From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
กระบวนการติดเฮโรอีน / รักซ้อน รัตน์วิจิตต์เวช / บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ - 2538
Title : กระบวนการติดเฮโรอีน Original title : The processes of heroin addiction Material Type: printed text Authors: รักซ้อน รัตน์วิจิตต์เวช, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Publication Date: 2538 Pagination: 201 หน้า. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: ปริญญานิพนธ์ (ศศ.ด (พัฒนศึกษาศาสตร์))-- มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2538 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่สังคม
[LCSH]การติดเฮโรอีน
[LCSH]ยาเสพติดกับเยาวชนKeywords: เฮโรอีน.
การเสพยา.Class number: WM270 ร711 2538 Abstract: การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการใช้การสัมภาษณ์ระดับลึก รายละเอียดประวัติชีวิตของกลุ่มผู้ติดยาเสพติดเกี่ยวกับประสบการณ์ชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเข้าสู่กระบวนการติดเฮโรอีนและทัศนะของพวกเขาเกี่ยวกับเงื่อนไขที่เกิดขึ้นในชีวิตที่ทำให้เขาเป็นผู้ติดเฮโรอีน กลุ่มตัวอย่างได้จากการเลือกแบบเชิงทฤษฎีจากเยาวชนผู้ติดเฮโรอีนที่มารับบริการบำบัดรักษาที่คลินิคยาเสพติด โดยการถอนพิษยด้วยเมทาโดน เพศชาย อายุระหว่าง 15-25 ปี จำนวนทั้งหมด 32 ราย
ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการติดเฮโรอีนของเยาวชนประกอบด้วยขั้นตอนต่อเนื่องดังนี้
1.ขั้นเริ่มต้นเสพ เงื่อนไขที่ทำให้เยาวชนเข้าสู่ขั้นเริ่มต้นเสพ ได้แก่ เงื่อนไขด้านบุคคล เงื่อนไขด้านเพื่อน เงื่อนไขด้านครอบครัว เงื่อนไขด้านโรงเรียน เงื่อนไขเีกี่ยวกับเฮโรอีน และเงื่อนไขเสพด้วยความไม่รู้
2. ขั้นเสพต่อเนื่อง เงื่อนไขที่ทำให้เยาวชนเมื่อผ่านขั้นเริ่มต้นเสพแล้วมีการเสพต่อเนื่อง ได้แก่ ความรู้สึกเคลิบเคลิ้มสุขสบาย การประเมินความรู้สึกตนเอง การอธิบายเหตุผล การปฎิสังสรรค์กับเพื่อนที่เสพเฮโรอีน การหลีกเลี่ยงกลุ่มอาการเนื่องจากการหยุดยา และติดใจรสชาดของเฮโรอีน
ผลการวิจัยพบว่า มีเงื่อนไขที่ทำให้กระบวนการติดเฮโรอีนถูกชะลอให้ช้าออกไป ได้แก่ การให้ความหมายในเชิงลบ การไม่รู้วิธีเสพที่ถูกต้อง และเงื่อนไขด้านสถานการณ์ที่ไม่เอื้อต่อการเสพเฮโรอีนต่อ
นอกจากนั้น การธำรงการเป็นผู้ติดเฮโรอีนขึ้นอยู่กับการยอมรับและให้นิยามตนเอง เครือข่ายสัมพันธ์ ลักษณะความสัมพันธ์ การถูกประทับตรา และการมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนแบบซ่อนเร้นด้วยการแสดงตัวเหมือนคนอื่น ๆ เป็นต้น
ผลการวิจัยนี้ นำไปสู่ข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การป้องกันและให้การศึกษาเกี่ยวกับการใช้ยาเสพติด การบำบัดรักษา การฟื้นฟูสมรรถภาพ การติดตามผล และการดูแลภายหลังการบำบัดรักษา ผลการวิจัยนี่จะเป็นประโยชน์ต่อพ่อ แม่ ครู อาจารย์ นักเรียน และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาเสพติดCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23292 กระบวนการติดเฮโรอีน = The processes of heroin addiction [printed text] / รักซ้อน รัตน์วิจิตต์เวช, Author . - กรุงเทพ ฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2538 . - 201 หน้า. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค.
ปริญญานิพนธ์ (ศศ.ด (พัฒนศึกษาศาสตร์))-- มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2538
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่สังคม
[LCSH]การติดเฮโรอีน
[LCSH]ยาเสพติดกับเยาวชนKeywords: เฮโรอีน.
การเสพยา.Class number: WM270 ร711 2538 Abstract: การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการใช้การสัมภาษณ์ระดับลึก รายละเอียดประวัติชีวิตของกลุ่มผู้ติดยาเสพติดเกี่ยวกับประสบการณ์ชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเข้าสู่กระบวนการติดเฮโรอีนและทัศนะของพวกเขาเกี่ยวกับเงื่อนไขที่เกิดขึ้นในชีวิตที่ทำให้เขาเป็นผู้ติดเฮโรอีน กลุ่มตัวอย่างได้จากการเลือกแบบเชิงทฤษฎีจากเยาวชนผู้ติดเฮโรอีนที่มารับบริการบำบัดรักษาที่คลินิคยาเสพติด โดยการถอนพิษยด้วยเมทาโดน เพศชาย อายุระหว่าง 15-25 ปี จำนวนทั้งหมด 32 ราย
ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการติดเฮโรอีนของเยาวชนประกอบด้วยขั้นตอนต่อเนื่องดังนี้
1.ขั้นเริ่มต้นเสพ เงื่อนไขที่ทำให้เยาวชนเข้าสู่ขั้นเริ่มต้นเสพ ได้แก่ เงื่อนไขด้านบุคคล เงื่อนไขด้านเพื่อน เงื่อนไขด้านครอบครัว เงื่อนไขด้านโรงเรียน เงื่อนไขเีกี่ยวกับเฮโรอีน และเงื่อนไขเสพด้วยความไม่รู้
2. ขั้นเสพต่อเนื่อง เงื่อนไขที่ทำให้เยาวชนเมื่อผ่านขั้นเริ่มต้นเสพแล้วมีการเสพต่อเนื่อง ได้แก่ ความรู้สึกเคลิบเคลิ้มสุขสบาย การประเมินความรู้สึกตนเอง การอธิบายเหตุผล การปฎิสังสรรค์กับเพื่อนที่เสพเฮโรอีน การหลีกเลี่ยงกลุ่มอาการเนื่องจากการหยุดยา และติดใจรสชาดของเฮโรอีน
ผลการวิจัยพบว่า มีเงื่อนไขที่ทำให้กระบวนการติดเฮโรอีนถูกชะลอให้ช้าออกไป ได้แก่ การให้ความหมายในเชิงลบ การไม่รู้วิธีเสพที่ถูกต้อง และเงื่อนไขด้านสถานการณ์ที่ไม่เอื้อต่อการเสพเฮโรอีนต่อ
นอกจากนั้น การธำรงการเป็นผู้ติดเฮโรอีนขึ้นอยู่กับการยอมรับและให้นิยามตนเอง เครือข่ายสัมพันธ์ ลักษณะความสัมพันธ์ การถูกประทับตรา และการมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนแบบซ่อนเร้นด้วยการแสดงตัวเหมือนคนอื่น ๆ เป็นต้น
ผลการวิจัยนี้ นำไปสู่ข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การป้องกันและให้การศึกษาเกี่ยวกับการใช้ยาเสพติด การบำบัดรักษา การฟื้นฟูสมรรถภาพ การติดตามผล และการดูแลภายหลังการบำบัดรักษา ผลการวิจัยนี่จะเป็นประโยชน์ต่อพ่อ แม่ ครู อาจารย์ นักเรียน และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาเสพติดCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23292 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357044 THE WM270 ร711 2538 Book Main Library General Shelf Available รายงานการวิจัยเรื่อง พฤติกรรมการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาลของผู้ป่วยติดสารเสพติดวัยรุ่นชาย / สำเนา มากแบน / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง พฤติกรรมการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาลของผู้ป่วยติดสารเสพติดวัยรุ่นชาย : ในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ Material Type: printed text Authors: สำเนา มากแบน, Author ; สมบัติ มากัน, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: ก-ฉ, 64 แผ่น Layout: ตารางประกอบ. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-022-2 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่สังคม
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัดKeywords: การลักลอบ.
การหนี.
ผู้ติดยา.Class number: WM270 ส825 2544 Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึุกษา ปัจจัยหรือเงื่อนไข และวิธีการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาลของผู้ป่วยติดสารเสพติดวันรุ่นชายในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ วิธีการศึกษาใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลหลักคือ ผู้ป่วยติดสารเสพติดวัยุรุ่นชายที่เคยบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ และถูกให้ออกจากโรงพยาบาล เนื่องจากฝ่าฝืนกฎระเบียบของโรงพยาบาลโดยการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาล จำนวน 10 คน ผลการศึกษามีดังนี้
เงื่อนไขในการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาล เพื่อต้องการไปนำบุหรี่/ยาเส้นเข้ามาในโรงพยาบาล ซึ่งนโยบายในการบำบัดรักษาผู้ป่วยติดสารเสพติดของโรงพยาบาลธัญญารักษ์นอกจากให้ผู้ป่วยสามารถเลิกเสพสารเสพติดได้แล้ว ยังต้องการให้ผู้ป่วยเลิกสูบบุหรี่ด้วย แต่ผู้ป่วยที่ติดสารเสพติดส่วนใหญ่จะติดบุหรีด้วย ซึ่งการสูบบุหรีส่วนมากมาจากความเคยชิน ทำให้ยากต่อการละเลิก เมื่อผู้ป่วยมีความต้องการอยากสูบบุหรีมากจนไม่สามารถทนต่ออาการนั้นได้ จึงตัดสินใจลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาล และต้องได้รับการยอมรับจากเพื่อน
วิธีการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาล จะทำเป็นกระบวนการและเป็นจั้นตอน 3 ขั้นตอน คือ
ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียมการ เริ่มจากการหาผู้ที่จะทำการลักลอบหนีโดยเป็นผู้ที่มีความรู้สึกอยากสูบบุหรีมาก หรือผู้ที่เคยทำการลักลอบหนีออกได้สำเร็จ ผู้ทำหน้าที่รวบรวมสิ่งของอุปโภค บริโภค เพื่อนำไปแลกเปลี่ยนเป็นยาเส้น ผู้ที่ทำการลักลอบจะเตรียมตัวโดยการเตรียมเสื้อผ้าสำหรับแลกเปลี่ยนและศึกษาเส้นทางที่จะลักลอบหนี มีการวางแผน เพื่อไม่ให้เจ้าหน้าที่สงสัย
ขั้นที่ 2 เป็นขั้นดำเนินการ จะเลือกเวลาที่ปลอดภัยมากที่สุด เป็นเวลาที่เจ้าหน้าที่ปฎิบัติงานน้อย ผู้ป่วยจะทำการลักลอบทั้งในเวลากลางวัน และกลางคืน โดยการปืนกำแพงโรงพยาบาลออกไปซื้อหรือแลกเปลี่ยนบุหรี/ยาเส้น ที่ร้านค้าบริเวณอพาร์ทเม้นต์หลังโรงพยาบาลและจะกลับเข้ามาในโรงพยาบาลในช่องทางเดียวกับช่องทางที่ออก
ขั้นที่ 3 เป็นขั้นการจำหน่าย เืมื่อได้บุหรี/ยาเส้นมาแล้วจะแจกจ่ายให้กับผู้ที่ฝากสิ่งของไปแลกและนำมาแบ่งปันกันสูบ มีบางคนจะจำหน่ายให่กับผู้ป่วยอื่นต่อในราคาที่สูง
แนวทางการแก้ไข โดยการปรับเปลี่ยนกฎของโรงพยาบาล พัฒนาพืั้นที่บริเวณโดยรอบโรงพยาบาล จัดให้มีป้อมยามพร้อมเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยปฎิบัติหน้าที่บริเวณด้านหลังหอผู้ป่วยอย่างน้อย 1 จุด และปฎิบัติการพยาบาลผู้ป่วยด้วยความเข้าใจ และเห็นอกเห็นใจ สอดส่อง ระมัดระวังผู้ที่มีพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาลCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23294 รายงานการวิจัยเรื่อง พฤติกรรมการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาลของผู้ป่วยติดสารเสพติดวัยรุ่นชาย : ในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ [printed text] / สำเนา มากแบน, Author ; สมบัติ มากัน, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - ก-ฉ, 64 แผ่น : ตารางประกอบ. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-022-2 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่สังคม
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัดKeywords: การลักลอบ.
การหนี.
ผู้ติดยา.Class number: WM270 ส825 2544 Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึุกษา ปัจจัยหรือเงื่อนไข และวิธีการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาลของผู้ป่วยติดสารเสพติดวันรุ่นชายในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ วิธีการศึกษาใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลหลักคือ ผู้ป่วยติดสารเสพติดวัยุรุ่นชายที่เคยบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ และถูกให้ออกจากโรงพยาบาล เนื่องจากฝ่าฝืนกฎระเบียบของโรงพยาบาลโดยการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาล จำนวน 10 คน ผลการศึกษามีดังนี้
เงื่อนไขในการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาล เพื่อต้องการไปนำบุหรี่/ยาเส้นเข้ามาในโรงพยาบาล ซึ่งนโยบายในการบำบัดรักษาผู้ป่วยติดสารเสพติดของโรงพยาบาลธัญญารักษ์นอกจากให้ผู้ป่วยสามารถเลิกเสพสารเสพติดได้แล้ว ยังต้องการให้ผู้ป่วยเลิกสูบบุหรี่ด้วย แต่ผู้ป่วยที่ติดสารเสพติดส่วนใหญ่จะติดบุหรีด้วย ซึ่งการสูบบุหรีส่วนมากมาจากความเคยชิน ทำให้ยากต่อการละเลิก เมื่อผู้ป่วยมีความต้องการอยากสูบบุหรีมากจนไม่สามารถทนต่ออาการนั้นได้ จึงตัดสินใจลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาล และต้องได้รับการยอมรับจากเพื่อน
วิธีการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาล จะทำเป็นกระบวนการและเป็นจั้นตอน 3 ขั้นตอน คือ
ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียมการ เริ่มจากการหาผู้ที่จะทำการลักลอบหนีโดยเป็นผู้ที่มีความรู้สึกอยากสูบบุหรีมาก หรือผู้ที่เคยทำการลักลอบหนีออกได้สำเร็จ ผู้ทำหน้าที่รวบรวมสิ่งของอุปโภค บริโภค เพื่อนำไปแลกเปลี่ยนเป็นยาเส้น ผู้ที่ทำการลักลอบจะเตรียมตัวโดยการเตรียมเสื้อผ้าสำหรับแลกเปลี่ยนและศึกษาเส้นทางที่จะลักลอบหนี มีการวางแผน เพื่อไม่ให้เจ้าหน้าที่สงสัย
ขั้นที่ 2 เป็นขั้นดำเนินการ จะเลือกเวลาที่ปลอดภัยมากที่สุด เป็นเวลาที่เจ้าหน้าที่ปฎิบัติงานน้อย ผู้ป่วยจะทำการลักลอบทั้งในเวลากลางวัน และกลางคืน โดยการปืนกำแพงโรงพยาบาลออกไปซื้อหรือแลกเปลี่ยนบุหรี/ยาเส้น ที่ร้านค้าบริเวณอพาร์ทเม้นต์หลังโรงพยาบาลและจะกลับเข้ามาในโรงพยาบาลในช่องทางเดียวกับช่องทางที่ออก
ขั้นที่ 3 เป็นขั้นการจำหน่าย เืมื่อได้บุหรี/ยาเส้นมาแล้วจะแจกจ่ายให้กับผู้ที่ฝากสิ่งของไปแลกและนำมาแบ่งปันกันสูบ มีบางคนจะจำหน่ายให่กับผู้ป่วยอื่นต่อในราคาที่สูง
แนวทางการแก้ไข โดยการปรับเปลี่ยนกฎของโรงพยาบาล พัฒนาพืั้นที่บริเวณโดยรอบโรงพยาบาล จัดให้มีป้อมยามพร้อมเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยปฎิบัติหน้าที่บริเวณด้านหลังหอผู้ป่วยอย่างน้อย 1 จุด และปฎิบัติการพยาบาลผู้ป่วยด้วยความเข้าใจ และเห็นอกเห็นใจ สอดส่อง ระมัดระวังผู้ที่มีพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาลCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23294 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354959 THE WM270 ส825 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available รายงานการวิจัยเรื่องการปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพของ / สู่ไนหย๊ะ ยศดำ / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่องการปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพของ : ผู้ป่วยใช้สารเสพติด ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด จังหวัดสงขลา Material Type: printed text Authors: สู่ไนหย๊ะ ยศดำ, Author ; จันจิรา รอดสงค์, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 48 แผ่น Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-021-4 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่สังคม
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัดKeywords: การบำบัด.
ยาเสพติด.
สารเสพติด.Class number: WM270 ส819 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาปัจจัยหรือเงื่อนไขของการไม่เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยใช้สารเสพติดชาย โดยศึกษาในกลุ่มผู้ติดที่เข้าบำบัดรักษาในตึกถอนพิษยา 2 และตึกถอนพิษยาพิเศษ ของศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังหวัดสงขลา ที่ได้ผ่านการรักษาขั้นถอนพิษยาครบ 21 วัน ผลการศึกษาพบว่า
ปัจจัยหรือเงื่อนไขที่เป็นสาเหตุของการปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยมี 4 ปัจจัย ด้วยกันคือ ปัจจัยจากเหตุผลของการตัดสินใจเข้ารับการบำบัดรักษา ซึ่งผู้ป่วยบางรายตัดสินใจเข้ามารับการบำบัดรักษาโดยต้องการให้พ่อ แม่สบายใจ หรือถูกพ่อแม่ และสถานศึกษาบังคับมา แต่บางรายมาโดยความสมัครใจรักษาปัจจัยต่อไปเป็นปัจจัยการดำเนินชีวิตระหว่างการบำบัดรักษาในตึกถอนพิษยา โดยผู้ป่วยต้องมีการปรับเปลี่ยนตัวเองทั้งในด้านร่างกาย ความเป็นอยู่ ความสัมพันธ์กับเพื่อนและเจ้าหน้าที่ ความรู้สึกต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นระหว่างการรักษา ซึ่งถ้าไม่สามารถปรัีบเปลี่ยนตัวเองให้เป็นไปตามกฎระเบียบก็จะทำให้ผู้ป่วยลาออกกลับบ้านปฎิเสธที่จะรักษาต่อ ปัจจัยจากข้อมูลเกี่ยวกับการบำบัดรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ จึงทำให้ผู้ป่วยปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ และปัจจัยหลักคือ ความจำเป็นที่ต้องกลับไปดูแลครอบครัว และกลับไปเรียนหนังสือ สิ่งที่ผู้ป่วยกล่าวมาเป็นสาเหตุทำให้ผู้ป่วยลาออกกลับบ้าน ปฎิเสธที่จะรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ ซึ่งในบางครั้งปัจจัยเหล่านี้เป็นเพียงปัจจัยเล็ก ๆ แต่ผู้ป่วยต้องการอิสระ ไปไหนมาไหนสะดวก ไม่มีกฎเกณฑ์บังคับต้องการไปเที่ยวกับเพื่อน ๆ อยู่ที่บ้าน สิ่งเหล่านี้มักจะตามมาเมื่อผู้ป่วยลาออกกลับบ้าน และการที่ผู้ป่วยจะเข้ารับการบำบัดรักษาต่อหรือไม่ก็ไม่ได้อยู่ที่ตัวผู้ป่วยอย่างเดียว ยังมีสิ่งแวดล้อมหลาย ๆ อย่างที่จำเป็น เช่น เจ้าหน้าที่ เพื่อน สถานที่ พ่อแม่ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ก็เป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดรักษาในระยพฟื้นฟูมากขึ้น สามารถยือเวลาการใช้ยาเสพติดของผู้ป่วย และลดการกลับไปเสพซ้ำได้มากยิ่งขึ้นCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23293 รายงานการวิจัยเรื่องการปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพของ : ผู้ป่วยใช้สารเสพติด ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด จังหวัดสงขลา [printed text] / สู่ไนหย๊ะ ยศดำ, Author ; จันจิรา รอดสงค์, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 48 แผ่น ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-021-4 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่สังคม
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัดKeywords: การบำบัด.
ยาเสพติด.
สารเสพติด.Class number: WM270 ส819 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาปัจจัยหรือเงื่อนไขของการไม่เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยใช้สารเสพติดชาย โดยศึกษาในกลุ่มผู้ติดที่เข้าบำบัดรักษาในตึกถอนพิษยา 2 และตึกถอนพิษยาพิเศษ ของศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังหวัดสงขลา ที่ได้ผ่านการรักษาขั้นถอนพิษยาครบ 21 วัน ผลการศึกษาพบว่า
ปัจจัยหรือเงื่อนไขที่เป็นสาเหตุของการปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยมี 4 ปัจจัย ด้วยกันคือ ปัจจัยจากเหตุผลของการตัดสินใจเข้ารับการบำบัดรักษา ซึ่งผู้ป่วยบางรายตัดสินใจเข้ามารับการบำบัดรักษาโดยต้องการให้พ่อ แม่สบายใจ หรือถูกพ่อแม่ และสถานศึกษาบังคับมา แต่บางรายมาโดยความสมัครใจรักษาปัจจัยต่อไปเป็นปัจจัยการดำเนินชีวิตระหว่างการบำบัดรักษาในตึกถอนพิษยา โดยผู้ป่วยต้องมีการปรับเปลี่ยนตัวเองทั้งในด้านร่างกาย ความเป็นอยู่ ความสัมพันธ์กับเพื่อนและเจ้าหน้าที่ ความรู้สึกต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นระหว่างการรักษา ซึ่งถ้าไม่สามารถปรัีบเปลี่ยนตัวเองให้เป็นไปตามกฎระเบียบก็จะทำให้ผู้ป่วยลาออกกลับบ้านปฎิเสธที่จะรักษาต่อ ปัจจัยจากข้อมูลเกี่ยวกับการบำบัดรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ จึงทำให้ผู้ป่วยปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ และปัจจัยหลักคือ ความจำเป็นที่ต้องกลับไปดูแลครอบครัว และกลับไปเรียนหนังสือ สิ่งที่ผู้ป่วยกล่าวมาเป็นสาเหตุทำให้ผู้ป่วยลาออกกลับบ้าน ปฎิเสธที่จะรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ ซึ่งในบางครั้งปัจจัยเหล่านี้เป็นเพียงปัจจัยเล็ก ๆ แต่ผู้ป่วยต้องการอิสระ ไปไหนมาไหนสะดวก ไม่มีกฎเกณฑ์บังคับต้องการไปเที่ยวกับเพื่อน ๆ อยู่ที่บ้าน สิ่งเหล่านี้มักจะตามมาเมื่อผู้ป่วยลาออกกลับบ้าน และการที่ผู้ป่วยจะเข้ารับการบำบัดรักษาต่อหรือไม่ก็ไม่ได้อยู่ที่ตัวผู้ป่วยอย่างเดียว ยังมีสิ่งแวดล้อมหลาย ๆ อย่างที่จำเป็น เช่น เจ้าหน้าที่ เพื่อน สถานที่ พ่อแม่ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ก็เป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดรักษาในระยพฟื้นฟูมากขึ้น สามารถยือเวลาการใช้ยาเสพติดของผู้ป่วย และลดการกลับไปเสพซ้ำได้มากยิ่งขึ้นCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23293 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354850 THE WM270 ส819 2544 Book Main Library General Shelf Available