From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน / ธงชัย มานะพัฒนเสถียร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน Original title : Factors Affecting Work Motivation Among the Non-Commissioned Police. The Royal Protection Police Sub-Division 2, Protection and Crowd Control Division Material Type: printed text Authors: ธงชัย มานะพัฒนเสถียร, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: x, 99 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-03
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่Keywords: แรงจูงใจ,
การปฏิบัติงาน,
กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชนAbstract: การศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับและปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุ 20 – 30 ปี มีอายุราชการ 1 – 10 ปี มีระดับการศึกษาระดับปริญญาตรี มีระดับชั้นยศสิบตำรวจตรี และปฏิบัติงานอยู่ในสายงานอารักขาที่ 4 ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายปัจจัย พบว่า ในปัจจัยจูงใจ โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านแล้วเรียงอันดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านความสำเร็จของงาน ด้านเนื้องาน ด้านความรับผิดชอบต่องาน ด้านความรู้สึกยอมรับ และด้านความก้าวหน้า ส่วนปัจจัยค้ำจุน โดยภาพรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณารายด้านแล้วเรียงอันดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านนโยบายและการบริหารขององค์การ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างผู้ร่วมงาน ด้านการบังคับบัญชา ด้านเงินเดือนและความมั่นคงในงาน และด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า สถานภาพส่วนบุคคลด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุราชการ ชั้นยศ และสายงานที่ปฏิบัติ แตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชนไม่แตกต่างกัน
ข้อเสนอแนะ: ประการแรก ผู้บังคับบัญชาของหน่วยงานควรปรับปรุงหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา ควรมีการจัดฝึกอบรม ศึกษาดูงานให้กับบุคลากรเพื่อเพิ่มพูนความรู้ ควรส่งเสริมให้กำลังพลได้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ ควรจัดให้มีเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครื่องใช้สำนักงานอย่างเพียงพอและมีความทันสมัย ควรจัดสวัสดิการเงินกู้ช่วยเหลือทางการเงินด้านต่าง ๆ รวมทั้งควรจัดให้มีสวัสดิการอาหารกลางวันและจำหน่ายสินค้าราคาถูกให้กับกำลังพล ในด้านนโยบายและการบริหารขององค์การ ผู้บังคับบัญชาควรส่งเสริมให้กำลังพลมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนงานการปฏิบัติงาน และใช้ภาวะผู้นำในการบริหารองค์การเพื่อทำให้กำลังพลเกิดความกระตือรือร้นในการทำงานอยู่เสมอ และประการที่สอง ในการศึกษางานวิจัยครั้งต่อไป ควรพิจารณาหาวิธีการวิจัยในลักษณะอื่นนอกเหนือจากการวิจัยแบบสำรวจเพื่อให้ได้ข้อมูลที่หลากหลาย
Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26684 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน = Factors Affecting Work Motivation Among the Non-Commissioned Police. The Royal Protection Police Sub-Division 2, Protection and Crowd Control Division [printed text] / ธงชัย มานะพัฒนเสถียร, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - x, 99 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-03
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่Keywords: แรงจูงใจ,
การปฏิบัติงาน,
กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชนAbstract: การศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับและปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุ 20 – 30 ปี มีอายุราชการ 1 – 10 ปี มีระดับการศึกษาระดับปริญญาตรี มีระดับชั้นยศสิบตำรวจตรี และปฏิบัติงานอยู่ในสายงานอารักขาที่ 4 ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายปัจจัย พบว่า ในปัจจัยจูงใจ โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านแล้วเรียงอันดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านความสำเร็จของงาน ด้านเนื้องาน ด้านความรับผิดชอบต่องาน ด้านความรู้สึกยอมรับ และด้านความก้าวหน้า ส่วนปัจจัยค้ำจุน โดยภาพรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณารายด้านแล้วเรียงอันดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านนโยบายและการบริหารขององค์การ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างผู้ร่วมงาน ด้านการบังคับบัญชา ด้านเงินเดือนและความมั่นคงในงาน และด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า สถานภาพส่วนบุคคลด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุราชการ ชั้นยศ และสายงานที่ปฏิบัติ แตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชนไม่แตกต่างกัน
ข้อเสนอแนะ: ประการแรก ผู้บังคับบัญชาของหน่วยงานควรปรับปรุงหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา ควรมีการจัดฝึกอบรม ศึกษาดูงานให้กับบุคลากรเพื่อเพิ่มพูนความรู้ ควรส่งเสริมให้กำลังพลได้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ ควรจัดให้มีเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครื่องใช้สำนักงานอย่างเพียงพอและมีความทันสมัย ควรจัดสวัสดิการเงินกู้ช่วยเหลือทางการเงินด้านต่าง ๆ รวมทั้งควรจัดให้มีสวัสดิการอาหารกลางวันและจำหน่ายสินค้าราคาถูกให้กับกำลังพล ในด้านนโยบายและการบริหารขององค์การ ผู้บังคับบัญชาควรส่งเสริมให้กำลังพลมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนงานการปฏิบัติงาน และใช้ภาวะผู้นำในการบริหารองค์การเพื่อทำให้กำลังพลเกิดความกระตือรือร้นในการทำงานอยู่เสมอ และประการที่สอง ในการศึกษางานวิจัยครั้งต่อไป ควรพิจารณาหาวิธีการวิจัยในลักษณะอื่นนอกเหนือจากการวิจัยแบบสำรวจเพื่อให้ได้ข้อมูลที่หลากหลาย
Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26684 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593259 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-03 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593192 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-03 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available