From this page you can:
Home |
Available articles
Add the result to your basketแนวคิดและบทบาทพยาบาลในการเตรียมพร้อมรับภัยพิบัติ / สุพรรณา ครองแถว in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 ([10/13/2015])
[article]
Title : แนวคิดและบทบาทพยาบาลในการเตรียมพร้อมรับภัยพิบัติ Material Type: printed text Authors: สุพรรณา ครองแถว, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.141-157 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.141-157Keywords: วงจรการเกิดภัยพิบัติ.การเตรียมรับภัยพิบัติ.สมรรถนะด้านการพยาบาลใยภาวะภัยพิบัติ. Abstract: ภัยพิบัติมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นก่อให้เกิดความสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินอย่างมหาศาลทุกประเทศทั่วโลกต่่างให้ความสในใจร่วมมือกันจัดทำแนวทางปฏิบัติเพื่อการจัดการภัยพิบัติโดยมีแนวคิด คือ การป้องกัน การลดความรุนแรง การเตรียมพร้อมรับมือ การรับสถานการณ์ฉุกเฉิน การฟื้นฟูสภาพ และการพัฒนา ซึ่งแต่ละขั้นตอนประกอบด้วยการปฏิบัติหน้าที่เหมาะสมกับวงจรการเกิดภัยพิบัติ ได้แก่ ระยะก่อนเกิด ขณะเกิด และหลังเกิดภัยพิบัติ ประเทศไทยประสบภัยพิบัติต่าง ๆ มากมาย และได้ถูกจัดอันดับให้เป็นประเทศที่มีพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัย ดังนั้น พยาบาลซึ่งเป็นหนึ่งในทีมสุขภาพที่มีบทบาทสำคัญในการเตรียมพร้อมรับภัยพิบัติควรได้รับการส่งเสริมให้มีสมรรถนะด้านการพยาบาลในภาวะภัยพิบัติ 4 ด้าน ได้แก่ การป้องกัน/การลดความรุนแรง การเรียมพร้อมรับมือ การตอบสนองต่อภัยพิบัติในทันที และการพักฟื้น ฟื้นฟูสภาพ เพื่อท่ี่จะสามารถนำความรู้ และทักษะมาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ภัยพิบัติได้ โดยอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน และเน้นชุมชนเป็นศูนย์กลางในการจัดการภัยพิบัติ เพื่อลดผลกระทบที่เกิดขึ้นและช่วยบุคคลและชุมชุนให้ฟื้นตัวจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้เร็วที่สุด Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24984 [article] แนวคิดและบทบาทพยาบาลในการเตรียมพร้อมรับภัยพิบัติ [printed text] / สุพรรณา ครองแถว, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author . - 2015 . - pp.141-157.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.141-157Keywords: วงจรการเกิดภัยพิบัติ.การเตรียมรับภัยพิบัติ.สมรรถนะด้านการพยาบาลใยภาวะภัยพิบัติ. Abstract: ภัยพิบัติมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นก่อให้เกิดความสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินอย่างมหาศาลทุกประเทศทั่วโลกต่่างให้ความสในใจร่วมมือกันจัดทำแนวทางปฏิบัติเพื่อการจัดการภัยพิบัติโดยมีแนวคิด คือ การป้องกัน การลดความรุนแรง การเตรียมพร้อมรับมือ การรับสถานการณ์ฉุกเฉิน การฟื้นฟูสภาพ และการพัฒนา ซึ่งแต่ละขั้นตอนประกอบด้วยการปฏิบัติหน้าที่เหมาะสมกับวงจรการเกิดภัยพิบัติ ได้แก่ ระยะก่อนเกิด ขณะเกิด และหลังเกิดภัยพิบัติ ประเทศไทยประสบภัยพิบัติต่าง ๆ มากมาย และได้ถูกจัดอันดับให้เป็นประเทศที่มีพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัย ดังนั้น พยาบาลซึ่งเป็นหนึ่งในทีมสุขภาพที่มีบทบาทสำคัญในการเตรียมพร้อมรับภัยพิบัติควรได้รับการส่งเสริมให้มีสมรรถนะด้านการพยาบาลในภาวะภัยพิบัติ 4 ด้าน ได้แก่ การป้องกัน/การลดความรุนแรง การเรียมพร้อมรับมือ การตอบสนองต่อภัยพิบัติในทันที และการพักฟื้น ฟื้นฟูสภาพ เพื่อท่ี่จะสามารถนำความรู้ และทักษะมาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ภัยพิบัติได้ โดยอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน และเน้นชุมชนเป็นศูนย์กลางในการจัดการภัยพิบัติ เพื่อลดผลกระทบที่เกิดขึ้นและช่วยบุคคลและชุมชุนให้ฟื้นตัวจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้เร็วที่สุด Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24984 ความเครียด และการเผชิญความเครียดของผู้ป่วยโรคมะเร็งหลังโพรงจมูก / ศุภกาญจน์ โอภาสรัตนากร in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 ([10/13/2015])
[article]
Title : ความเครียด และการเผชิญความเครียดของผู้ป่วยโรคมะเร็งหลังโพรงจมูก : ที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกับยาเคมีบำบัด Original title : Stress and coping of nasophaaryngeal carcinoma patients receiving concurrent chemoradiotherapy treatment Material Type: printed text Authors: ศุภกาญจน์ โอภาสรัตนากร, Author ; มุกดา เ เดชประพนธ์, Author ; บัวหลวง สำแดงฤทธิ์, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.158-170 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.158-170Keywords: ความเครียด.การเผชิญความเครียด.โรคมะเร็งหลังโพรงจมูก. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษาความเครียด การเผชิญความเครียดและความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดกับการเผชิญความเครียดของผู้ป่วยโรคมะเร็งหลังโพรงจมูกที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกัยบาเคมีบำบัด ตามกรอบแนวคิดของลาซารัส และโฟค์แมน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งโพรงจมูกที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกับเคมีบำบัดอย่างน้อย 3 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี ณ แผนกตรวจโรคผู้ป่วยนอกกลุ่มงานรักงสีรักาา โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ จำนวน 51 ราย ดำเนินการเก็บข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2557 โดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับความเครียดและการเผชิญความเครียด วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติบรรยาย และสถิติสหสัมพันธ์เพียรสัน ผลการวิจัยพบว่า ระดับความเครียดของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับสูง กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการเผชิญความเครียดด้านการเผชิญหน้ากับปัญหามากที่สุด เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ของตัวแปร พบว่า ระดับความเครียดมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการเผชิญความเครียดด้านการจัดการกับอารมณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับการเผชิญความเครียดโดยรวม การเผชิญความเครียดด้านการเผชิญหน้ากับปัญหาและด้านการบรรเทาความเครียด ดังนั้นพบาบาลควรประเมินความเครียดผู้ป่วยเป็นระยะ เมื่อผู้ป่วยมาติดตามผลการรักษา เพื่อที่จะได้ช่วยเหลือให้คำแนะนำที่เหมาะสมตรงกับความต้องการของผู้ป่วย Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24985 [article] ความเครียด และการเผชิญความเครียดของผู้ป่วยโรคมะเร็งหลังโพรงจมูก = Stress and coping of nasophaaryngeal carcinoma patients receiving concurrent chemoradiotherapy treatment : ที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกับยาเคมีบำบัด [printed text] / ศุภกาญจน์ โอภาสรัตนากร, Author ; มุกดา เ เดชประพนธ์, Author ; บัวหลวง สำแดงฤทธิ์, Author . - 2015 . - pp.158-170.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.158-170Keywords: ความเครียด.การเผชิญความเครียด.โรคมะเร็งหลังโพรงจมูก. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษาความเครียด การเผชิญความเครียดและความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดกับการเผชิญความเครียดของผู้ป่วยโรคมะเร็งหลังโพรงจมูกที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกัยบาเคมีบำบัด ตามกรอบแนวคิดของลาซารัส และโฟค์แมน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งโพรงจมูกที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกับเคมีบำบัดอย่างน้อย 3 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี ณ แผนกตรวจโรคผู้ป่วยนอกกลุ่มงานรักงสีรักาา โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ จำนวน 51 ราย ดำเนินการเก็บข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2557 โดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับความเครียดและการเผชิญความเครียด วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติบรรยาย และสถิติสหสัมพันธ์เพียรสัน ผลการวิจัยพบว่า ระดับความเครียดของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับสูง กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการเผชิญความเครียดด้านการเผชิญหน้ากับปัญหามากที่สุด เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ของตัวแปร พบว่า ระดับความเครียดมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการเผชิญความเครียดด้านการจัดการกับอารมณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับการเผชิญความเครียดโดยรวม การเผชิญความเครียดด้านการเผชิญหน้ากับปัญหาและด้านการบรรเทาความเครียด ดังนั้นพบาบาลควรประเมินความเครียดผู้ป่วยเป็นระยะ เมื่อผู้ป่วยมาติดตามผลการรักษา เพื่อที่จะได้ช่วยเหลือให้คำแนะนำที่เหมาะสมตรงกับความต้องการของผู้ป่วย Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24985 ปัจจัยทำนายการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการรักษา / อาทิตยา อติวิชญานนท์ in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 ([10/13/2015])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการรักษา : ด้วยการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง Original title : Predictors of self management in patients with chronic kidney disease undergoing continuous ambulatory peritoneal dialysis Material Type: printed text Authors: อาทิตยา อติวิชญานนท์, Author ; ภาวนา กีรติยุตวงศ์, Author ; สุภาภรณ์ ด้วงแพง, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.172-184 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.172-184Abstract: มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ปัจจัยทำนายการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้่อรังที่ได้รับการรักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง ปััจัยทำนาย ประกอบด้วยความรู้ในการจัดการตนเอง การสนับสนุนจากครอบครัว และภาวะซึมเศร้า กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้่วยโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการรักษาด้วยการล้างไต Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24986 [article] ปัจจัยทำนายการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการรักษา = Predictors of self management in patients with chronic kidney disease undergoing continuous ambulatory peritoneal dialysis : ด้วยการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง [printed text] / อาทิตยา อติวิชญานนท์, Author ; ภาวนา กีรติยุตวงศ์, Author ; สุภาภรณ์ ด้วงแพง, Author . - 2015 . - pp.172-184.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.172-184Abstract: มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ปัจจัยทำนายการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้่อรังที่ได้รับการรักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง ปััจัยทำนาย ประกอบด้วยความรู้ในการจัดการตนเอง การสนับสนุนจากครอบครัว และภาวะซึมเศร้า กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้่วยโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการรักษาด้วยการล้างไต Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24986 ความสัมพันธ์ระหว่างอายุ ดัชนีมวลกาย และโรคร่วมกับการเกิดภาวะการตอบสนองการอักเสบทั่วร่ายกาย / ทิฏฐิ ศรีวิสัย in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 ([10/13/2015])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างอายุ ดัชนีมวลกาย และโรคร่วมกับการเกิดภาวะการตอบสนองการอักเสบทั่วร่ายกาย : ในผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจที่ห้องฉุกเฉิน Original title : Relationships between age body mass index comorbidity and systemic inflammatory response syndrome in patients with respiratory infection at an emergency unit Material Type: printed text Authors: ทิฏฐิ ศรีวิสัย, Author ; วันเพ็ญ ภิญโญภาสกุล, Author ; วิชชุดา เจริญกิจการ, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.186-197. Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.186-197.Keywords: การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ.การตอบสนองการอักเสบทั่วร่างกาย อายุดัชนี.มวลกาย. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอายุ ดัชนนีมวลกาย และโรคร่วมกับการเกิดภาวะการตอบสนองการอักเสบทั่วร่างกาน โดยใช้ทฤษฏีการปรับตัวของรอยเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อหรือสงสัย ว่ามีการติดเชื้อในระบบทางเดินอาหารหายใจส่วนล่างที่ห้องฉุกเฉิน จำนวน 85 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัียแบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ แบบประเมินการตอบสนองการอักเสบทั่วร่างกาย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานย และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แบบเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ค่ามัธยฐานอายุเท่ากับ 59 ปี อายุและโรคร่วมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะการตอบสนองการอักเสบทั่วร่างกายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อย่างไรก็ตามดัชนีมวลกายไม่มีความสัมพันธ์กับการตอบสนองการอักเสบทั่วร่างกายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปใช้ในการประเมินและเฝ้าระวังภาวะการตอบสนองการอักเสบทั่วร่างกายในผู้ป่วยสูงอายุ และมีโรคร่วมหลายโรค เพื่อรายงานภาวะดังกล่าวแก่ทีมสุขภาพและให้การดูแลที่ีเหมาะสมต่อไป Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24987 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างอายุ ดัชนีมวลกาย และโรคร่วมกับการเกิดภาวะการตอบสนองการอักเสบทั่วร่ายกาย = Relationships between age body mass index comorbidity and systemic inflammatory response syndrome in patients with respiratory infection at an emergency unit : ในผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจที่ห้องฉุกเฉิน [printed text] / ทิฏฐิ ศรีวิสัย, Author ; วันเพ็ญ ภิญโญภาสกุล, Author ; วิชชุดา เจริญกิจการ, Author . - 2015 . - pp.186-197.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.186-197.Keywords: การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ.การตอบสนองการอักเสบทั่วร่างกาย อายุดัชนี.มวลกาย. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอายุ ดัชนนีมวลกาย และโรคร่วมกับการเกิดภาวะการตอบสนองการอักเสบทั่วร่างกาน โดยใช้ทฤษฏีการปรับตัวของรอยเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อหรือสงสัย ว่ามีการติดเชื้อในระบบทางเดินอาหารหายใจส่วนล่างที่ห้องฉุกเฉิน จำนวน 85 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัียแบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ แบบประเมินการตอบสนองการอักเสบทั่วร่างกาย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานย และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แบบเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ค่ามัธยฐานอายุเท่ากับ 59 ปี อายุและโรคร่วมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะการตอบสนองการอักเสบทั่วร่างกายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อย่างไรก็ตามดัชนีมวลกายไม่มีความสัมพันธ์กับการตอบสนองการอักเสบทั่วร่างกายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปใช้ในการประเมินและเฝ้าระวังภาวะการตอบสนองการอักเสบทั่วร่างกายในผู้ป่วยสูงอายุ และมีโรคร่วมหลายโรค เพื่อรายงานภาวะดังกล่าวแก่ทีมสุขภาพและให้การดูแลที่ีเหมาะสมต่อไป Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24987 พฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 / หนึ่งฤทัย จันทร์อินทร์ in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 ([10/13/2015])
[article]
Title : พฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 Original title : Foot care behavior of older persons with types 2 Diabets Material Type: printed text Authors: หนึ่งฤทัย จันทร์อินทร์, Author Publication Date: 2015 Article on page: 199-212 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - 199-212Keywords: เบาหวานชนิดที่ 2.พฤตจิกรรมการดูแลเท้า.การดูแลตนเอง.ผู้สูงอายุ. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 โดยใช้กรอบแนวคิดการดูแลตนเองของโอเร็ม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับการตรวจรักษาที่ศูนย์เบาหวาน โรงพยาบาลตากสิน เลิือกแบบเจาะจง จำนวน 78 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ตามแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างที่ผุ้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างจำนวน 78 ราย เป็นพศชาย และเพศหญิงจำนวนเท่ากัน อายุเฉลี่ย 68.64 ปี กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่แตกต่างจากเดิมหลังรู้ว่าเป็นเบาหวาน คือ ให้ความสำคัญกับการดูลเท้ามากขึ้น มีการตรวจเท้าด้วยตนเอง เพื่อหาความผิดปกติของเท้า เนื่องจากความกลัวการถูกตัดนิ้ว ตัดขา มีการป้องกันการเกิดแผลที่เท้าโดยการทาครีมทาผิวที่เท้า ตัดเล็บแนวตรงไม่งัดแงะซอกเล็บ แต่มีบางรายที่มีการแช่เท้าในน่้ำอุ่น โดยไม่ทราบถึงผลเสีน นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างมีปัญหาตามัว มองไม่ชัด และมีภาวะอ้สนลงพุง ทำให้ก้มดูแลเท้าไม่สะดวก แต่มีความคิดริเริ่มใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเพื่อช่วยในการมองเห็นให้ชัดขึ้น หรือขอให้ญาติเป็นผู้ตรวจดูเท้าให้ จากข้อมูลเหล่านี้ แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างกระทำการดูแลตนเองอย่างมีเป้าหมาย มีการไตร่ตรอง และมีทักษะในการปรับการปฏิบัติการดูแลตนเองด้วยวิธีต่าง ๆ รวมทั้งสอดแทรดการดูแลตนเองเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในแบบแผนการดำเนินชีวิต ผลการวิจัยครั้งนี้ทำให้เข้าใจพฤติกรรมและปัญหาในการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 และสามารถนำไปวางแผนการดูแลให้สอดคล้่องกับพฤติกรรม และแบบแผนกาาดำเนินชีวิตตามบริบททางสังคมของผู้สูงอายุเพื่อให้เกิดพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ดียิ่งขึ้น Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24988 [article] พฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 = Foot care behavior of older persons with types 2 Diabets [printed text] / หนึ่งฤทัย จันทร์อินทร์, Author . - 2015 . - 199-212.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - 199-212Keywords: เบาหวานชนิดที่ 2.พฤตจิกรรมการดูแลเท้า.การดูแลตนเอง.ผู้สูงอายุ. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 โดยใช้กรอบแนวคิดการดูแลตนเองของโอเร็ม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับการตรวจรักษาที่ศูนย์เบาหวาน โรงพยาบาลตากสิน เลิือกแบบเจาะจง จำนวน 78 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ตามแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างที่ผุ้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างจำนวน 78 ราย เป็นพศชาย และเพศหญิงจำนวนเท่ากัน อายุเฉลี่ย 68.64 ปี กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่แตกต่างจากเดิมหลังรู้ว่าเป็นเบาหวาน คือ ให้ความสำคัญกับการดูลเท้ามากขึ้น มีการตรวจเท้าด้วยตนเอง เพื่อหาความผิดปกติของเท้า เนื่องจากความกลัวการถูกตัดนิ้ว ตัดขา มีการป้องกันการเกิดแผลที่เท้าโดยการทาครีมทาผิวที่เท้า ตัดเล็บแนวตรงไม่งัดแงะซอกเล็บ แต่มีบางรายที่มีการแช่เท้าในน่้ำอุ่น โดยไม่ทราบถึงผลเสีน นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างมีปัญหาตามัว มองไม่ชัด และมีภาวะอ้สนลงพุง ทำให้ก้มดูแลเท้าไม่สะดวก แต่มีความคิดริเริ่มใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเพื่อช่วยในการมองเห็นให้ชัดขึ้น หรือขอให้ญาติเป็นผู้ตรวจดูเท้าให้ จากข้อมูลเหล่านี้ แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างกระทำการดูแลตนเองอย่างมีเป้าหมาย มีการไตร่ตรอง และมีทักษะในการปรับการปฏิบัติการดูแลตนเองด้วยวิธีต่าง ๆ รวมทั้งสอดแทรดการดูแลตนเองเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในแบบแผนการดำเนินชีวิต ผลการวิจัยครั้งนี้ทำให้เข้าใจพฤติกรรมและปัญหาในการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 และสามารถนำไปวางแผนการดูแลให้สอดคล้่องกับพฤติกรรม และแบบแผนกาาดำเนินชีวิตตามบริบททางสังคมของผู้สูงอายุเพื่อให้เกิดพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ดียิ่งขึ้น Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24988 ผลของโปรแกรมการพยาบาลผสมผสานนันทการบำบัดต่อความรู้สึกว้าเหว่ / อนัญญา เหล่ารินทอง in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 ([10/13/2015])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการพยาบาลผสมผสานนันทการบำบัดต่อความรู้สึกว้าเหว่ : ของผู้สูงอายุที่อาศัยในชุมชน Material Type: printed text Authors: อนัญญา เหล่ารินทอง, Author ; จิราพร เกศพิชญวัฒนา, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.214-227 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.214-227Keywords: ความว้าเหว่.นันทนการบำบัด.ผู้สูงอายุ. Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความว้าเหว่ของผู้สูงอายุภายในกลุุ่มที่ได้รับโปรแกรมการพยาบาลผสมผสานนันทนาการบำบัดก่อนและหลังการทดลอง และเปรียบเทียบความว้าเหว่ของผู้สูงอายุกลุ่มที่ได้รับโปรแกรม และกลุ่มที่รับการพยาบาลปกติ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุที่มีอายุระหว่าง 60-79 ปี ที่อาศัยอยู่ในชุมชน จำนวน 40 ราย มีความว้าเหว่ระดับปานกลางและมีคุณสมบัติตามกำหนด แบ่งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมเป็นกลุ่มละ 20 ราย โดยทำการจับคู่ด้าน เพศ อายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา และระดับความว้าเหว่ ทั้งนี้กลุ่มทดลองเข้าร่วมโปรแกรมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ครั้งละ 90 นาที รวม 12 ครั้ง โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัน ได้แก่ 1 เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือโปรแกรมการพยาบาลผสมผสาน นันทนาการบำบัดตามแนวคิดของเคลเลอร์ และฮัดสัน 2 เคริื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และแบบวัดความว้าเหว่ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า คะแนนเฉลี่ยความว้าเหว่ของผู้สูงอายุหลังเข้าร่วมโปรแกรมการพยาบาลผสมผสานนันทนาการบำบัดสามารถนำไปใช้กับผู้สูงอายุที่มีความว้าเหว่ ทั้งนี้ผู้ปกิบัติควรพิจารณาวิถีชีวิต และบริบทของผู้สูงอายุควบคู่ไปด้วย Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24990 [article] ผลของโปรแกรมการพยาบาลผสมผสานนันทการบำบัดต่อความรู้สึกว้าเหว่ : ของผู้สูงอายุที่อาศัยในชุมชน [printed text] / อนัญญา เหล่ารินทอง, Author ; จิราพร เกศพิชญวัฒนา, Author . - 2015 . - pp.214-227.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.214-227Keywords: ความว้าเหว่.นันทนการบำบัด.ผู้สูงอายุ. Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความว้าเหว่ของผู้สูงอายุภายในกลุุ่มที่ได้รับโปรแกรมการพยาบาลผสมผสานนันทนาการบำบัดก่อนและหลังการทดลอง และเปรียบเทียบความว้าเหว่ของผู้สูงอายุกลุ่มที่ได้รับโปรแกรม และกลุ่มที่รับการพยาบาลปกติ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุที่มีอายุระหว่าง 60-79 ปี ที่อาศัยอยู่ในชุมชน จำนวน 40 ราย มีความว้าเหว่ระดับปานกลางและมีคุณสมบัติตามกำหนด แบ่งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมเป็นกลุ่มละ 20 ราย โดยทำการจับคู่ด้าน เพศ อายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา และระดับความว้าเหว่ ทั้งนี้กลุ่มทดลองเข้าร่วมโปรแกรมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ครั้งละ 90 นาที รวม 12 ครั้ง โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัน ได้แก่ 1 เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือโปรแกรมการพยาบาลผสมผสาน นันทนาการบำบัดตามแนวคิดของเคลเลอร์ และฮัดสัน 2 เคริื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และแบบวัดความว้าเหว่ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า คะแนนเฉลี่ยความว้าเหว่ของผู้สูงอายุหลังเข้าร่วมโปรแกรมการพยาบาลผสมผสานนันทนาการบำบัดสามารถนำไปใช้กับผู้สูงอายุที่มีความว้าเหว่ ทั้งนี้ผู้ปกิบัติควรพิจารณาวิถีชีวิต และบริบทของผู้สูงอายุควบคู่ไปด้วย Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24990 การประเมินโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านต่อพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัย / สุมาลา สว่างจิต in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 ([10/13/2015])
[article]
Title : การประเมินโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านต่อพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัย : และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแล Original title : Evaluation of read to live program on language development during early childhood period and caregiver reading related behaviors Material Type: printed text Authors: สุมาลา สว่างจิต, Author ; ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.229-242 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.229-242Keywords: โครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่าน.พัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัย.พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อวกับการอ่าน ผู้ดูแล. Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาประสิทธิผลของโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านโดยเปรียบเทียบความแต่กต่างของการพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัยกลุุ่มที่เข้าร่วมและกลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการ และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแลเด็กกลุ่มที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการ และศึกษาความคิดเห็นเก่ยวกับความเหมาะสมของโครงการในกลุ่มผู้ดูแลเด็กทีี่เข้าร่วมโครงการ กลุ่มตัวอย่างงเป็นเด็กอายุ 1 ปี 6 เดือน ถึง 2 ปี จำนวน 64 ราย และผู้ดูแลของเด็กจำนวน 64 ราย ที่มารับบริการที่หน่วนตรวจผู้ป่วยนอกกุมารเวชศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี เป็นกลุ่มทดลอง 32 คู่ กลุ่มควบคุม 32 คู่ ผลการศึกษา พบว่า เด็กกลุ่มที่เข้าร่วมโครงการมีคะแนนเฉลี่ยพัฒนาการด้านภาษาสูงกว่า เด็กกลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผู้ดูแลเด็กกลุ่มที่เข้ารน่วมโครงการมีความคิดเห็นว่าเนื้อหาของโครงการ หนังสือที่แจกในโครงการ กิจกรรม ระยะเวลาในการทำกิจกรรมมีความเหมาะสมในระดับมากถึงมากที่สด และโครงการนี้ทำให้มีความรู้เกี่ยวกับการอ่านหนังสือให้เด็กฟังเพิ่มมากขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติในระดับมากถึงมากที่สุด ส่วนคำแนะนำที่ได้รับจากโครงการมีความเข้าใจง่ายในระดับปานกลางถึงมาก และมีความพึงพอใจโครงการในภาพรวมในระดับมากที่สุด ดังนั้นจึงควรส่งเสริมให้มีโครงการส่งเสริมการพัฒนาการผ่านการอ่านในโรงพยาบาลหรือสถานบริการสุขภาพอื่น Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24991 [article] การประเมินโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านต่อพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัย = Evaluation of read to live program on language development during early childhood period and caregiver reading related behaviors : และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแล [printed text] / สุมาลา สว่างจิต, Author ; ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล, Author . - 2015 . - pp.229-242.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.229-242Keywords: โครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่าน.พัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัย.พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อวกับการอ่าน ผู้ดูแล. Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาประสิทธิผลของโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านโดยเปรียบเทียบความแต่กต่างของการพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัยกลุุ่มที่เข้าร่วมและกลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการ และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแลเด็กกลุ่มที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการ และศึกษาความคิดเห็นเก่ยวกับความเหมาะสมของโครงการในกลุ่มผู้ดูแลเด็กทีี่เข้าร่วมโครงการ กลุ่มตัวอย่างงเป็นเด็กอายุ 1 ปี 6 เดือน ถึง 2 ปี จำนวน 64 ราย และผู้ดูแลของเด็กจำนวน 64 ราย ที่มารับบริการที่หน่วนตรวจผู้ป่วยนอกกุมารเวชศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี เป็นกลุ่มทดลอง 32 คู่ กลุ่มควบคุม 32 คู่ ผลการศึกษา พบว่า เด็กกลุ่มที่เข้าร่วมโครงการมีคะแนนเฉลี่ยพัฒนาการด้านภาษาสูงกว่า เด็กกลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผู้ดูแลเด็กกลุ่มที่เข้ารน่วมโครงการมีความคิดเห็นว่าเนื้อหาของโครงการ หนังสือที่แจกในโครงการ กิจกรรม ระยะเวลาในการทำกิจกรรมมีความเหมาะสมในระดับมากถึงมากที่สด และโครงการนี้ทำให้มีความรู้เกี่ยวกับการอ่านหนังสือให้เด็กฟังเพิ่มมากขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติในระดับมากถึงมากที่สุด ส่วนคำแนะนำที่ได้รับจากโครงการมีความเข้าใจง่ายในระดับปานกลางถึงมาก และมีความพึงพอใจโครงการในภาพรวมในระดับมากที่สุด ดังนั้นจึงควรส่งเสริมให้มีโครงการส่งเสริมการพัฒนาการผ่านการอ่านในโรงพยาบาลหรือสถานบริการสุขภาพอื่น Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24991 ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันภาวะกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล / ธัชมน สินสูงสุด in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 ([10/13/2015])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันภาวะกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล Original title : Factors predicting preventive behavior for the osteroporosis in university students Material Type: printed text Authors: ธัชมน สินสูงสุด, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.244-257 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.244-257Keywords: โรคกระดูกพรุน.ึความเชื่อมั่นในตนเอง.พฤติกรรมการป้องกันโรค.นักศึกษาพยาบาล. Abstract: การศึกษาเชิงทำนาpบครั้งนี้ เพื่อ 1.สำรวจความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อโลกกระดูกพรุน และพฤติกรรมการป้องกะรโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล 2.ศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล ประชากร คือ นักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง จำนวน 746 ราย เก็บข้อมูลโดยการตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง ประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และแบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติอ้างอิง พบว่า นักศึกษาพยาบาล ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 98.30) อายุเฉลี่ย 19.86 1.26 ปี มีความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนและระดับการศึกษาร่วมกันทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาลได้อย่างมีนัยสำคัญ โดยสามารถทำนายความแปรปรวนของพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุรได้ร้อยละ35.20 ผลการศึกษานี้เป็นแนวทางในการ จัดโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุน โดยเพิ่มความเชื่อมั่นในตนเองของนักศึกษาพยาบาลในด้านการออกกำลังกายและการรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และธำรงไว้ซึ่งพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องกันโรคกกระดูกพรุน รวมทั้งเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านสุขภาพ Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24992 [article] ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันภาวะกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล = Factors predicting preventive behavior for the osteroporosis in university students [printed text] / ธัชมน สินสูงสุด, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author . - 2015 . - pp.244-257.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.244-257Keywords: โรคกระดูกพรุน.ึความเชื่อมั่นในตนเอง.พฤติกรรมการป้องกันโรค.นักศึกษาพยาบาล. Abstract: การศึกษาเชิงทำนาpบครั้งนี้ เพื่อ 1.สำรวจความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อโลกกระดูกพรุน และพฤติกรรมการป้องกะรโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล 2.ศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล ประชากร คือ นักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง จำนวน 746 ราย เก็บข้อมูลโดยการตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง ประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และแบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติอ้างอิง พบว่า นักศึกษาพยาบาล ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 98.30) อายุเฉลี่ย 19.86 1.26 ปี มีความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนและระดับการศึกษาร่วมกันทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาลได้อย่างมีนัยสำคัญ โดยสามารถทำนายความแปรปรวนของพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุรได้ร้อยละ35.20 ผลการศึกษานี้เป็นแนวทางในการ จัดโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุน โดยเพิ่มความเชื่อมั่นในตนเองของนักศึกษาพยาบาลในด้านการออกกำลังกายและการรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และธำรงไว้ซึ่งพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องกันโรคกกระดูกพรุน รวมทั้งเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านสุขภาพ Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24992 ผลของโปรแกรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตต่อความวิตกกังวลของนักศึกษาพยาบาล / กนกพร เรืองเพิ่มพูล in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 ([10/13/2015])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตต่อความวิตกกังวลของนักศึกษาพยาบาล Original title : Effects of resillience-enhancing program on anxiety of nursing students Material Type: printed text Authors: กนกพร เรืองเพิ่มพูล, Author ; นฤมล สมรรคเสวี, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp259-273. Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp259-273.Keywords: นักศึกษาพยาบาล.โปรแกรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต.ความวิตกกังวล. Abstract: การวิจัยแบบกึ่งทดลองครั้งนี้ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต และความวิตกกังวลของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาล จำนวน 30 ราย ชั้นปีทีีื 1 ของสถาบันการศึกษาพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการอาสาสมัคร แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง อย่างละ 15 ราย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต ส่วนกลุ่มควบคุมเข้าร่วมกิจกรรมที่มหาวิทยาลัยจัดให้ตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย โปรแกรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินความแข็งแกร่งในชีวิต และแบบวัดความวิตกกังวล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสถิติที พบว่า 1. หลังการทดลองนักศึกษาในกลุ่มทดลองมีค่าคะแนนเฉลี่ยคะแนนความแข็งแกร่งในชีวิตสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. หลังการทดลองนักศึกษาในกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนความวิตกกังวลต่ำกว่าก่อนการเข้าดปรแกรม และต่ำกว่าก่อนการเข้าร่วมโปรแกรม และต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตสามารถเพิ่มความแข็งแกร่งในชีวิตและลดความวิตกกังวลในนักศึกษาพยาบาลได้ Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24993 [article] ผลของโปรแกรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตต่อความวิตกกังวลของนักศึกษาพยาบาล = Effects of resillience-enhancing program on anxiety of nursing students [printed text] / กนกพร เรืองเพิ่มพูล, Author ; นฤมล สมรรคเสวี, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author . - 2015 . - pp259-273.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp259-273.Keywords: นักศึกษาพยาบาล.โปรแกรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต.ความวิตกกังวล. Abstract: การวิจัยแบบกึ่งทดลองครั้งนี้ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต และความวิตกกังวลของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาล จำนวน 30 ราย ชั้นปีทีีื 1 ของสถาบันการศึกษาพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการอาสาสมัคร แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง อย่างละ 15 ราย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต ส่วนกลุ่มควบคุมเข้าร่วมกิจกรรมที่มหาวิทยาลัยจัดให้ตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย โปรแกรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินความแข็งแกร่งในชีวิต และแบบวัดความวิตกกังวล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสถิติที พบว่า 1. หลังการทดลองนักศึกษาในกลุ่มทดลองมีค่าคะแนนเฉลี่ยคะแนนความแข็งแกร่งในชีวิตสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. หลังการทดลองนักศึกษาในกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนความวิตกกังวลต่ำกว่าก่อนการเข้าดปรแกรม และต่ำกว่าก่อนการเข้าร่วมโปรแกรม และต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตสามารถเพิ่มความแข็งแกร่งในชีวิตและลดความวิตกกังวลในนักศึกษาพยาบาลได้ Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24993 การประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2554 / อติญาณ์ ศรเกษตริน in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 ([10/13/2015])
[article]
Title : การประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2554 : ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ: กรณีศึกษา Material Type: printed text Authors: อติญาณ์ ศรเกษตริน, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.275-286 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.275-286Keywords: การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค.การบริหารงบประมาณ.การประเมินผล.การมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข. Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1 แนวทางการบริหารงบประมาณการดำเนินงานการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคสำหรับพื้นที่ชุมชน 2. การมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการบริหารงบประมาณสำหรับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค 3. ประเมินผลลัพธ์การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 11 สุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานงบประมาณ และการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม และแแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา และสถิติเชิงพรรณา ผลการศึกษา พบว่า แนวทางการบริหารงบประมาณการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระดับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเน้นการจัดทำแผนแบบบูรณาการตามนโยบายรัฐและระเบียบวาระแห่งชาติ มีการจัดทำแผนแบบบูรณาการตามนโยบายของรัฐบาลและระเบียบวาระแห่งชาต มีการจัดทำแผนงานตามโครงการตามสภาพปัญหาของพื้นที่ในแต่ละจังหวัด ตามงบประมาณรายหัวประชากร สำหรับระดับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบลส่วนใหญ่เป็นการบูรณาการกับงบประมาณส่วนอื่น ๆ เพื่อให้ดำเนินงานได้ครอบคลุม ผลของการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่สาธารณาสุขในการบริหารงบประมาณดำเนินการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคมีส่วนร่วมในระดับปานกลาง ผลลัพธ์การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค พบว่า มีการดำเนินการไม่เท่ากันและในบางตัวชี้วัดงานสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในทุกตัวชี้วัด โดยแต่ะละพื้นที่มีผลดำเนินการไม่เท่ากันและในบางตัวชี้วัดไม่มีการติดตามผลภายหลังการดำเนินการ ข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษารูปแบบการบริหารกาารดำเนินการสุขภาพและป้องกันโรคและผลลัพธ์การดำเนินงานของพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละเขตพื้นที่ Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24994 [article] การประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2554 : ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ: กรณีศึกษา [printed text] / อติญาณ์ ศรเกษตริน, Author . - 2015 . - pp.275-286.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.275-286Keywords: การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค.การบริหารงบประมาณ.การประเมินผล.การมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข. Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1 แนวทางการบริหารงบประมาณการดำเนินงานการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคสำหรับพื้นที่ชุมชน 2. การมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการบริหารงบประมาณสำหรับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค 3. ประเมินผลลัพธ์การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 11 สุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานงบประมาณ และการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม และแแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา และสถิติเชิงพรรณา ผลการศึกษา พบว่า แนวทางการบริหารงบประมาณการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระดับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเน้นการจัดทำแผนแบบบูรณาการตามนโยบายรัฐและระเบียบวาระแห่งชาติ มีการจัดทำแผนแบบบูรณาการตามนโยบายของรัฐบาลและระเบียบวาระแห่งชาต มีการจัดทำแผนงานตามโครงการตามสภาพปัญหาของพื้นที่ในแต่ละจังหวัด ตามงบประมาณรายหัวประชากร สำหรับระดับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบลส่วนใหญ่เป็นการบูรณาการกับงบประมาณส่วนอื่น ๆ เพื่อให้ดำเนินงานได้ครอบคลุม ผลของการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่สาธารณาสุขในการบริหารงบประมาณดำเนินการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคมีส่วนร่วมในระดับปานกลาง ผลลัพธ์การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค พบว่า มีการดำเนินการไม่เท่ากันและในบางตัวชี้วัดงานสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในทุกตัวชี้วัด โดยแต่ะละพื้นที่มีผลดำเนินการไม่เท่ากันและในบางตัวชี้วัดไม่มีการติดตามผลภายหลังการดำเนินการ ข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษารูปแบบการบริหารกาารดำเนินการสุขภาพและป้องกันโรคและผลลัพธ์การดำเนินงานของพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละเขตพื้นที่ Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24994