From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
การวิเคราะห์ตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ / นงนาจ เสริมศรี / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : การวิเคราะห์ตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ Original title : A factor analysis of competency of charge nurse, governmental university hospitals Material Type: printed text Authors: นงนาจ เสริมศรี, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ฌ, 131 แผ่น : แผนภูมิ Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การวิเคราะห์ตัวประกอบ
[LCSH]สมรรถภาพในการทำงาน
[LCSH]โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐKeywords: การทำงาน.
สมรรถนะ.
ตัวประกอบ.Class number: WY115 น525 2550 Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะพยาบาลของหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยใน ตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จำนวน 355 คน ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 7 แห่ง โดยใช้ประชากรทั้งหมดเป็นกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และทดสอบความเที่ยงด้วยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอนบราค ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ .97 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้การวิเคราะห์ตัวประกอบ สกัดตัวประกอบด้วยวิธีตัวประกอบหลัก และหมุนแกนแบบออโธโกนอล ด้วยวิธีแวริแมกซ์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มี 7 ตัวประกอบ บรรยายด้วย 54 ตัวแปร มีค่าความแปรปรวนรวมกัน คิดเป็นร้อยละ 65.056 โดยมีตัวประกอบ ดังนี้ 6.569 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 5 ตัวแปร 1. การปฏิบัติการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 12.838 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 11 ตัวแปร 2. การแก้ปัญหาและการตัดสินใจ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 10.340 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 7 ตัวแปร 3. การบริหารจัดการ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 10.026 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 10 ตัวแปร 4. การใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 9.383 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 7 ตัวแปร 5. ภาวะผู้นำ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 9.003 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 10 ตัวแปร 6. การสื่อสารและสัมพันธภาพ เป็นตัวประกอบสมรรถนะพยาบาลของหัวหน้าเวร สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 6.897 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 4 ตัวแปร 7. การจัดการความขัดแย้ง เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 6.569 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 5 ตัวแปร Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23229 การวิเคราะห์ตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ = A factor analysis of competency of charge nurse, governmental university hospitals [printed text] / นงนาจ เสริมศรี, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ฌ, 131 แผ่น : แผนภูมิ : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การวิเคราะห์ตัวประกอบ
[LCSH]สมรรถภาพในการทำงาน
[LCSH]โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐKeywords: การทำงาน.
สมรรถนะ.
ตัวประกอบ.Class number: WY115 น525 2550 Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะพยาบาลของหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยใน ตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จำนวน 355 คน ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 7 แห่ง โดยใช้ประชากรทั้งหมดเป็นกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และทดสอบความเที่ยงด้วยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอนบราค ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ .97 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้การวิเคราะห์ตัวประกอบ สกัดตัวประกอบด้วยวิธีตัวประกอบหลัก และหมุนแกนแบบออโธโกนอล ด้วยวิธีแวริแมกซ์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มี 7 ตัวประกอบ บรรยายด้วย 54 ตัวแปร มีค่าความแปรปรวนรวมกัน คิดเป็นร้อยละ 65.056 โดยมีตัวประกอบ ดังนี้ 6.569 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 5 ตัวแปร 1. การปฏิบัติการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 12.838 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 11 ตัวแปร 2. การแก้ปัญหาและการตัดสินใจ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 10.340 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 7 ตัวแปร 3. การบริหารจัดการ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 10.026 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 10 ตัวแปร 4. การใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 9.383 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 7 ตัวแปร 5. ภาวะผู้นำ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 9.003 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 10 ตัวแปร 6. การสื่อสารและสัมพันธภาพ เป็นตัวประกอบสมรรถนะพยาบาลของหัวหน้าเวร สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 6.897 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 4 ตัวแปร 7. การจัดการความขัดแย้ง เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 6.569 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 5 ตัวแปร Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23229 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355246 THE WY115 น525 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available การวิเคราะห์ตัวประกอบองค์กรที่มีชีวิตของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ / มัณฑนา ปรีเลิศ / จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2552
Title : การวิเคราะห์ตัวประกอบองค์กรที่มีชีวิตของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ Original title : A factor analysis of living organization of government university hospitals Material Type: printed text Authors: มัณฑนา ปรีเลิศ, Author Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2552 Pagination: ก-ญ, 146 แผ่น. Size: 30 ซม. Price: Gift General note: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวประกอบองค์กรที่มีชีวิตของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททางการพยาบาลขึ้นไป ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ 7 แห่ง จำนวน 348 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามตัวประกอบองค์กรที่มีชีวิต ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และทดสอบความเที่ยงด้วยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอนบราค ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ .96 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้การวิเคราะห์ตัวประกอบ สกัดตัวประกอบด้วยวิธีตัวประกอบหลัก และหมุนแกนแบบออโธโกนอล ด้วยวิธี แวริแมกซ์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ตัวประกอบองค์กรที่มีชีวิตของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มี 6 ตัวประกอบ บรรยายด้วย 54 ตัวแปร มีค่าความแปรปรวนรวมกัน คิดเป็นร้อยละ 64.04 โดยมีตัวประกอบ ดังนี้ 1. ด้านมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน เป็นตัวประกอบองค์กรที่มีชีวิตที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 24.59 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 23 ตัวแปร 2. ด้านพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง เป็นตัวประกอบองค์กรที่มีชีวิตที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 11.36 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 9 ตัวแปร 3. ด้านการพัฒนาวิชาการและงานวิจัย เป็นตัวประกอบองค์กรที่มีชีวิตที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 11.19 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 9 ตัวแปร 4. ด้านมีความยืดหยุ่น เป็นตัวประกอบองค์กรที่มีชีวิตที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 7.14 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 7 ตัวแปร 5. ด้านเป็นองค์กรเปิด เป็นตัวประกอบองค์กรที่มีชีวิตที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 4.99 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 3 ตัวแปร 6. ด้านมีรูปแบบการสื่อสารที่หลากหลาย เป็นตัวประกอบองค์กรที่มีชีวิตที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 4.77 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 3 ตัวแปร Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การวิเคราะห์ตัวประกอบ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24951 การวิเคราะห์ตัวประกอบองค์กรที่มีชีวิตของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ = A factor analysis of living organization of government university hospitals [printed text] / มัณฑนา ปรีเลิศ, Author . - [S.l.] : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 . - ก-ญ, 146 แผ่น. ; 30 ซม.
Gift
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวประกอบองค์กรที่มีชีวิตของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททางการพยาบาลขึ้นไป ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ 7 แห่ง จำนวน 348 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามตัวประกอบองค์กรที่มีชีวิต ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และทดสอบความเที่ยงด้วยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอนบราค ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ .96 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้การวิเคราะห์ตัวประกอบ สกัดตัวประกอบด้วยวิธีตัวประกอบหลัก และหมุนแกนแบบออโธโกนอล ด้วยวิธี แวริแมกซ์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ตัวประกอบองค์กรที่มีชีวิตของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มี 6 ตัวประกอบ บรรยายด้วย 54 ตัวแปร มีค่าความแปรปรวนรวมกัน คิดเป็นร้อยละ 64.04 โดยมีตัวประกอบ ดังนี้ 1. ด้านมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน เป็นตัวประกอบองค์กรที่มีชีวิตที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 24.59 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 23 ตัวแปร 2. ด้านพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง เป็นตัวประกอบองค์กรที่มีชีวิตที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 11.36 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 9 ตัวแปร 3. ด้านการพัฒนาวิชาการและงานวิจัย เป็นตัวประกอบองค์กรที่มีชีวิตที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 11.19 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 9 ตัวแปร 4. ด้านมีความยืดหยุ่น เป็นตัวประกอบองค์กรที่มีชีวิตที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 7.14 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 7 ตัวแปร 5. ด้านเป็นองค์กรเปิด เป็นตัวประกอบองค์กรที่มีชีวิตที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 4.99 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 3 ตัวแปร 6. ด้านมีรูปแบบการสื่อสารที่หลากหลาย เป็นตัวประกอบองค์กรที่มีชีวิตที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 4.77 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 3 ตัวแปร
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การวิเคราะห์ตัวประกอบ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24951 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000543189 THE WY115 ม335 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available