิ่นที่เข้าฝึกอบรม ณ สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น = Good Governance of Local Governments in Thailand : Local Officials’ Perspectives Case Study; Local Officials Training at Local Personnel Development Institution [printed text] / ณัฐชนน เหลืองสมานกุล, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 79 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-23
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- ทัศนคติ
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- ไทยKeywords: หลักธรรมาภิบาล
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นการใช้หลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย เปรียบเทียบการใช้หลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในทัศนะของข้าราชการส่วนท้องถิ่นไทย และเสนอแนะแนวทางส่งเสริมการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ ข้าราชการที่ปฏิบัติงานอยู่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ที่เข้ารับการอบรมกับสถาบันพัฒนาบุคลากรส่วนท้องถิ่น จำนวน 200 คน Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26544 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591840 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-23 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000591816 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-23 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เพื่อการแก้ไขปัญหายาเสพติด ในกลุ่มเด็กและเยาวชน ในชุมชนแฟลตตำรวจส่วนกลางลาดยาว แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร / พนัชกร ทองแถม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เพื่อการแก้ไขปัญหายาเสพติด ในกลุ่มเด็กและเยาวชน ในชุมชนแฟลตตำรวจส่วนกลางลาดยาว แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร Original title : The Participation of the Community to Resolve the Drug Problem among Children and Youth in Lat Yao Police Housing, Lat Yao Sub-district, Chatuchak District, Bangkok Material Type: printed text Authors: พนัชกร ทองแถม, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 89 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-13
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]ยาเสพติด -- กรุงเทพมหานคร -- การควบคุมKeywords: การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน
การแก้ปัญหายาเสพติด
กลุ่มเด็กและเยาวชนAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนเพื่อการแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในชุมชนแฟลตตำรวจส่วนกลางลาดยาว แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 2) ปัญหาและอุปสรรคในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในชุมชนแฟลตตำรวจส่วนกลางลาดยาว
โดยออกแบบการวิจัยเป็นการศึกษาเชิงปริมาณ ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 273 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย โดยการใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ การมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในชุมชนแฟลตตำรวจส่วนกลางลาดยาว แขวงลาดยาว เขตจตุจักร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.78
การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการแก้ปัญหายาเสพติดในภาพรวม พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.75
การมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน กิจกรรมในการแก้ปัญหายาเสพติดในภาพรวม พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.96 ประชาชนในชุมชนแฟลตตำรวจส่วนกลางลาดยาว มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในระดับมากในภาพรวม และทุกด้านไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26538 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เพื่อการแก้ไขปัญหายาเสพติด ในกลุ่มเด็กและเยาวชน ในชุมชนแฟลตตำรวจส่วนกลางลาดยาว แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร = The Participation of the Community to Resolve the Drug Problem among Children and Youth in Lat Yao Police Housing, Lat Yao Sub-district, Chatuchak District, Bangkok [printed text] / พนัชกร ทองแถม, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 89 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-13
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]ยาเสพติด -- กรุงเทพมหานคร -- การควบคุมKeywords: การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน
การแก้ปัญหายาเสพติด
กลุ่มเด็กและเยาวชนAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนเพื่อการแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในชุมชนแฟลตตำรวจส่วนกลางลาดยาว แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 2) ปัญหาและอุปสรรคในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในชุมชนแฟลตตำรวจส่วนกลางลาดยาว
โดยออกแบบการวิจัยเป็นการศึกษาเชิงปริมาณ ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 273 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย โดยการใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ การมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในชุมชนแฟลตตำรวจส่วนกลางลาดยาว แขวงลาดยาว เขตจตุจักร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.78
การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการแก้ปัญหายาเสพติดในภาพรวม พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.75
การมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน กิจกรรมในการแก้ปัญหายาเสพติดในภาพรวม พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.96 ประชาชนในชุมชนแฟลตตำรวจส่วนกลางลาดยาว มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในระดับมากในภาพรวม และทุกด้านไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26538 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591824 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-13 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การศึกษาการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด / จันทนา ฝ่ายกระโทก / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การศึกษาการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด Original title : The Study of Management with Good Governance in the Cooperative Border Patrol Police Limited Material Type: printed text Authors: จันทนา ฝ่ายกระโทก, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 99 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-01
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]สหกรณ์ออมทรัพย์Keywords: การบริหารงาน,
หลักธรรมาภิบาล,
สหกรณ์ออมทรัพย์Abstract: การศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด ที่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการบริหารงานให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เป็นข้าราชการตำรวจตระเวนชายแดนที่เป็นสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด จำนวน 300 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพส่วนบุคคล สิ่งสนับสนุนการบริหารงานเพื่อให้การบริหารงานเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และทำการทดสอบรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ ที่ระดับ .05 โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำนวน 215 คน คิดเป็นร้อยละ 71.70 โดยมีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 29.30 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 36.30 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001 – 25,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 28.30 มีประสบการณ์ในการทำงาน 21 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 43.70 มีส่วนร่วมตัดสินใจ คิดเป็นร้อยละ 36.00 มีความเห็นว่างบประมาณมีความเหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 81.30 และมีการรับรู้ข่าวสารทางหนังสือ คิดเป็นร้อยละ 35.00 สมาชิกมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านคุณธรรม ด้านนิติธรรม ด้านความโปร่งใส ด้านความรับผิดชอบ ด้านการมีส่วนร่วม และ ด้านความคุ้มค่า ซึ่งเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลตามหลักพื้นฐานธรรมาภิบาลของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมือง และสังคมที่ดี พ.ศ.2542 Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26722 SIU IS-T. การศึกษาการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด = The Study of Management with Good Governance in the Cooperative Border Patrol Police Limited [printed text] / จันทนา ฝ่ายกระโทก, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 99 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-01
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]สหกรณ์ออมทรัพย์Keywords: การบริหารงาน,
หลักธรรมาภิบาล,
สหกรณ์ออมทรัพย์Abstract: การศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด ที่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการบริหารงานให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เป็นข้าราชการตำรวจตระเวนชายแดนที่เป็นสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด จำนวน 300 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพส่วนบุคคล สิ่งสนับสนุนการบริหารงานเพื่อให้การบริหารงานเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และทำการทดสอบรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ ที่ระดับ .05 โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำนวน 215 คน คิดเป็นร้อยละ 71.70 โดยมีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 29.30 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 36.30 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001 – 25,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 28.30 มีประสบการณ์ในการทำงาน 21 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 43.70 มีส่วนร่วมตัดสินใจ คิดเป็นร้อยละ 36.00 มีความเห็นว่างบประมาณมีความเหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 81.30 และมีการรับรู้ข่าวสารทางหนังสือ คิดเป็นร้อยละ 35.00 สมาชิกมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านคุณธรรม ด้านนิติธรรม ด้านความโปร่งใส ด้านความรับผิดชอบ ด้านการมีส่วนร่วม และ ด้านความคุ้มค่า ซึ่งเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลตามหลักพื้นฐานธรรมาภิบาลของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมือง และสังคมที่ดี พ.ศ.2542 Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26722 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593275 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-01 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593283 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-01 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ทัศนคติของประชาชนต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล กรณีศึกษา : เทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี / สุภาพร แย้มกลิ่น / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU IS-T Title : ทัศนคติของประชาชนต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล กรณีศึกษา : เทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี : People’s Attitudes toward Governance Administration : A Case of Nonthaburi Municipal, Nonthaburi Province Material Type: printed text Authors: สุภาพร แย้มกลิ่น, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: viii, 85 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2018-01
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ทัศนคติ
[LCSH]ธรรมาภิบาลKeywords: ทัศนคติ, การบริหาร, ธรรมภิบาล Abstract: วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาระดับทัศนคติและเพื่อเปรียบเทียบทัศนคติของประชาชนต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล กรณีศึกษาเทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จากผู้ใช้บริการที่เทศบาลนครนนทบุรี จำนวน 400 คน วิเคราะห์ผลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และทดสอบตัวแปรและสมมติฐานโดยใช้สถิติ
t – test, F – test ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง มีอายุอยู่ระหว่าง 41 - 50 ปี มีสถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพเป็นพนักงานบริษัท รายได้เฉลี่ยต่อเดือนสูงกว่า 15,000 บาท ผลวิจัยยังพบว่าประชาชนผู้ใช้บริการมีทัศนคติต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลเทศบาลนครนนทบุรีจังหวัดนนทบุรีอยู่ในระดับดี โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ มีหลักนิติธรรม หลักความคุ้มค่า หลักความรับผิดชอบ หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม และหลักคุณธรรม ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีผลต่อทัศนคติต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลเทศบาลนครนนทบุรีจังหวัดนนทบุรีแตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27773 SIU IS-T. ทัศนคติของประชาชนต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล กรณีศึกษา : เทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี : People’s Attitudes toward Governance Administration : A Case of Nonthaburi Municipal, Nonthaburi Province [printed text] / สุภาพร แย้มกลิ่น, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - viii, 85 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2018-01
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ทัศนคติ
[LCSH]ธรรมาภิบาลKeywords: ทัศนคติ, การบริหาร, ธรรมภิบาล Abstract: วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาระดับทัศนคติและเพื่อเปรียบเทียบทัศนคติของประชาชนต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล กรณีศึกษาเทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จากผู้ใช้บริการที่เทศบาลนครนนทบุรี จำนวน 400 คน วิเคราะห์ผลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และทดสอบตัวแปรและสมมติฐานโดยใช้สถิติ
t – test, F – test ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง มีอายุอยู่ระหว่าง 41 - 50 ปี มีสถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพเป็นพนักงานบริษัท รายได้เฉลี่ยต่อเดือนสูงกว่า 15,000 บาท ผลวิจัยยังพบว่าประชาชนผู้ใช้บริการมีทัศนคติต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลเทศบาลนครนนทบุรีจังหวัดนนทบุรีอยู่ในระดับดี โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ มีหลักนิติธรรม หลักความคุ้มค่า หลักความรับผิดชอบ หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม และหลักคุณธรรม ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีผลต่อทัศนคติต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลเทศบาลนครนนทบุรีจังหวัดนนทบุรีแตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27773 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000597821 SIU IS-T: IPAG-MPA-2018-01 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Due for return by 06/22/2024 32002000597797 SIU IS-T: IPAG-MPA-2018-01 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. บทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัดตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 / พระมหาคะนอง จันทร์คำลอย / ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : บทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัดตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 Original title : The Abbot’s Roles in Monasteries Management towards Good Governance Principles under the Sangha Region 10 Material Type: printed text Authors: พระมหาคะนอง จันทร์คำลอย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xi, 140 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-20
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]เจ้าอาวาสKeywords: เจ้าอาวาส, คณะสงฆ์ภาค 10, ธรรมาภิบาล Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัญหาการบริหารกิจการคณะสงฆ์ว่าด้วยกฎ ระเบียบ ข้อบังคับและหลักธรรมาภิบาล ต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 3) เพื่อศึกษาบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์จำนวน 24 คน โดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง ของประชาชนในสังกัดคณะสงฆ์ภาค10 จำนวน 6 จังหวัด จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า ปัญหามิติการบริหารกิจการคณะสงฆ์และหลักธรรมาภิบาล ต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10
1) การเผยแผ่ศาสนา ขาดการวางแผนเชิงรุก 2) การศาสนศึกษา ขาดแคลนงบประมาณอุดหนุน 3) การศึกษาสงเคราะห์ ขาดการมีส่วนร่วม 4) การสาธารณะสงเคราะห์ ขาดการวางแผน 5) การสาธารณูปการ การขัดแย้งกับชุมชน 6) การปกครอง ขาดโครงสร้างที่เหมาะสม และงานวิจัยเชิงปริมาณพบว่า ปัจจัยมิติการบริหารกิจการคณะสงฆ์ที่ส่งผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 ภาพรวมอยู่ในระดับมากคือ ด้านการศาสนศึกษา (x̄ = 4.52, S.D. = 0.69) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 4 ตัวได้แก่ ด้านศาสนศึกษา ด้านสาธารณสงเคราะห์ ด้านสาธารณูปการ และด้านการปกครอง สามารถร่วมกันทำนายบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.513 มีอำนาจทำนายร้อยละ 25.20 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.990 และปัจจัยธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค10 ภาพรวมอยู่ในระดับมากคือหลักความโปร่งใสและหลักการมีส่วนร่วม มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.55, S.D. = 0.57, 0.66) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 4 ตัวได้แก่ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านความคุ้มค่า และด้านหลักการตอบสนอง สามารถร่วมกันทำนายบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.691 มีอำนาจทำนายร้อยละ 47.80 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.863
ข้อเสนอแนะ ศึกษาทัศนคติของชุมชนที่มีภูมิลำเนาฐานรอบศาสนสถาน นำงานวิจัยมาปรับปรุงและยกระดับการบริหารกิจการคณะสงฆ์และนำสู่ภาคปฏิบัติร่วมกันเพื่อสร้างสันติสุขให้กับชุมชนCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28273 SIU THE-T. บทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัดตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 = The Abbot’s Roles in Monasteries Management towards Good Governance Principles under the Sangha Region 10 [printed text] / พระมหาคะนอง จันทร์คำลอย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xi, 140 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-20
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]เจ้าอาวาสKeywords: เจ้าอาวาส, คณะสงฆ์ภาค 10, ธรรมาภิบาล Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัญหาการบริหารกิจการคณะสงฆ์ว่าด้วยกฎ ระเบียบ ข้อบังคับและหลักธรรมาภิบาล ต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 3) เพื่อศึกษาบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์จำนวน 24 คน โดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง ของประชาชนในสังกัดคณะสงฆ์ภาค10 จำนวน 6 จังหวัด จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า ปัญหามิติการบริหารกิจการคณะสงฆ์และหลักธรรมาภิบาล ต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10
1) การเผยแผ่ศาสนา ขาดการวางแผนเชิงรุก 2) การศาสนศึกษา ขาดแคลนงบประมาณอุดหนุน 3) การศึกษาสงเคราะห์ ขาดการมีส่วนร่วม 4) การสาธารณะสงเคราะห์ ขาดการวางแผน 5) การสาธารณูปการ การขัดแย้งกับชุมชน 6) การปกครอง ขาดโครงสร้างที่เหมาะสม และงานวิจัยเชิงปริมาณพบว่า ปัจจัยมิติการบริหารกิจการคณะสงฆ์ที่ส่งผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 ภาพรวมอยู่ในระดับมากคือ ด้านการศาสนศึกษา (x̄ = 4.52, S.D. = 0.69) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 4 ตัวได้แก่ ด้านศาสนศึกษา ด้านสาธารณสงเคราะห์ ด้านสาธารณูปการ และด้านการปกครอง สามารถร่วมกันทำนายบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.513 มีอำนาจทำนายร้อยละ 25.20 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.990 และปัจจัยธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค10 ภาพรวมอยู่ในระดับมากคือหลักความโปร่งใสและหลักการมีส่วนร่วม มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.55, S.D. = 0.57, 0.66) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 4 ตัวได้แก่ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านความคุ้มค่า และด้านหลักการตอบสนอง สามารถร่วมกันทำนายบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.691 มีอำนาจทำนายร้อยละ 47.80 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.863
ข้อเสนอแนะ ศึกษาทัศนคติของชุมชนที่มีภูมิลำเนาฐานรอบศาสนสถาน นำงานวิจัยมาปรับปรุงและยกระดับการบริหารกิจการคณะสงฆ์และนำสู่ภาคปฏิบัติร่วมกันเพื่อสร้างสันติสุขให้กับชุมชนCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28273 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607503 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-20 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607514 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-20 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. หลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ / เทวฤทธิ์ วิญญา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2021
Collection Title: SIU THE-T Title : หลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ Original title : Good Governance Principle and Administrative Factors Affecting Performance Efficiencies of Faculty Senates in Rajabhat Universities Material Type: printed text Authors: เทวฤทธิ์ วิญญา, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2021 Pagination: x, 141 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหาร
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]มหาวิทยาลัยราชภัฏ -- ข้าราชการ -- การทำงานKeywords: ธรรมาภิบาล, ปัจจัยการบริหาร, ประสิทธิภาพ Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ถึงการนำเอาหลักธรรมาภิบาลของสภาคณาจารย์และข้าราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมาใช้ในการปฏิบัติงาน 2) เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ถึงปัจจัยการบริหารงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ 3) เพื่อศึกษาถึงระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ 4) เพื่อศึกษาระดับของหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ 5) เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Reseach) โดยมีทั้งการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Reseach) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Reseach) เพื่อนำเอาข้อมูลทั้ง 2 แบบมาสังเคราะห์ตามวัตถุประสงค์การวิจัย โดยการวิจัยเชิงปริมาณผู้วิจัยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างคือสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 20 แห่ง จำนวน 118 คน ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธี Focus group จากคณะกรรมการสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ 8 จำนวน 40 คน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้ค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic men) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และใช้สถิติ Regression ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลการบรรยายเชิงพรรณนา และมีการอภิปรายผลการวิจัย
ผลการวิจัยสรุปได้ดังต่อไปนี้
1) ระดับการรับรู้ถึงการนำเอาหลักธรรมาภิบาลของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏมาใช้ในการปฏิบัติงาน พบว่าความคิดเห็นของสมาชิกสภาคณาจารย์และข้าราชการต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสภาคณาจารย์และข้าราชการที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ อยู่ในระดับดีมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.28 (S.D = 0.70) 2) ระดับการรับรู้ถึงปัจจัยการบริหารงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่าความคิดเห็นความคิดเห็นของสมาชิกสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏเกี่ยวกับปัจจัยด้านโครงสร้างของสภาคณาจารย์และข้าราชการกับการบริหารงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย 4.20 (S.D = 0.73) 3) ระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่าความคิดเห็นของสมาชิกสภาคณาจารย์ฯ ที่มีต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.31 (S.D = 0.71) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ามากที่สุดคือ การนำเสนอเชิงนโยบายและแผนพัฒนามหาวิทยาลัยด้านต่าง ๆ ต่อมหาวิทยาลัย มีค่าเฉลี่ย 4.68 (S.D = 0.67) 4) ระดับของหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่าความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการบริหารทั้ง 5 ปัจจัยกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อยที่สุด โดยพบว่ามีเพียงหลักธรรมาภิบาล มีความสัมพันธ์ในระดับน้อยที่สุดในทิศทางบวก (Pxy = .152) ส่วนอีก 4 ปัจจัยจะมีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพในปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการในระดับน้อยที่สุดทิศทางลบ 5) ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏพบว่า ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ ปัญหาในการบริหารของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ ขาดการสนับสนุนทางด้านงบประมาณจากมหาวิทยาลัย สภาคณาจารย์ไม่ได้แสดงบทบาทต่อมหาวิทยาลัยอย่างเต็มที่ บุคลากรในสภาคณาจารย์ฯ มีภาระความรับผิดในการสอนและการบริหารสภาทำให้ไม่ปฏิบัติที่ได้มีประสิทธิภาพเท่าที่ควรCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28402 SIU THE-T. หลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ = Good Governance Principle and Administrative Factors Affecting Performance Efficiencies of Faculty Senates in Rajabhat Universities [printed text] / เทวฤทธิ์ วิญญา, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021 . - x, 141 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหาร
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]มหาวิทยาลัยราชภัฏ -- ข้าราชการ -- การทำงานKeywords: ธรรมาภิบาล, ปัจจัยการบริหาร, ประสิทธิภาพ Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ถึงการนำเอาหลักธรรมาภิบาลของสภาคณาจารย์และข้าราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมาใช้ในการปฏิบัติงาน 2) เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ถึงปัจจัยการบริหารงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ 3) เพื่อศึกษาถึงระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ 4) เพื่อศึกษาระดับของหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ 5) เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Reseach) โดยมีทั้งการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Reseach) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Reseach) เพื่อนำเอาข้อมูลทั้ง 2 แบบมาสังเคราะห์ตามวัตถุประสงค์การวิจัย โดยการวิจัยเชิงปริมาณผู้วิจัยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างคือสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 20 แห่ง จำนวน 118 คน ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธี Focus group จากคณะกรรมการสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ 8 จำนวน 40 คน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้ค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic men) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และใช้สถิติ Regression ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลการบรรยายเชิงพรรณนา และมีการอภิปรายผลการวิจัย
ผลการวิจัยสรุปได้ดังต่อไปนี้
1) ระดับการรับรู้ถึงการนำเอาหลักธรรมาภิบาลของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏมาใช้ในการปฏิบัติงาน พบว่าความคิดเห็นของสมาชิกสภาคณาจารย์และข้าราชการต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสภาคณาจารย์และข้าราชการที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ อยู่ในระดับดีมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.28 (S.D = 0.70) 2) ระดับการรับรู้ถึงปัจจัยการบริหารงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่าความคิดเห็นความคิดเห็นของสมาชิกสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏเกี่ยวกับปัจจัยด้านโครงสร้างของสภาคณาจารย์และข้าราชการกับการบริหารงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย 4.20 (S.D = 0.73) 3) ระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่าความคิดเห็นของสมาชิกสภาคณาจารย์ฯ ที่มีต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.31 (S.D = 0.71) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ามากที่สุดคือ การนำเสนอเชิงนโยบายและแผนพัฒนามหาวิทยาลัยด้านต่าง ๆ ต่อมหาวิทยาลัย มีค่าเฉลี่ย 4.68 (S.D = 0.67) 4) ระดับของหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่าความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการบริหารทั้ง 5 ปัจจัยกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อยที่สุด โดยพบว่ามีเพียงหลักธรรมาภิบาล มีความสัมพันธ์ในระดับน้อยที่สุดในทิศทางบวก (Pxy = .152) ส่วนอีก 4 ปัจจัยจะมีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพในปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการในระดับน้อยที่สุดทิศทางลบ 5) ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏพบว่า ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ ปัญหาในการบริหารของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ ขาดการสนับสนุนทางด้านงบประมาณจากมหาวิทยาลัย สภาคณาจารย์ไม่ได้แสดงบทบาทต่อมหาวิทยาลัยอย่างเต็มที่ บุคลากรในสภาคณาจารย์ฯ มีภาระความรับผิดในการสอนและการบริหารสภาทำให้ไม่ปฏิบัติที่ได้มีประสิทธิภาพเท่าที่ควรCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28402 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607856 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-01 c.1 Thesis Main Library Thesis Corner Available 32002000607854 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-01 c.2 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. แนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสมของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล / รณกร รัตนะพร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2021
Collection Title: SIU THE-T Title : แนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสมของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล Original title : Management Guideline According to Good Governance for Suitable of Police Special Branch Bureau Material Type: printed text Authors: รณกร รัตนะพร, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2021 Pagination: x, 152 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหาร
[LCSH]ตำรวจ
[LCSH]ธรรมาภิบาลKeywords: ธรรมาภิบาล, การบริหาร, ตำรวจสันติบาล Abstract: งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม 2) เพื่อศึกษาปัจจัยปัญหาและอุปสรรคต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ (1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์ผู้บริหารกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 11 คน โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม คือการบริหารงานรูปแบบใหม่ที่ที่เรียกว่า “Special Team” S = security, P = participation, E = efficiency, C = creative, I = innovation, A = activeness, L = law, T = transparent, E = ethics, A = accountability, and M = moral 2) ปัจจัยปัญหาและอุปสรรคต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม เป็นการบริหารงานตามกฎ ระเบียบที่มีความซับซ้อน ไม่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของสังคมได้อย่างทันการณ์ 3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม (1) ปัจจัยด้านการบริหารจัดการ ด้านค่านิยมร่วมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.54, S.D. = 0.62) และ (2) หลักธรรมาภิบาล 10 หลัก ด้านหลักความเสมอภาคอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.71, S.D. = 0.55) สามารถทำนายหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ข้อเสนอแนะ ควรมีการบริหารจัดการองค์ความรู้ นำมาปรับใช้ในด้านการให้บริการแก่ประชาชน และถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ แก่หน่วยงานได้เต็มศักยภาพของแต่ละคนCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28405 SIU THE-T. แนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสมของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล = Management Guideline According to Good Governance for Suitable of Police Special Branch Bureau [printed text] / รณกร รัตนะพร, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021 . - x, 152 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหาร
[LCSH]ตำรวจ
[LCSH]ธรรมาภิบาลKeywords: ธรรมาภิบาล, การบริหาร, ตำรวจสันติบาล Abstract: งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม 2) เพื่อศึกษาปัจจัยปัญหาและอุปสรรคต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ (1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์ผู้บริหารกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 11 คน โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม คือการบริหารงานรูปแบบใหม่ที่ที่เรียกว่า “Special Team” S = security, P = participation, E = efficiency, C = creative, I = innovation, A = activeness, L = law, T = transparent, E = ethics, A = accountability, and M = moral 2) ปัจจัยปัญหาและอุปสรรคต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม เป็นการบริหารงานตามกฎ ระเบียบที่มีความซับซ้อน ไม่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของสังคมได้อย่างทันการณ์ 3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม (1) ปัจจัยด้านการบริหารจัดการ ด้านค่านิยมร่วมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.54, S.D. = 0.62) และ (2) หลักธรรมาภิบาล 10 หลัก ด้านหลักความเสมอภาคอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.71, S.D. = 0.55) สามารถทำนายหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ข้อเสนอแนะ ควรมีการบริหารจัดการองค์ความรู้ นำมาปรับใช้ในด้านการให้บริการแก่ประชาชน และถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ แก่หน่วยงานได้เต็มศักยภาพของแต่ละคนCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28405 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607851 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-03 c.1 Thesis Main Library Thesis Corner Available 32002000607852 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-03 c.2 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. แนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต / วิภาวรรณ หอมหวลดี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : แนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต Original title : Guidelines for School Administration according to Good Governance Principles under Phuket Primary Educational Service Area Office, Phuket Province Material Type: printed text Authors: วิภาวรรณ หอมหวลดี, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: x, 161 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]สถานศึกษา -- ภูเก็ต -- การศึกษาขั้นประถมKeywords: หลักธรรมาภิบาล, สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษากับแนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต และ 3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต
การวิจัยเป็นการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed-Method Research) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยผู้วิจัยได้อาศัยวิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การวิจัยภาคสนามจากการสัมภาษณ์เชิงลึก จาก 3 อำเภอของจังหวัดภูเก็ต ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอถลาง อำเภอกะทู้ รวมจำนวน 30 คน ประกอบกับการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร และกลุ่มตัวอย่างข้าราชการครูในเขตพื้นที่ศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 269 คน จากจำนวนข้าราชการครู 866 คน โดยการใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson product-moment correlation coefficient) ควบคู่กับการสำรวจข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้าทางเอกสาร
ผลการวิจัยพบว่า
1) แนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ =3.99, S.D=0.90)
2) ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษากับแนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ พบว่า การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษามีความสัมพันธ์กับแนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต โดยมีค่า r=0.865 (p<0.01) ซึ่งแสดงว่ามีความสัมพันธ์กันในระดับสูงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
3) ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต พบว่า ส่วนใหญ่ประสบปัญหาด้านการปรับปรุง รวบรวมข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาอย่างเป็นปัจจุบัน ร้อยละ 25.3 รองลงมาคือ ด้านผู้บริหารสถานศึกษาไม่มีการรับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ในการตัดสินใจแก้ปัญหาสำคัญร่วมกันจากบุคคลทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ร้อยละ 17.8 ซึ่งข้อมูลและข้อค้นพบที่ได้จากการศึกษาจะนำไปใช้เป็นแนวทางสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้องทุกระดับที่รับผิดชอบในการจัดการศึกษานำหลักธรรมาภิบาลไปใช้ให้มีประสิทธิภาพสูงสุดต่อไปCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28042 SIU THE-T. แนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต = Guidelines for School Administration according to Good Governance Principles under Phuket Primary Educational Service Area Office, Phuket Province [printed text] / วิภาวรรณ หอมหวลดี, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - x, 161 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]สถานศึกษา -- ภูเก็ต -- การศึกษาขั้นประถมKeywords: หลักธรรมาภิบาล, สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษากับแนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต และ 3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต
การวิจัยเป็นการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed-Method Research) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยผู้วิจัยได้อาศัยวิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การวิจัยภาคสนามจากการสัมภาษณ์เชิงลึก จาก 3 อำเภอของจังหวัดภูเก็ต ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอถลาง อำเภอกะทู้ รวมจำนวน 30 คน ประกอบกับการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร และกลุ่มตัวอย่างข้าราชการครูในเขตพื้นที่ศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 269 คน จากจำนวนข้าราชการครู 866 คน โดยการใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson product-moment correlation coefficient) ควบคู่กับการสำรวจข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้าทางเอกสาร
ผลการวิจัยพบว่า
1) แนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ =3.99, S.D=0.90)
2) ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษากับแนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ พบว่า การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษามีความสัมพันธ์กับแนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต โดยมีค่า r=0.865 (p<0.01) ซึ่งแสดงว่ามีความสัมพันธ์กันในระดับสูงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
3) ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต พบว่า ส่วนใหญ่ประสบปัญหาด้านการปรับปรุง รวบรวมข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาอย่างเป็นปัจจุบัน ร้อยละ 25.3 รองลงมาคือ ด้านผู้บริหารสถานศึกษาไม่มีการรับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ในการตัดสินใจแก้ปัญหาสำคัญร่วมกันจากบุคคลทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ร้อยละ 17.8 ซึ่งข้อมูลและข้อค้นพบที่ได้จากการศึกษาจะนำไปใช้เป็นแนวทางสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้องทุกระดับที่รับผิดชอบในการจัดการศึกษานำหลักธรรมาภิบาลไปใช้ให้มีประสิทธิภาพสูงสุดต่อไปCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28042 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607389 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607391 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. แนวทางการเสริมสร้างหลักธรรมาภิบาลด้านคุณธรรม ในการปราบปรามจับกุมผู้กระทำผิดกฎหมาย กรณีศึกษา “ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 5 กองบังคับการปราบปราม” / ยุทธนา เสือวิเชียร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : แนวทางการเสริมสร้างหลักธรรมาภิบาลด้านคุณธรรม ในการปราบปรามจับกุมผู้กระทำผิดกฎหมาย กรณีศึกษา “ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 5 กองบังคับการปราบปราม” Original title : Approach to strengthen good governance in morality crackdown arrested offenders law. A case study "Police Division 5 Suppression Division." Material Type: printed text Authors: ยุทธนา เสือวิเชียร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 57 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-02
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองกำกับการปราบปราม -- ข้าราชการตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ธรรมาภิบาลKeywords: หลักธรรมาภิบาล Abstract: การศึกษาเรื่อง ศึกษาแนวทางการเสริมสร้างหลักธรรมาภิบาลด้านคุณธรรมในการปราบปรามจับกุมผู้กระทำผิดกฎหมาย กรณีศึกษา “ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 5 กองบังคับการปราบปราม” ได้นำแนวทางตามหลักธรรมาภิบาลมาใช้บริหารงาน สรุปผลการวิเคราะห์ในด้านต่างๆตามแนวทางการเสริมสร้างหลักธรรมาภิบาล ด้านนิติธรรมควรพิจารณาออกคำสั่งต่างๆต้องยึดหลักความเสมอภาคมีการกำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่ในการปฏิบัติงานอย่างชัดเจนยึดถือสิทธิส่วนบุคคลเป็นเรื่องสำคัญในการปฏิบัติหน้าที่มีการบังคับใช้กฏหมายกับประชาชนทุกคนอย่างเท่าเทียมกันสร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชนด้านคุณธรรมยึดหลักความเป็นธรรม ความเสมอภาคในการปฏิบัติงานและกล้ายืนหยัดในสิ่งที่ถูกต้อง ทำงานด้วยความซื่อสัตรย์สุจริต ไม่มีผลประโยชน์ด้านการเงินที่ขัดแย้งกับการปฏิบัติหน้าที่มีคุณธรรมในการบริหารจัดการมีความขยันหมั่นเพียรในการปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงผลประโยชน์สาธารณะไม่ควรมีระบบอุถัมภ์ภายในหน่วยงานด้านความโปร่งใสมีระบบการตรวจสอบภายในหน่วยงานที่เข้มแข็งมีการลงโทษอย่างจริงจัง หนักเบาตามเหตุและพฤติการณ์ของการกระทำผิดมีการเผยแพร่สื่อสาร และทำความเข้าใจในวิสัยทัศน์พันธกิจและเป้าหมายของหน่วยงานให้แก่ บุคลากรในหน่วยงานและสาธารณชนโดยทั่วไปควรมีการตรวจสอบการทำงานทุกเดือนด้านการมีส่วนร่วมควรให้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจในระดับวางแผนเปิดโอกาสให้ท่านเข้ามามีส่วนร่วมรับรู้การปฏิบัติงานมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นในการทำงานด้านความรับผิดชอบควรทำงานที่รับผิดชอบให้เสร็จก่อนกำหนดเวลาเสมอควรมีความกระตือรือร้นในการแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงาน มีความพยายามแก้ปัญหานั้นๆ ให้สำเร็จมาทำงานตรงเวลาซึ่งเมื่อนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในระบบข้าราชการตำรวจจะช่วยเสริมสร้างและส่งเสริมให้มีศักยภาพและประสิทธิภาพมากขึ้น อาทิ ข้าราชการตำรวจต่างทำงานอย่างซื่อสัตย์สุจริตและขยันหมั่นเพียร ทำให้องค์กรมีผลงาน นอกจากนี้แล้วยังทำให้ข้าราชการตำรวจที่เกี่ยวข้อง ศรัทธาและเชื่อั่นในองค์กรของตน ส่งผลให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เช่น องค์กรที่โปร่งใส ย่อมได้รับความไว้วางใจจากประชาชน ข้าราชการตำรวจที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ ย่อมสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ประชาชน ตลอดจนส่งผลดีต่อเสถียรภาพและความเจริญก้าวหน้าของประเทศ Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26723 SIU IS-T. แนวทางการเสริมสร้างหลักธรรมาภิบาลด้านคุณธรรม ในการปราบปรามจับกุมผู้กระทำผิดกฎหมาย กรณีศึกษา “ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 5 กองบังคับการปราบปราม” = Approach to strengthen good governance in morality crackdown arrested offenders law. A case study "Police Division 5 Suppression Division." [printed text] / ยุทธนา เสือวิเชียร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 57 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-02
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองกำกับการปราบปราม -- ข้าราชการตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ธรรมาภิบาลKeywords: หลักธรรมาภิบาล Abstract: การศึกษาเรื่อง ศึกษาแนวทางการเสริมสร้างหลักธรรมาภิบาลด้านคุณธรรมในการปราบปรามจับกุมผู้กระทำผิดกฎหมาย กรณีศึกษา “ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 5 กองบังคับการปราบปราม” ได้นำแนวทางตามหลักธรรมาภิบาลมาใช้บริหารงาน สรุปผลการวิเคราะห์ในด้านต่างๆตามแนวทางการเสริมสร้างหลักธรรมาภิบาล ด้านนิติธรรมควรพิจารณาออกคำสั่งต่างๆต้องยึดหลักความเสมอภาคมีการกำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่ในการปฏิบัติงานอย่างชัดเจนยึดถือสิทธิส่วนบุคคลเป็นเรื่องสำคัญในการปฏิบัติหน้าที่มีการบังคับใช้กฏหมายกับประชาชนทุกคนอย่างเท่าเทียมกันสร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชนด้านคุณธรรมยึดหลักความเป็นธรรม ความเสมอภาคในการปฏิบัติงานและกล้ายืนหยัดในสิ่งที่ถูกต้อง ทำงานด้วยความซื่อสัตรย์สุจริต ไม่มีผลประโยชน์ด้านการเงินที่ขัดแย้งกับการปฏิบัติหน้าที่มีคุณธรรมในการบริหารจัดการมีความขยันหมั่นเพียรในการปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงผลประโยชน์สาธารณะไม่ควรมีระบบอุถัมภ์ภายในหน่วยงานด้านความโปร่งใสมีระบบการตรวจสอบภายในหน่วยงานที่เข้มแข็งมีการลงโทษอย่างจริงจัง หนักเบาตามเหตุและพฤติการณ์ของการกระทำผิดมีการเผยแพร่สื่อสาร และทำความเข้าใจในวิสัยทัศน์พันธกิจและเป้าหมายของหน่วยงานให้แก่ บุคลากรในหน่วยงานและสาธารณชนโดยทั่วไปควรมีการตรวจสอบการทำงานทุกเดือนด้านการมีส่วนร่วมควรให้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจในระดับวางแผนเปิดโอกาสให้ท่านเข้ามามีส่วนร่วมรับรู้การปฏิบัติงานมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นในการทำงานด้านความรับผิดชอบควรทำงานที่รับผิดชอบให้เสร็จก่อนกำหนดเวลาเสมอควรมีความกระตือรือร้นในการแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงาน มีความพยายามแก้ปัญหานั้นๆ ให้สำเร็จมาทำงานตรงเวลาซึ่งเมื่อนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในระบบข้าราชการตำรวจจะช่วยเสริมสร้างและส่งเสริมให้มีศักยภาพและประสิทธิภาพมากขึ้น อาทิ ข้าราชการตำรวจต่างทำงานอย่างซื่อสัตย์สุจริตและขยันหมั่นเพียร ทำให้องค์กรมีผลงาน นอกจากนี้แล้วยังทำให้ข้าราชการตำรวจที่เกี่ยวข้อง ศรัทธาและเชื่อั่นในองค์กรของตน ส่งผลให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เช่น องค์กรที่โปร่งใส ย่อมได้รับความไว้วางใจจากประชาชน ข้าราชการตำรวจที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ ย่อมสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ประชาชน ตลอดจนส่งผลดีต่อเสถียรภาพและความเจริญก้าวหน้าของประเทศ Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26723 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593291 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-02 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available