From this page you can:
Home |
วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก / สมาคมพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอกแห่งประเทศไทย . Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015Published date : 10/14/2015 |
Available articles
Add the result to your basketผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและ / พรพรรณ เทอดสุทธิรณภูมิ in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : ผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและ : คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวโรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ Material Type: printed text Authors: พรพรรณ เทอดสุทธิรณภูมิ, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.2-14 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.2-14Keywords: ภาวะหัวใจล้มเหลว.พฤติกรรมการดูและตนเอง.คุณภาพชีวิต.ระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว ที่เข้ารับบริการที่หน่วยงานผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ เลือกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงโดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่ กำหนดจำนวน 60 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 30 ราย และกลุ่มควบคุมจำนวน 30 ราย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีระบบการพยาบาลของโอเร็ม โดยใช้ระบบสนับสนุนและให้ความรู้ กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติเก็บข้อมูลก่อนและหลังการทดลอง และในกลุ่มควบคุมโดยใช้แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเอง และแบบสอบถามคุณภาพชีวิตโรคหัวใจล้มเหลว วิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยใชเสถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวภายหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองมีคุณภาพชีวิตดีกว่า และมีพฤติกรรมการดูแลตนเองดีกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) ผลการวิจัยนี้ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนารูปแบบของการพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว รวมทั้งผู้ป่วยโรคเรื้อรังอื่น ๆ ให้สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองและเพิ่มคุณภาพชีวิต Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24995 [article] ผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและ : คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวโรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ [printed text] / พรพรรณ เทอดสุทธิรณภูมิ, Author . - 2015 . - pp.2-14.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.2-14Keywords: ภาวะหัวใจล้มเหลว.พฤติกรรมการดูและตนเอง.คุณภาพชีวิต.ระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว ที่เข้ารับบริการที่หน่วยงานผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ เลือกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงโดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่ กำหนดจำนวน 60 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 30 ราย และกลุ่มควบคุมจำนวน 30 ราย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีระบบการพยาบาลของโอเร็ม โดยใช้ระบบสนับสนุนและให้ความรู้ กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติเก็บข้อมูลก่อนและหลังการทดลอง และในกลุ่มควบคุมโดยใช้แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเอง และแบบสอบถามคุณภาพชีวิตโรคหัวใจล้มเหลว วิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยใชเสถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวภายหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองมีคุณภาพชีวิตดีกว่า และมีพฤติกรรมการดูแลตนเองดีกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) ผลการวิจัยนี้ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนารูปแบบของการพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว รวมทั้งผู้ป่วยโรคเรื้อรังอื่น ๆ ให้สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองและเพิ่มคุณภาพชีวิต Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24995 การศึกษาผลการใช้ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้าต่อการใช้ยาป้องกันทุติยภูมิในผู้ป่วยหลังเกิดโรคกล้ามเนิื้อหัวใจขาดเลือด / สุภาวลี วิริยะสม in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : การศึกษาผลการใช้ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้าต่อการใช้ยาป้องกันทุติยภูมิในผู้ป่วยหลังเกิดโรคกล้ามเนิื้อหัวใจขาดเลือด : เฉียบพลันชนิดที่มีคลื่นไฟฟ้าหัวใจส่วนเอสทีสูงขึ้น Original title : Effect of pre-printed order on to use of secondary prevention drug therapy in patients with post ST-elevation actue myocardial infraction Material Type: printed text Authors: สุภาวลี วิริยะสม, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.15-28 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.15-28Keywords: ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้า.การป้องกันการกลับเป็นซ้ำ.กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่มีคลื่นไฟฟ้าหัวใจส่วนเอสทีสูงขึ้น Abstract: การศ฿กษานี้เป็นการเปรียบเทียบผลการใช้ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้าในผู้ป่วย หลังเกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลืิอดเฉียบพลันชนิดที่มีคลื่นไฟฟ้าหัวใจส่วน เอทีสูงขึ้น (post-STMEI) เพื่อศึกษาอัตราการสั่งใช้ยาป้องกันทุติยภูมิ 4 กลุ่ม ได้แก่ Antiplatelets (Aspirin และ/หรือ Clopidiogrel) Beta Blockers (ARBs)และ Statins และใช้ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้าให้สอดคล้องกับเกณฑ์ข้อบ่งชี้ของการใช้ยาป้องกันุทุติยภูมิตามแนวทางของวิทยาลัยแพทย์โรคหัวใจและสมาคมหัวใจสหรัฐอเมริกา (ACC/AHA) และวัดผลลัพธ์อัตราการกลับเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลภายใน 30 วัน ผลการศึกษา พบว่า อัตราการสั่งใช้ยาป้องกันทุติยภูมิ 4 กลุ่ม ทั้งทีึ่จุดสั่งยาผู้ป่วยกลับบ้าน และที่จุดติดตามผู้ป่วยที่กลับมาพบแพทย์ตามนัดหมายภายใน 21 วัน ในผู้ป่วยที่ใช้ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้าสูงขึ้นกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับใบสั่งยาล่วงหน้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) แต่อัตราการสั่งใช้ Antiplatelets, Beta blockers และ Statins ที่จุดสั่งยากผู้ป่วยกลับบ้าน และที่จุดติดตามผู้ป่วยภายใน 21 วัน ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) ส่วนอัตราการสั่งใช้ ACEls/ARBs เพิ่มขึ้นที่จุดสั่งยาผู้ป่วยกลับบ้าน และเพิ่มขึ้นที่จุดติดตามผู้ป่วยภายใน 21 วัน ซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนอัตราการกลับเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลภายใน 30 วัน ซึ่งเป็นตัวชี้วัดในการดูแลผู้ป่วย post-STEMI ในกลุ่มผู้ป่วยที่ใช้และไม่ใช้ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้ามีจำนวน 2 ราย และ 2 ราย ตามลำดับ ซึ่งไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P=0.44) ส่วนสาเหตุของการกลับเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลคือ ผู้ป่วยมีภาวะ Unstable angina และ heart failure ถึงแม้ผู้ป่วยจะได้รับยาป้องกันทุติยภูทิครบ 4 กลุ่ม แต่มีสาเหตุอื่นที่เกี่ยวข้องทำให้ผู้ป่วยจำเป็นต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลภายใน 30 วัน เช่น ตำแหน่งการเกิดกล้ามเนื้่อหัวใจขาดเลือดเป็นบริเวณกว้างในส่วน anterior wall หรือผู้ป่วยเคยมีภาวะ cardiogenic shock หรือภาวะหัวใจล้มเหลว การศึกษานี้ สามารถผลการวิจัยไปใช้ในการเพิ่มบทบาทของเภสัชกรในการส่งต่อเหตุการไม่สั่งใช้ยา Beta blockers และ ACEIs/ARBs เพื่อให้ผู้ป่วยโรคหัวใจได้รับการรักษาและดูแลอย่างต่อเนื่อง
Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24996 [article] การศึกษาผลการใช้ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้าต่อการใช้ยาป้องกันทุติยภูมิในผู้ป่วยหลังเกิดโรคกล้ามเนิื้อหัวใจขาดเลือด = Effect of pre-printed order on to use of secondary prevention drug therapy in patients with post ST-elevation actue myocardial infraction : เฉียบพลันชนิดที่มีคลื่นไฟฟ้าหัวใจส่วนเอสทีสูงขึ้น [printed text] / สุภาวลี วิริยะสม, Author . - 2015 . - pp.15-28.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.15-28Keywords: ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้า.การป้องกันการกลับเป็นซ้ำ.กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่มีคลื่นไฟฟ้าหัวใจส่วนเอสทีสูงขึ้น Abstract: การศ฿กษานี้เป็นการเปรียบเทียบผลการใช้ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้าในผู้ป่วย หลังเกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลืิอดเฉียบพลันชนิดที่มีคลื่นไฟฟ้าหัวใจส่วน เอทีสูงขึ้น (post-STMEI) เพื่อศึกษาอัตราการสั่งใช้ยาป้องกันทุติยภูมิ 4 กลุ่ม ได้แก่ Antiplatelets (Aspirin และ/หรือ Clopidiogrel) Beta Blockers (ARBs)และ Statins และใช้ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้าให้สอดคล้องกับเกณฑ์ข้อบ่งชี้ของการใช้ยาป้องกันุทุติยภูมิตามแนวทางของวิทยาลัยแพทย์โรคหัวใจและสมาคมหัวใจสหรัฐอเมริกา (ACC/AHA) และวัดผลลัพธ์อัตราการกลับเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลภายใน 30 วัน ผลการศึกษา พบว่า อัตราการสั่งใช้ยาป้องกันทุติยภูมิ 4 กลุ่ม ทั้งทีึ่จุดสั่งยาผู้ป่วยกลับบ้าน และที่จุดติดตามผู้ป่วยที่กลับมาพบแพทย์ตามนัดหมายภายใน 21 วัน ในผู้ป่วยที่ใช้ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้าสูงขึ้นกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับใบสั่งยาล่วงหน้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) แต่อัตราการสั่งใช้ Antiplatelets, Beta blockers และ Statins ที่จุดสั่งยากผู้ป่วยกลับบ้าน และที่จุดติดตามผู้ป่วยภายใน 21 วัน ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) ส่วนอัตราการสั่งใช้ ACEls/ARBs เพิ่มขึ้นที่จุดสั่งยาผู้ป่วยกลับบ้าน และเพิ่มขึ้นที่จุดติดตามผู้ป่วยภายใน 21 วัน ซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนอัตราการกลับเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลภายใน 30 วัน ซึ่งเป็นตัวชี้วัดในการดูแลผู้ป่วย post-STEMI ในกลุ่มผู้ป่วยที่ใช้และไม่ใช้ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้ามีจำนวน 2 ราย และ 2 ราย ตามลำดับ ซึ่งไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P=0.44) ส่วนสาเหตุของการกลับเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลคือ ผู้ป่วยมีภาวะ Unstable angina และ heart failure ถึงแม้ผู้ป่วยจะได้รับยาป้องกันทุติยภูทิครบ 4 กลุ่ม แต่มีสาเหตุอื่นที่เกี่ยวข้องทำให้ผู้ป่วยจำเป็นต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลภายใน 30 วัน เช่น ตำแหน่งการเกิดกล้ามเนื้่อหัวใจขาดเลือดเป็นบริเวณกว้างในส่วน anterior wall หรือผู้ป่วยเคยมีภาวะ cardiogenic shock หรือภาวะหัวใจล้มเหลว การศึกษานี้ สามารถผลการวิจัยไปใช้ในการเพิ่มบทบาทของเภสัชกรในการส่งต่อเหตุการไม่สั่งใช้ยา Beta blockers และ ACEIs/ARBs เพื่อให้ผู้ป่วยโรคหัวใจได้รับการรักษาและดูแลอย่างต่อเนื่อง
Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24996 ภาวะสุขภาพและการเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชน in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : ภาวะสุขภาพและการเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชน : กลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด กรณีศึกษา: ตำบลคูบางหลวง จังหวัดปทุมธานี Material Type: printed text Publication Date: 2015 Article on page: pp.29-43 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.29-43Keywords: ภาวะสุขภาพ.การเข้าถึงบริการสุขภาพ.กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลิอดหัวใจ. Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพิื่อประเมินภาวะสุขภาพและประสบการณ์การเข้าถึงบริการสุขภาพโรคหัวใจและหลอดเลือด คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ multi-stage random sampling ในกลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) จำนวน 214 ราย ที่ตำบลคูบางหลวง จังหวัดปทุมธานี เก็บข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้แบบประเมินความเสี่ยงหลอดเลือดหัวใจและแบบสัมภาษณ์คำถามปลายเปิด เกี่ยวกับการใช้บริการสุขภาพโรคหัวใจและหลอดเลือด วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติบรรยาย วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis)ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 71.03 ประกอบร้อยละ 40 เป็นผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างทั้งหญิง และชายมีภาวะสุขภาพคล้ายคลึงกัน เช่น เคยมีอาการเจ็บหน้าอก และบุคคลในครอบครัว (สายตรง) เป็นโรคหัวใจ ส่วนใหญ่มีดัชนีมวลกายอยู่ในระดับน้ำหนักเกินและอ้วน และผลการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจของกลุ่มเพศหญิงผิดปกติมากกว่ากลุ่มเพศชาย กลุ่มตัวอย่างทั้งหญิงและชาย ร้อยละ 30.4 มีคะแนนความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดใน 10 ปีข้างหน้าในระดับรุนแรง กลุ่มตัวอย่างที่เป็นโรคเรื้อรังเพียงร้อยละ 53.7 ที่เคยมีอาการเจ็บหน้าอกเคยไปใช้บริการสุขภาพที่โรงพยาบาลทั่วไปในการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ กลุ่มตัวอย่างส่วนน้อยร้อยละ 28.01 เคยไปช้บริการตรวจคัดกรองโรคหัวจหลอดเลิือดที่โรงพยาบาลส่เสริมสุขภาพตำบล ส่วนปัจจัยที่เป็นอุปสรรคในการไปใช้บริการด้านการรักษาโรคหัวใจและหลอดลเลือด ได้แก่ ขาดอุปกรณ์ที่ทันสมัย ให้บริการล่าช้า ไม่ได้รับข้อมูลว่ามีบริการตรวจคัดกรองโรคหัวใจและหลอดเลือด และผู้สูงอายุมีข้อจำกัดความสามารถในการเดินทางไปใช้บริการ จากการศึกษานี้ให้เห็นหลักฐานเชิงประจักษ์ว่า ประชาชนผู้สูงอายุในชุมชนมีความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจในระดับรุนแรง จึงเป็นโอกาสที่บุคลากรทางด้านสุขภาพสามารถจัดโปรแกรมเพื่อพัฒนาศักยภาพประชาชนในชุมชนให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รวมทั้งควรประเมิน และค้นหาความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจในโรค NCD เพื่อป้องกันการเกิดโรคหัวใจอย่างสม่ำเสมอ.
Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24997 [article] ภาวะสุขภาพและการเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชน : กลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด กรณีศึกษา: ตำบลคูบางหลวง จังหวัดปทุมธานี [printed text] . - 2015 . - pp.29-43.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.29-43Keywords: ภาวะสุขภาพ.การเข้าถึงบริการสุขภาพ.กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลิอดหัวใจ. Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพิื่อประเมินภาวะสุขภาพและประสบการณ์การเข้าถึงบริการสุขภาพโรคหัวใจและหลอดเลือด คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ multi-stage random sampling ในกลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) จำนวน 214 ราย ที่ตำบลคูบางหลวง จังหวัดปทุมธานี เก็บข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้แบบประเมินความเสี่ยงหลอดเลือดหัวใจและแบบสัมภาษณ์คำถามปลายเปิด เกี่ยวกับการใช้บริการสุขภาพโรคหัวใจและหลอดเลือด วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติบรรยาย วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis)ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 71.03 ประกอบร้อยละ 40 เป็นผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างทั้งหญิง และชายมีภาวะสุขภาพคล้ายคลึงกัน เช่น เคยมีอาการเจ็บหน้าอก และบุคคลในครอบครัว (สายตรง) เป็นโรคหัวใจ ส่วนใหญ่มีดัชนีมวลกายอยู่ในระดับน้ำหนักเกินและอ้วน และผลการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจของกลุ่มเพศหญิงผิดปกติมากกว่ากลุ่มเพศชาย กลุ่มตัวอย่างทั้งหญิงและชาย ร้อยละ 30.4 มีคะแนนความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดใน 10 ปีข้างหน้าในระดับรุนแรง กลุ่มตัวอย่างที่เป็นโรคเรื้อรังเพียงร้อยละ 53.7 ที่เคยมีอาการเจ็บหน้าอกเคยไปใช้บริการสุขภาพที่โรงพยาบาลทั่วไปในการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ กลุ่มตัวอย่างส่วนน้อยร้อยละ 28.01 เคยไปช้บริการตรวจคัดกรองโรคหัวจหลอดเลิือดที่โรงพยาบาลส่เสริมสุขภาพตำบล ส่วนปัจจัยที่เป็นอุปสรรคในการไปใช้บริการด้านการรักษาโรคหัวใจและหลอดลเลือด ได้แก่ ขาดอุปกรณ์ที่ทันสมัย ให้บริการล่าช้า ไม่ได้รับข้อมูลว่ามีบริการตรวจคัดกรองโรคหัวใจและหลอดเลือด และผู้สูงอายุมีข้อจำกัดความสามารถในการเดินทางไปใช้บริการ จากการศึกษานี้ให้เห็นหลักฐานเชิงประจักษ์ว่า ประชาชนผู้สูงอายุในชุมชนมีความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจในระดับรุนแรง จึงเป็นโอกาสที่บุคลากรทางด้านสุขภาพสามารถจัดโปรแกรมเพื่อพัฒนาศักยภาพประชาชนในชุมชนให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รวมทั้งควรประเมิน และค้นหาความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจในโรค NCD เพื่อป้องกันการเกิดโรคหัวใจอย่างสม่ำเสมอ.
Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24997 ผลของโปรแกรมการสอนแนะต่อความสามารถของผู้ดูแลในการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บ / อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการสอนแนะต่อความสามารถของผู้ดูแลในการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บ : ไขสันหลังที่ได้รับการคาสายสวน ปัสสาวะ Original title : The effect of coaching program on caregivers' agency in urinary catherized care for spinal cord injured patients Material Type: printed text Authors: อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย, Author ; รุ้งระวี นาวีเจริญ, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.44-56 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.44-56Keywords: โปรแกรมการสอนเแนะ.บาดเจ็ยไขสันหลัง.ความสามารถของผู้ัดูแล.การคาสายสวนปัสสาวะ. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถของผู้ดูแลในการดูแลผู้ป่วย บาดเจ็บไขสันหลังที่ได้รับการคาสายสวนปัสสาวะระหว่างก่อนและหลังการสอนแนะในกลุ่มทดลองระหว่างกลุ่มที่ได้รับการสอนแนะกับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังที่คาสายสวนปัสสาวะ ที่เข้ารับบริการแผนกผู้ป่วยในโรงพยาบาลเพชรบูรณ์ และอุตรดิตถ์ แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 24 คน กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมสอนแนะที่ผู้วิจัยสร้่างขึ้ร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมการสอนแนะการดูแลระบบทางเดินปัสสาวะ คู่มือในการดูแลระบบทางเดินปัสสาวะแบบประเมินความรู้ แบบประเมินทักษะ แบบประเมินความพึงพอใจ และแบบประเมินความสามารถของผู้ดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังที่ได้รับการคาสายปัสสาวะ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า ความสามารถของผู้ดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังท่ี่ได้รับการคาสายสวนปัสสาวะกลุ่มที่ได้รับการสอนแนะสูงกว่าที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) พยาบาลควรนำวิธีการสอนแนะการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังที่ได้รับการคาสายสวนปัสสาวะไปสร้างโปรแกรมการสอนดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังเรื่องอื่น ๆ เช่น การดูแลกิจวัตรประจำวัร การป้องกันกล้าเนื้อลีบ หรือข้อติดแข็ง และการป้องกันการเกิดแผลกดทับเพื่อคุณภาพชีวิตผู้ดูแล Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24998 [article] ผลของโปรแกรมการสอนแนะต่อความสามารถของผู้ดูแลในการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บ = The effect of coaching program on caregivers' agency in urinary catherized care for spinal cord injured patients : ไขสันหลังที่ได้รับการคาสายสวน ปัสสาวะ [printed text] / อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย, Author ; รุ้งระวี นาวีเจริญ, Author . - 2015 . - pp.44-56.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.44-56Keywords: โปรแกรมการสอนเแนะ.บาดเจ็ยไขสันหลัง.ความสามารถของผู้ัดูแล.การคาสายสวนปัสสาวะ. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถของผู้ดูแลในการดูแลผู้ป่วย บาดเจ็บไขสันหลังที่ได้รับการคาสายสวนปัสสาวะระหว่างก่อนและหลังการสอนแนะในกลุ่มทดลองระหว่างกลุ่มที่ได้รับการสอนแนะกับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังที่คาสายสวนปัสสาวะ ที่เข้ารับบริการแผนกผู้ป่วยในโรงพยาบาลเพชรบูรณ์ และอุตรดิตถ์ แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 24 คน กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมสอนแนะที่ผู้วิจัยสร้่างขึ้ร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมการสอนแนะการดูแลระบบทางเดินปัสสาวะ คู่มือในการดูแลระบบทางเดินปัสสาวะแบบประเมินความรู้ แบบประเมินทักษะ แบบประเมินความพึงพอใจ และแบบประเมินความสามารถของผู้ดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังที่ได้รับการคาสายปัสสาวะ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า ความสามารถของผู้ดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังท่ี่ได้รับการคาสายสวนปัสสาวะกลุ่มที่ได้รับการสอนแนะสูงกว่าที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) พยาบาลควรนำวิธีการสอนแนะการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังที่ได้รับการคาสายสวนปัสสาวะไปสร้างโปรแกรมการสอนดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังเรื่องอื่น ๆ เช่น การดูแลกิจวัตรประจำวัร การป้องกันกล้าเนื้อลีบ หรือข้อติดแข็ง และการป้องกันการเกิดแผลกดทับเพื่อคุณภาพชีวิตผู้ดูแล Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24998 ผลของโปรแกรมการเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดนเร็วต่อระยะเวลาการใช้ / กัญญ์ญาภัค ผาสุข in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดนเร็วต่อระยะเวลาการใช้ : เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยอายุรกรรม Material Type: printed text Authors: กัญญ์ญาภัค ผาสุข, Author ; นรลักษณ์ เอื้อกิจ, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.57-72 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.57-72Keywords: ระยะเวลาในการใช้เครื่องช่วยหายใจ.การเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็ว.ผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ. Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดหลังการทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วต่อระยะเวลาในการใช้เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรมที่ได้รับการใช้เครื่องช่วยหายใจ และเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรมโรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่ง แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 22 คน โดยจับคู่ตามระดับ APACHE score การวินิจฉัยโรคเบื้องต้น และระดับความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน กลุ่มควบคุมได้รับการรักษาพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วที่ผู้วิจัยประยุกต์จากโปรแกรมการเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วในผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ โดยประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือการประเมินความพร้อม และการเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วตามกิจกรรม 3 ระดับ ได้แก่ ระดับที่ 1 การเคลิื่อนไหวบนเตียง ระดับที่ 2 การเคลื่อนไหวข้างเตียง ระดับที่ 3 การก้าวเดิน สถิติทีี่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบไคสแควร์ และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยกลุ่มทดลองมีระยะเวลาในการใช้เครื่องช่วยหายใจน้อยกว่าผู้ป่วย กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วช่วยลดระยะเวลาในการใช้เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรมที่ได้รับการใช้เครื่องช่วยหายใจได้ Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24999 [article] ผลของโปรแกรมการเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดนเร็วต่อระยะเวลาการใช้ : เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยอายุรกรรม [printed text] / กัญญ์ญาภัค ผาสุข, Author ; นรลักษณ์ เอื้อกิจ, Author . - 2015 . - pp.57-72.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.57-72Keywords: ระยะเวลาในการใช้เครื่องช่วยหายใจ.การเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็ว.ผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ. Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดหลังการทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วต่อระยะเวลาในการใช้เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรมที่ได้รับการใช้เครื่องช่วยหายใจ และเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรมโรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่ง แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 22 คน โดยจับคู่ตามระดับ APACHE score การวินิจฉัยโรคเบื้องต้น และระดับความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน กลุ่มควบคุมได้รับการรักษาพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วที่ผู้วิจัยประยุกต์จากโปรแกรมการเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วในผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ โดยประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือการประเมินความพร้อม และการเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วตามกิจกรรม 3 ระดับ ได้แก่ ระดับที่ 1 การเคลิื่อนไหวบนเตียง ระดับที่ 2 การเคลื่อนไหวข้างเตียง ระดับที่ 3 การก้าวเดิน สถิติทีี่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบไคสแควร์ และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยกลุ่มทดลองมีระยะเวลาในการใช้เครื่องช่วยหายใจน้อยกว่าผู้ป่วย กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วช่วยลดระยะเวลาในการใช้เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรมที่ได้รับการใช้เครื่องช่วยหายใจได้ Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24999 ผลของรูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจร่วมกับแรงสนับสนุนจากครอบครัวต่อความสำเร็จ / ศุภลักษณ์ คูณศรี in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : ผลของรูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจร่วมกับแรงสนับสนุนจากครอบครัวต่อความสำเร็จ : และระยะเวลาที่ใช้ในการหย่าเครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยที่มีภาวะการหายใจล้มเหลว Original title : Effects of weaning ventilator protocal and familiy on success and duration of weaning in patient with respiratory failure Material Type: printed text Authors: ศุภลักษณ์ คูณศรี, Author ; ทวีศักดิ์ กสิผล, Author ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.73-88 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.73-88Keywords: ภาวะการหายใจล้มเหลว.รูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจ.แรงสนับสนุนจากครอบครัว.ผลสำเร็จการหย่าเครื่องช่วยหายใจ. Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดผลหลังการทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจับคู่ 2 กลุ่ม ในผู้ป่วยที่มีภาวะการหายใจล้มเหลวที่ได้รับการรักษาโดยการใส่ท่อช่วยหายใจและใช้เครื่อวช่วยหายใจ หอผู้ป่วยนักอายุรกรรม โรงพยาบาลกลาง กรุงเทพมหานคร เก็บข้อมูลแบบย้อนหลังในกลุ่มเปรียบเทียบที่ได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยใช้มาตรฐานวิชาชีพและประสบการณ์ของตนเอง (วิธีปกติ)จำนวน 30 ราย ส่วนกลุ่มทดลอง 30 ราย ได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยใช้รูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจร่วมกับแรงสนับสนุนจากครอบครัว โดยให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย และบูรณาการเข้ากับประเมินความพร้อม การเฝ้าระวังในการหย่าเครื่องช่วยหายใจทั้ง 3 ระยะ ประเมินความสำเร็จของการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยใช้แบบประเมินความพร้อม การเฝ้าระวังในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ และระยะเวลาที่ใช้ในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป แบบประเมินความพร้อมทางด้านร่างกายและจิตใจในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ และแบบบันทึกแนวทางการหย่าเครื่องช่วยหายใจ วิเคราะหฺ์ข้อมูลโดบใช้สถิติพรรณา Mann-Whitney U Test และสถิติที (Independent t-test) ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยใช้รูปอบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจร่วมกับแรงสนับสนุนจากครอบครัว สามารถหย่าเครื่อวช่วยหายใจได้สำเร็ยมากกว่า และใช้เวลาในการหย่าเครื่องหายใจน้อยกว่า กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยวิธีปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p<.01 ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ ทีมสุขภาพควรใช้รูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจที่เป็นแนวทางปฎิบัติเดียวกันและส่งเสริมให้ครอบครัวได้เข้ามามีส่วนร่วมในการสนับสนุนเพื่อเตรียมความพร้อมด้านจิตใจให้กับผู้ป่วยตลอดกระบวนการหย่าเครื่องช่วยหายใจ. Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25000 [article] ผลของรูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจร่วมกับแรงสนับสนุนจากครอบครัวต่อความสำเร็จ = Effects of weaning ventilator protocal and familiy on success and duration of weaning in patient with respiratory failure : และระยะเวลาที่ใช้ในการหย่าเครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยที่มีภาวะการหายใจล้มเหลว [printed text] / ศุภลักษณ์ คูณศรี, Author ; ทวีศักดิ์ กสิผล, Author ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Author . - 2015 . - pp.73-88.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.73-88Keywords: ภาวะการหายใจล้มเหลว.รูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจ.แรงสนับสนุนจากครอบครัว.ผลสำเร็จการหย่าเครื่องช่วยหายใจ. Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดผลหลังการทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจับคู่ 2 กลุ่ม ในผู้ป่วยที่มีภาวะการหายใจล้มเหลวที่ได้รับการรักษาโดยการใส่ท่อช่วยหายใจและใช้เครื่อวช่วยหายใจ หอผู้ป่วยนักอายุรกรรม โรงพยาบาลกลาง กรุงเทพมหานคร เก็บข้อมูลแบบย้อนหลังในกลุ่มเปรียบเทียบที่ได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยใช้มาตรฐานวิชาชีพและประสบการณ์ของตนเอง (วิธีปกติ)จำนวน 30 ราย ส่วนกลุ่มทดลอง 30 ราย ได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยใช้รูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจร่วมกับแรงสนับสนุนจากครอบครัว โดยให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย และบูรณาการเข้ากับประเมินความพร้อม การเฝ้าระวังในการหย่าเครื่องช่วยหายใจทั้ง 3 ระยะ ประเมินความสำเร็จของการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยใช้แบบประเมินความพร้อม การเฝ้าระวังในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ และระยะเวลาที่ใช้ในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป แบบประเมินความพร้อมทางด้านร่างกายและจิตใจในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ และแบบบันทึกแนวทางการหย่าเครื่องช่วยหายใจ วิเคราะหฺ์ข้อมูลโดบใช้สถิติพรรณา Mann-Whitney U Test และสถิติที (Independent t-test) ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยใช้รูปอบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจร่วมกับแรงสนับสนุนจากครอบครัว สามารถหย่าเครื่อวช่วยหายใจได้สำเร็ยมากกว่า และใช้เวลาในการหย่าเครื่องหายใจน้อยกว่า กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยวิธีปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p<.01 ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ ทีมสุขภาพควรใช้รูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจที่เป็นแนวทางปฎิบัติเดียวกันและส่งเสริมให้ครอบครัวได้เข้ามามีส่วนร่วมในการสนับสนุนเพื่อเตรียมความพร้อมด้านจิตใจให้กับผู้ป่วยตลอดกระบวนการหย่าเครื่องช่วยหายใจ. Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25000 การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ การดูแลบในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน / ดวงกมล วัตราดุลย์ in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ การดูแลบในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน Material Type: printed text Authors: ดวงกมล วัตราดุลย์, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.89-103 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.89-103Keywords: ทฤษฎีเปลี่ยนผ่าน.การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ.ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด. Abstract: ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดควรได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ระยะเฉียบพลันในโรงพยาบาลจนกระทั่งจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจเป็นการดูแลที่ครอบคลุมไปถึงการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยและครอบครัวให้สามารถเผชิญหน้ากับความเจ็บป่วยและเปลี่ยนผ่านการดูแลจากโรงพยาบาลไปสู่่บ้านอย่างปลอดภัย. การวิจัยนี้เพื่อ สังเคราะห์การพยาบาลในระยะเปลี่ยนผ่านโดยการบูรณาะการทฤษฎีเปลี่ยนผ่านกับโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ ซึ่งพยาบาลผู้จัดการรายกรณีมีบทบาทสำคัญในการดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน ที่ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การประเมินความพร้อมของผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดในการเปลี่ยนผ่าน ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจให้แก่ผู้ป่วยเพื่อเปลี่ยนผ่านการดูแลจากโรงพยาบาสสู่บ้านโดยการวางแผนการจำหน่ายผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพร่วมกับการบูรณาการองค์ประกอบาำคัญของการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจระยะที่ 1 และขั้นตอนที่ 3 การพยาบาลในบทบาทเสริมเพื่อสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงบทบาทใหม่และคงไว้ซึ่งผลลัพธ์สุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจและคุณภาพชีวิตที่ดี ด้วยการบูรณาการการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจระยะที่ 2 3 และ 4 ให้คงไว้พฤติกรรมการจัดการตนเองเพื่อสุขภาพหัวใจที่ดีและอย่างยั่งยืนในระยะยาว ได้แก่ การประเมินผู้ป่วย การให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ การจัดการกับปัจจัยเสี่ยง การฝึกการออกกำลังกาย การจัดการดูแลด้านจิตสังคม การให้คำปรึกษาการออกกำลังกาย และการฝึกออกกำลังกาย ในแต่ละองค์ประกอบจะต้องมีัการประเมินผล การดำเนินการ กำหนดผลลัพธ์ที่คาดหวัง. พยาบาลผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจและหลอดเลือดควรได้รับการอบรมในหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางเพื่อเพิ่มสมรรถนะด้านการฟื้นฟู
สมรรถภาพหัวใจในสถานบริการทุกระดับ มีการประเมินผลลัพธ์และตรวจสอบการประกันคถุณภาพเพื่อให้ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดเข้าถึงบริการอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่องLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25001 [article] การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ การดูแลบในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน [printed text] / ดวงกมล วัตราดุลย์, Author . - 2015 . - pp.89-103.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.89-103Keywords: ทฤษฎีเปลี่ยนผ่าน.การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ.ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด. Abstract: ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดควรได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ระยะเฉียบพลันในโรงพยาบาลจนกระทั่งจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจเป็นการดูแลที่ครอบคลุมไปถึงการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยและครอบครัวให้สามารถเผชิญหน้ากับความเจ็บป่วยและเปลี่ยนผ่านการดูแลจากโรงพยาบาลไปสู่่บ้านอย่างปลอดภัย. การวิจัยนี้เพื่อ สังเคราะห์การพยาบาลในระยะเปลี่ยนผ่านโดยการบูรณาะการทฤษฎีเปลี่ยนผ่านกับโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ ซึ่งพยาบาลผู้จัดการรายกรณีมีบทบาทสำคัญในการดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน ที่ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การประเมินความพร้อมของผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดในการเปลี่ยนผ่าน ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจให้แก่ผู้ป่วยเพื่อเปลี่ยนผ่านการดูแลจากโรงพยาบาสสู่บ้านโดยการวางแผนการจำหน่ายผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพร่วมกับการบูรณาการองค์ประกอบาำคัญของการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจระยะที่ 1 และขั้นตอนที่ 3 การพยาบาลในบทบาทเสริมเพื่อสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงบทบาทใหม่และคงไว้ซึ่งผลลัพธ์สุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจและคุณภาพชีวิตที่ดี ด้วยการบูรณาการการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจระยะที่ 2 3 และ 4 ให้คงไว้พฤติกรรมการจัดการตนเองเพื่อสุขภาพหัวใจที่ดีและอย่างยั่งยืนในระยะยาว ได้แก่ การประเมินผู้ป่วย การให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ การจัดการกับปัจจัยเสี่ยง การฝึกการออกกำลังกาย การจัดการดูแลด้านจิตสังคม การให้คำปรึกษาการออกกำลังกาย และการฝึกออกกำลังกาย ในแต่ละองค์ประกอบจะต้องมีัการประเมินผล การดำเนินการ กำหนดผลลัพธ์ที่คาดหวัง. พยาบาลผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจและหลอดเลือดควรได้รับการอบรมในหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางเพื่อเพิ่มสมรรถนะด้านการฟื้นฟู
สมรรถภาพหัวใจในสถานบริการทุกระดับ มีการประเมินผลลัพธ์และตรวจสอบการประกันคถุณภาพเพื่อให้ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดเข้าถึงบริการอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่องLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25001 ปัจจัยที่มีอิทธพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิต in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีอิทธพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิต : ของผู้ป่วยโรคหลอดเลิือดหัวใจ Original title : The factor inuencing the self-care agency and quality of life of patients with coronary artery disease Material Type: printed text Publication Date: 2015 Article on page: pp.104-118 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.104-118Keywords: ความสามารถในการดูแลตนเอง. คุณภาพชีวิต.ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ. Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ คัดเลิือกกลุ่มตัวอย่างโรคหลอดเลือดหัวใจแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 99 คน ที่มาใช้บริการ คลินิกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับมหาวิทยาลัย เก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ 1.แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2.แบบวัดความสามรถในการดูแลตนเอง 3.แบบสอบถามคุณภาพชีวิตวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงบรรยาย และ Multiple regression ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 70.4 มีีคะแนน ความสามารถในการด฿ูแลตนเอง และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโรคหลอดเลือดหัวใจแบบเฺฉพาะเ้จาะจง จำนวน 99 คน ที่มาใช้บริการคลินิกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับมหาวิทยาลัย เก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ 1. แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2.แบบวัดความสามารถในการดูแลตนเอง และ 3. แบบสอบถามคุณภาพชีวิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงบรรยาย และ Multiple Regression ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 70.4 มีคะแนนความสามารถในการดูแลตนเองอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างต่ำ (Mean=20.05 SD=9.84) คะแนนคุณภาพชีวิต รายด้านทีมีคะแนนในระดับดี คือด้านครอบครัว และพบว่า ระดับการศึกษา การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และ คะแนนความสามารถในการดูแลตนเอง เป็นปัจจัยที่มีิอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลิือดหัวใจที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ .039 และอำนาจในการทำนายร้อยละ 56. ผลการศึกษาครั้งนี้ ช่วยให้ผู้บริการทางสุขภาพเข้าใจและเห็นความสำคัญของกิจกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ เพื่อนำไปสู่การจัดการระบบการดูแล และพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้ป่วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งจะช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดต่อไป Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25002 [article] ปัจจัยที่มีอิทธพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิต = The factor inuencing the self-care agency and quality of life of patients with coronary artery disease : ของผู้ป่วยโรคหลอดเลิือดหัวใจ [printed text] . - 2015 . - pp.104-118.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.104-118Keywords: ความสามารถในการดูแลตนเอง. คุณภาพชีวิต.ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ. Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ คัดเลิือกกลุ่มตัวอย่างโรคหลอดเลือดหัวใจแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 99 คน ที่มาใช้บริการ คลินิกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับมหาวิทยาลัย เก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ 1.แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2.แบบวัดความสามรถในการดูแลตนเอง 3.แบบสอบถามคุณภาพชีวิตวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงบรรยาย และ Multiple regression ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 70.4 มีีคะแนน ความสามารถในการด฿ูแลตนเอง และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโรคหลอดเลือดหัวใจแบบเฺฉพาะเ้จาะจง จำนวน 99 คน ที่มาใช้บริการคลินิกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับมหาวิทยาลัย เก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ 1. แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2.แบบวัดความสามารถในการดูแลตนเอง และ 3. แบบสอบถามคุณภาพชีวิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงบรรยาย และ Multiple Regression ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 70.4 มีคะแนนความสามารถในการดูแลตนเองอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างต่ำ (Mean=20.05 SD=9.84) คะแนนคุณภาพชีวิต รายด้านทีมีคะแนนในระดับดี คือด้านครอบครัว และพบว่า ระดับการศึกษา การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และ คะแนนความสามารถในการดูแลตนเอง เป็นปัจจัยที่มีิอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลิือดหัวใจที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ .039 และอำนาจในการทำนายร้อยละ 56. ผลการศึกษาครั้งนี้ ช่วยให้ผู้บริการทางสุขภาพเข้าใจและเห็นความสำคัญของกิจกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ เพื่อนำไปสู่การจัดการระบบการดูแล และพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้ป่วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งจะช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดต่อไป Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25002 ผลของโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของอาสาสมัคร / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของอาสาสมัคร : สาธารณสุขประจำหมู่บ้านต่อความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด Original title : Effects of health volunteer's capacity building based on participating learning program on knowledge and skill of caring patients with cardiovascular disease and a risk group of cardiovascular disease Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.119-132 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.119-132Keywords: การพัฒนาศักยภาพ.การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม. โรคหัวใจและหลอดเลือด.อาสาสมัครสาธารณสุข. Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียว เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดด้วยการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เป็น อสม. ที่ขึ้นทะเบียน ตำบลบางคูหลวง จ. ปทุมธานี จำนวน 50 คน เข้าร่วมโปรแกรมอบรมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม จำนวน 3 วัน ประกอบด้วย 1. ความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด 2. การทำกระบวนการกลุ่มการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจ 3. การฝึกทักษะการประเมินระบบหัวใจและหลอดเลือด 4. ฝึกทักษะการกู้ชีวิตเบื้องต้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินความรู้การดูแลผุ้ป่วยโรคหัวใจ แบบประเมินการรับรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจ แบบสังเกตและประเมินผลการฝึกทักษะการประเมินระบบหัวใจและหลอดเลิือด และแบบปฏิบัติการกู้ชีวิตเบื้องต้น วิเคราะห์ข้อมูลความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจก่อนและหลังเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมโดยใช้ Paired t-test ประเมินผลการรับรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจ ทักษะการประเมินระบบหัวใจและหลอดเลิือด และการกู้ชีวิตเบื้องต้นโดยใช้สถิตเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังการเข้ารัลโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพแบบมีส่วนร่วม อสม. มีความรู้โรคหัวใจและหลอดเลิือดเพิ่มขึ้นอย่างมัีนัยสำคัญทางสถิติ p-value<0.001 อสม. ทุกรายมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจในระดับดีมาก และสามารถผ่านการประเมินทักษะการประเมินหัวใจและหลอดเลือดและการกู้ชีวิตเบื้องต้นร้อยละ 100 ในระดับนี้ งานวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการพัฒนาศักยภาพโดยใช้การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม อสม. ช่วยสร้างเสิรมพลังอำนาจของอสม. และมีประสิทธิภาพในการสร้างศักยภาพ อสม. นอกจากนี้โปรแกรมนี้ยังช่วยสนับสนุนให้ อสม. เป็นส่วนหนึ่งในทีมสุขภาพและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน และสามารถนำไปประยุต์เพื่อสร้างพลังอำนาจแก่กลุ่ม อสม. ในชุมชนอื่น
Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25003 [article] ผลของโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของอาสาสมัคร = Effects of health volunteer's capacity building based on participating learning program on knowledge and skill of caring patients with cardiovascular disease and a risk group of cardiovascular disease : สาธารณสุขประจำหมู่บ้านต่อความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author . - 2015 . - pp.119-132.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.119-132Keywords: การพัฒนาศักยภาพ.การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม. โรคหัวใจและหลอดเลือด.อาสาสมัครสาธารณสุข. Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียว เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดด้วยการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เป็น อสม. ที่ขึ้นทะเบียน ตำบลบางคูหลวง จ. ปทุมธานี จำนวน 50 คน เข้าร่วมโปรแกรมอบรมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม จำนวน 3 วัน ประกอบด้วย 1. ความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด 2. การทำกระบวนการกลุ่มการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจ 3. การฝึกทักษะการประเมินระบบหัวใจและหลอดเลือด 4. ฝึกทักษะการกู้ชีวิตเบื้องต้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินความรู้การดูแลผุ้ป่วยโรคหัวใจ แบบประเมินการรับรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจ แบบสังเกตและประเมินผลการฝึกทักษะการประเมินระบบหัวใจและหลอดเลิือด และแบบปฏิบัติการกู้ชีวิตเบื้องต้น วิเคราะห์ข้อมูลความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจก่อนและหลังเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมโดยใช้ Paired t-test ประเมินผลการรับรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจ ทักษะการประเมินระบบหัวใจและหลอดเลิือด และการกู้ชีวิตเบื้องต้นโดยใช้สถิตเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังการเข้ารัลโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพแบบมีส่วนร่วม อสม. มีความรู้โรคหัวใจและหลอดเลิือดเพิ่มขึ้นอย่างมัีนัยสำคัญทางสถิติ p-value<0.001 อสม. ทุกรายมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจในระดับดีมาก และสามารถผ่านการประเมินทักษะการประเมินหัวใจและหลอดเลือดและการกู้ชีวิตเบื้องต้นร้อยละ 100 ในระดับนี้ งานวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการพัฒนาศักยภาพโดยใช้การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม อสม. ช่วยสร้างเสิรมพลังอำนาจของอสม. และมีประสิทธิภาพในการสร้างศักยภาพ อสม. นอกจากนี้โปรแกรมนี้ยังช่วยสนับสนุนให้ อสม. เป็นส่วนหนึ่งในทีมสุขภาพและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน และสามารถนำไปประยุต์เพื่อสร้างพลังอำนาจแก่กลุ่ม อสม. ในชุมชนอื่น
Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25003 ผลการใช้แนวคิดการสร้างความรู้ด้วยตนเองในการเรียนการสอน / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : ผลการใช้แนวคิดการสร้างความรู้ด้วยตนเองในการเรียนการสอน : รายวิชา กระบวนการพยาบาลและการประเมินภาวะสุขภาพ Original title : effects of constructivism approach of teaching and learning on a course of nursing process and health assessment Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.149-164. Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.149-164.Keywords: การสร้างความรุ้ด้วยตนเอง.กระบวนการพยาบาล.การประเมินภาวะสุขภาพ. Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองแบบวัดผลก่อนและหลังกลุ่มเดียว เพื่อศึกษาทดสอบประสิทธิผลของการเรียนการสอนตามแนวคิดการสร้างความรุ้ด้วยตนเองในวิชา พย. 1102 กระบวนการพยาบาลและการประเมินภาวะสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยชินวัตร ชั้นปีที่ 1 จำนวน 18 คน เข้าร่วมในการเรียนการสอนโดยใช้แนวคิดการสร้างความรู้ด้วยตนเอง ได้แก่ การเขียนแผนที่ความคิด การประเมินภาวะสุขภาพบุคคล และการศึกษาดูงาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และ one-sample Wilcoxon signed rank test ผลการวิจัย พบว่า นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์การเรียนเพิ่มขึ้น นักศึกษาสามารถเขียนแผนที่ความคิด และสามารถประเมินการคัดกรองสุขภาพ มีคะแนนเพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ (p<0.05) นักศึกษาประเมินผลการสอนของอาจารย์ในระดับดีเยี่ยม นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนตามแนวคิดการสร้างความรู้ด้วยตนเองในระดับดีมาก และนักศึกษามีความคิดเห็นว่า ประสบการณ์จริงในการศึกษาดูงานอยู่ในระดับดีเยี่ยม ผลของการศึกษานี้สามารถนำมาประยุกต์ในการจัดการเรียนการสอนทางการพยาบาลอื่น ๆ เพื่อพัฒนาให้นักศึกษามีความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองและมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25004 [article] ผลการใช้แนวคิดการสร้างความรู้ด้วยตนเองในการเรียนการสอน = effects of constructivism approach of teaching and learning on a course of nursing process and health assessment : รายวิชา กระบวนการพยาบาลและการประเมินภาวะสุขภาพ [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author . - 2015 . - pp.149-164.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.149-164.Keywords: การสร้างความรุ้ด้วยตนเอง.กระบวนการพยาบาล.การประเมินภาวะสุขภาพ. Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองแบบวัดผลก่อนและหลังกลุ่มเดียว เพื่อศึกษาทดสอบประสิทธิผลของการเรียนการสอนตามแนวคิดการสร้างความรุ้ด้วยตนเองในวิชา พย. 1102 กระบวนการพยาบาลและการประเมินภาวะสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยชินวัตร ชั้นปีที่ 1 จำนวน 18 คน เข้าร่วมในการเรียนการสอนโดยใช้แนวคิดการสร้างความรู้ด้วยตนเอง ได้แก่ การเขียนแผนที่ความคิด การประเมินภาวะสุขภาพบุคคล และการศึกษาดูงาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และ one-sample Wilcoxon signed rank test ผลการวิจัย พบว่า นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์การเรียนเพิ่มขึ้น นักศึกษาสามารถเขียนแผนที่ความคิด และสามารถประเมินการคัดกรองสุขภาพ มีคะแนนเพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ (p<0.05) นักศึกษาประเมินผลการสอนของอาจารย์ในระดับดีเยี่ยม นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนตามแนวคิดการสร้างความรู้ด้วยตนเองในระดับดีมาก และนักศึกษามีความคิดเห็นว่า ประสบการณ์จริงในการศึกษาดูงานอยู่ในระดับดีเยี่ยม ผลของการศึกษานี้สามารถนำมาประยุกต์ในการจัดการเรียนการสอนทางการพยาบาลอื่น ๆ เพื่อพัฒนาให้นักศึกษามีความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองและมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25004 ผลของโปรปกรมการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : ผลของโปรปกรมการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน : ต่อความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ และกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด Material Type: printed text Publication Date: 2015 Article on page: pp.119-132 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.119-132Keywords: โปรแกรมการพัฒนาศักยภาพ.การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม.อาสาสมัครสาธารณสุข.ความรู้ทักษะการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลิือด. Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียว มีวัตถุประสงค์เพื่อ ผลของโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดด้วยการจัดการเรียนรู้แบบมัีส่วนร่วม คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เป็น อสม. ที่ขึ้นทะเบียน ตำบลบางคูหลวง จ. ปทุมธานีท จำนวน 50 คน เข้าร่วมโปรแกรมอบรมเชิงปฏิบัติการมีส่วนร่วมจำนวน 3 วัน ประกอบด้วย 1. ความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด 2. การทำกระบวนกลุ่มการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจ 3. การฝึกทักษะการประเมินระบบหัวใจและหลอดเลือด 4. ฝึกทักษะการกู้ชีวิตเบื้องต้น เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินความรู้การดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ แบบประเมินการรับรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจ แบบสังเกตและประเมินผลการฝึกทักษะการประเมินระบบหัวใจและหลอดเลือด และแบบประเมินการกู้ชีวิตเบื้องต้น วิเคราะห์ข้อมูลความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจก่อนและหลังเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติแบบมีส่วนร่วมโดยใช้ Paired t-test ประเมินผลการรับรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจ ทักษะการประเมินระบบหัวใจและหลอดเลือด และการกู้ชีวิตเบื้องต้นโดยใช้สถิติเชิงพรรณา ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังเข้ารับโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพแบบมีส่วนร่วม อสม. มีความรู้โรคหัวใจและหลอดเลือดเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสิถิติ p Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25005 [article] ผลของโปรปกรมการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน : ต่อความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ และกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด [printed text] . - 2015 . - pp.119-132.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.119-132Keywords: โปรแกรมการพัฒนาศักยภาพ.การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม.อาสาสมัครสาธารณสุข.ความรู้ทักษะการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลิือด. Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียว มีวัตถุประสงค์เพื่อ ผลของโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดด้วยการจัดการเรียนรู้แบบมัีส่วนร่วม คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เป็น อสม. ที่ขึ้นทะเบียน ตำบลบางคูหลวง จ. ปทุมธานีท จำนวน 50 คน เข้าร่วมโปรแกรมอบรมเชิงปฏิบัติการมีส่วนร่วมจำนวน 3 วัน ประกอบด้วย 1. ความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด 2. การทำกระบวนกลุ่มการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจ 3. การฝึกทักษะการประเมินระบบหัวใจและหลอดเลือด 4. ฝึกทักษะการกู้ชีวิตเบื้องต้น เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินความรู้การดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ แบบประเมินการรับรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจ แบบสังเกตและประเมินผลการฝึกทักษะการประเมินระบบหัวใจและหลอดเลือด และแบบประเมินการกู้ชีวิตเบื้องต้น วิเคราะห์ข้อมูลความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจก่อนและหลังเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติแบบมีส่วนร่วมโดยใช้ Paired t-test ประเมินผลการรับรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจ ทักษะการประเมินระบบหัวใจและหลอดเลือด และการกู้ชีวิตเบื้องต้นโดยใช้สถิติเชิงพรรณา ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังเข้ารับโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพแบบมีส่วนร่วม อสม. มีความรู้โรคหัวใจและหลอดเลือดเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสิถิติ p Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25005