From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SIU IS-T. ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล / พงษ์ศักดิ์ ทัพภูมี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Morale and Motivation in Work of Police Officers in Patrol and Special Operation Division Police Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: พงษ์ศักดิ์ ทัพภูมี, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 74 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-02
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ
[LCSH]ข้าราชการ -- การทำงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ขวัญและกำลังใจ
การปฏิบัติงาน
กองบังคับการสายตรวจปฏิบัติการพิเศษ
กองบัญชาการตำรวจนครบาลAbstract: การศึกษาเรื่องขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลและนำผลการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาเป็นแนวทางเสริมสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26119 SIU IS-T. ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล = Morale and Motivation in Work of Police Officers in Patrol and Special Operation Division Police Metropolitan Police Bureau [printed text] / พงษ์ศักดิ์ ทัพภูมี, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 74 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-02
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ
[LCSH]ข้าราชการ -- การทำงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ขวัญและกำลังใจ
การปฏิบัติงาน
กองบังคับการสายตรวจปฏิบัติการพิเศษ
กองบัญชาการตำรวจนครบาลAbstract: การศึกษาเรื่องขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลและนำผลการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาเป็นแนวทางเสริมสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26119 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590388 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-02 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000590354 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-02 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / เชาวลิต บริบูรณ์รัตน์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : Administrative Factors Affecting Performance Achievement of the Royal Thai Police Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: เชาวลิต บริบูรณ์รัตน์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: x, 236 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-17
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจนครบาล -- ข้าราชการ
[LCSH]ข้าราชการ -- การทำงาน
[LCSH]สำนักงานตำรวจแห่งชาติ -- การบริหารKeywords: ปัจจัยการบริหารงาน,
ผลสัมฤทธิ์,
ตำรวจนครบาลAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความสำคัญของปัจจัยการบริหารงาน และระดับผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการ และ 3) เพื่อนำเสนอแนวทางที่เหมาะสมในการบริหารงานเพื่อนำไปสู่การผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจนครบาล จำนวน 400 ราย และผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บังคับบัญชาระดับกองบัญชาการ จำนวน 5 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ข้อมูลเชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหา สังเคราะห์เป็นประเด็นร่วมหรือประเด็นหลัก และอธิบายเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า
1) ปัจจัยการบริหารงานของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติใน
ภาพรวมมีความสำคัญอยู่ระดับมาก โดยพบว่า ปัจจัยการบริหารงานที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด ได้แก่ ด้านวัฒนธรรมองค์การ รองลงมา ได้แก่ ด้านหลักธรรมาภิบาล ด้านลักษณะขององค์การ ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง และด้านทรัพยากรการบริหาร ตามลำดับ และผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการในภาพรวมมีระดับผลสัมฤทธิ์อยู่ระดับมาก โดยพบว่า ผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการที่มีระดับผลสัมฤทธิ์มากที่สุด ได้แก่ ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ รองลงมา ได้แก่ ด้านการพัฒนาองค์การ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ และด้านคุณภาพการให้บริการ ตามลำดับ
2) ปัจจัยการบริหารงานด้านหลักธรรมาภิบาล ด้านทรัพยากรการบริหาร และด้านวัฒนธรรมองค์การส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของกองบัญชาการตำรวจนครบาลในภาพรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ
3) แนวทางที่เหมาะสมในปัจจัยการบริหารงานภารกิจ ได้แก่ การเพิ่มกำลังพลให้เหมาะสม เพียงพอแก่การปฏิบัติหน้าที่ การให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม การจัดหาเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ อย่างเพียงพอ รวมถึงการจัดกิจกรรมร่วมกับชุมชนเพื่อสร้างความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับตำรวจและประชาชนยิ่งขึ้น จะทำให้ประชาชนให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ส่งผลให้การทำงานให้บรรลุผลง่ายขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28049 SIU THE-T. ปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = Administrative Factors Affecting Performance Achievement of the Royal Thai Police Metropolitan Police Bureau [printed text] / เชาวลิต บริบูรณ์รัตน์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - x, 236 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-17
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจนครบาล -- ข้าราชการ
[LCSH]ข้าราชการ -- การทำงาน
[LCSH]สำนักงานตำรวจแห่งชาติ -- การบริหารKeywords: ปัจจัยการบริหารงาน,
ผลสัมฤทธิ์,
ตำรวจนครบาลAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความสำคัญของปัจจัยการบริหารงาน และระดับผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการ และ 3) เพื่อนำเสนอแนวทางที่เหมาะสมในการบริหารงานเพื่อนำไปสู่การผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจนครบาล จำนวน 400 ราย และผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บังคับบัญชาระดับกองบัญชาการ จำนวน 5 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ข้อมูลเชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหา สังเคราะห์เป็นประเด็นร่วมหรือประเด็นหลัก และอธิบายเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า
1) ปัจจัยการบริหารงานของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติใน
ภาพรวมมีความสำคัญอยู่ระดับมาก โดยพบว่า ปัจจัยการบริหารงานที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด ได้แก่ ด้านวัฒนธรรมองค์การ รองลงมา ได้แก่ ด้านหลักธรรมาภิบาล ด้านลักษณะขององค์การ ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง และด้านทรัพยากรการบริหาร ตามลำดับ และผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการในภาพรวมมีระดับผลสัมฤทธิ์อยู่ระดับมาก โดยพบว่า ผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการที่มีระดับผลสัมฤทธิ์มากที่สุด ได้แก่ ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ รองลงมา ได้แก่ ด้านการพัฒนาองค์การ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ และด้านคุณภาพการให้บริการ ตามลำดับ
2) ปัจจัยการบริหารงานด้านหลักธรรมาภิบาล ด้านทรัพยากรการบริหาร และด้านวัฒนธรรมองค์การส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของกองบัญชาการตำรวจนครบาลในภาพรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ
3) แนวทางที่เหมาะสมในปัจจัยการบริหารงานภารกิจ ได้แก่ การเพิ่มกำลังพลให้เหมาะสม เพียงพอแก่การปฏิบัติหน้าที่ การให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม การจัดหาเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ อย่างเพียงพอ รวมถึงการจัดกิจกรรมร่วมกับชุมชนเพื่อสร้างความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับตำรวจและประชาชนยิ่งขึ้น จะทำให้ประชาชนให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ส่งผลให้การทำงานให้บรรลุผลง่ายขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28049 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607376 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-17 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607378 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-17 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. รูปแบบความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ: กรณีศึกษาสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / นันทวรรณ จันทาเทพ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : รูปแบบความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ: กรณีศึกษาสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : Organizational Commitment of Thai Police Officers: Case Studies of the office of the Police Commission Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: นันทวรรณ จันทาเทพ, Author ; อาภากร พลเทียร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 114 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-02
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การทำงาน
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ความผูกพัน
องค์กรAbstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษารูปแบบความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือข้าราชการตำรวจสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จำนวน 143 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม (มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์คุณลักษณะของประชากร ใช้สถิติวิเคราะห์ t-test เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัวแปร และใช้สถิติวิเคราะห์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) เพื่อทดสอบความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัวแปร
ผลการศึกษาพบว่า
1) คุณลักษณะของประชากรพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31 – 40 ปี สถานภาพโสด การศึกษาระดับปริญญาตรี ตำแหน่งส่วนใหญ่เป็น รองสารวัตร – สารวัตร อัตราเงินเดือน อยู่ระหว่าง 15,001 – 25,000 บาท ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 6 - 15 ปี และสายงานด้านงานอำนวยการ
2) ความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพโดยรวมของปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ อยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยของของปัจจัยแรงจูงใจด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งงานอยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาคือด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติและด้านการได้รับการยอมรับตามลำดับ และปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ อยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยของของปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรด้านจิตใจอยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาคือด้านการคงอยู่กับองค์กรและด้านบรรทัดฐานตามลำดับ
3) การทดสอบความสัมพันธ์ของปัจจัยคุณลักษณะประชากรต่อปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ พบว่าปัจจัยคุณลักษณะประชากร ด้านเพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา ตำแหน่ง อัตราเงินเดือน และสายงาน ที่แตกต่างกันแต่มีความผูกพันต่อองค์กรที่ไม่แตกต่างกัน และปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์เท่ากับ 0.762Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26486 SIU IS-T. รูปแบบความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ: กรณีศึกษาสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = Organizational Commitment of Thai Police Officers: Case Studies of the office of the Police Commission Royal Thai Police [printed text] / นันทวรรณ จันทาเทพ, Author ; อาภากร พลเทียร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 114 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-02
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การทำงาน
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ความผูกพัน
องค์กรAbstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษารูปแบบความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือข้าราชการตำรวจสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จำนวน 143 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม (มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์คุณลักษณะของประชากร ใช้สถิติวิเคราะห์ t-test เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัวแปร และใช้สถิติวิเคราะห์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) เพื่อทดสอบความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัวแปร
ผลการศึกษาพบว่า
1) คุณลักษณะของประชากรพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31 – 40 ปี สถานภาพโสด การศึกษาระดับปริญญาตรี ตำแหน่งส่วนใหญ่เป็น รองสารวัตร – สารวัตร อัตราเงินเดือน อยู่ระหว่าง 15,001 – 25,000 บาท ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 6 - 15 ปี และสายงานด้านงานอำนวยการ
2) ความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพโดยรวมของปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ อยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยของของปัจจัยแรงจูงใจด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งงานอยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาคือด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติและด้านการได้รับการยอมรับตามลำดับ และปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ อยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยของของปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรด้านจิตใจอยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาคือด้านการคงอยู่กับองค์กรและด้านบรรทัดฐานตามลำดับ
3) การทดสอบความสัมพันธ์ของปัจจัยคุณลักษณะประชากรต่อปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ พบว่าปัจจัยคุณลักษณะประชากร ด้านเพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา ตำแหน่ง อัตราเงินเดือน และสายงาน ที่แตกต่างกันแต่มีความผูกพันต่อองค์กรที่ไม่แตกต่างกัน และปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์เท่ากับ 0.762Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26486 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591535 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-02 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available