From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
ผลของการใช้รูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณีในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมต่อความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วยและการรับรู้คุณค่าวิชาชีพพยาบาลประจำการ หอผู้ป่วยศัลยกรรมทั่วไปหญิงโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ / เพทาย สำรวยผล / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2553
Title : ผลของการใช้รูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณีในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมต่อความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วยและการรับรู้คุณค่าวิชาชีพพยาบาลประจำการ หอผู้ป่วยศัลยกรรมทั่วไปหญิงโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ Original title : Effects of nursing case management in breast cancer patients on patients' satisfaction and perceived of professional nurses' value, women general surgery ward in King Chulalongkorn Memorial Hospital Material Type: printed text Authors: เพทาย สำรวยผล, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2553 Pagination: ก-ญ, 167 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]มะเร็ง -- ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]มะเร็ง -- ผู้ป่วย -- การพยาบาล
[LCSH]มะเร็งเต้านมKeywords: มะเร็งเต้านม.
การดูแล.
ผู้ป่วย.Class number: WP870 พ642 2553 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมกลุ่มที่ได้รับการดูแลโดยใช้รูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณีกับกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ และเปรียบเทียบการรับรู้คุณค่าวิชาชีพพยาบาลของพยาบาลประจำการระหว่างกลุ่มที่ใช้รูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณีในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมกับกลุ่มที่ใช้การดูแลตามปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มผู้ป่วยมะเร็งเต้านม จำนวน 60 คน และกลุ่มพยาบาลประจำการ หอผู้ป่วยศัลยกรรมทั่วไปหญิง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จำนวน 20 คน เครื่องมือในการทดลอง ประกอบด้วย แผนการอบรม แผนการดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านม คู่มือการจัดการผู้ป่วยรายกรณีและแบบกำกับการทดลอง เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วย และแบบสอบถามการรับรู้คุณค่าวิชาชีพพยาบาล เครื่องมือทั้งหมดได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ทดสอบค่าความเที่ยงด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาคได้เท่ากับ .95 และ .96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสถิติที (t-test) และการทดสอบสถิติ Wilcoxon Rank Sum Test ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.ความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมกลุ่มที่ได้รับการดูแลโดยใช้รูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณี ([X-Bar] = 4.38) สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ ([X-Bar] = 3.37) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.การรับรู้คุณค่าวิชาชีพพยาบาลกลุ่มพยาบาลประจำการที่ใช้รูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณีหลังการทดลอง ([X-Bar] = 4.74) สูงกว่ากลุ่มที่ใช้การดูแลตามปกติ ([X-Bar] = 4.01) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23200 ผลของการใช้รูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณีในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมต่อความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วยและการรับรู้คุณค่าวิชาชีพพยาบาลประจำการ หอผู้ป่วยศัลยกรรมทั่วไปหญิงโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ = Effects of nursing case management in breast cancer patients on patients' satisfaction and perceived of professional nurses' value, women general surgery ward in King Chulalongkorn Memorial Hospital [printed text] / เพทาย สำรวยผล, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 . - ก-ญ, 167 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]มะเร็ง -- ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]มะเร็ง -- ผู้ป่วย -- การพยาบาล
[LCSH]มะเร็งเต้านมKeywords: มะเร็งเต้านม.
การดูแล.
ผู้ป่วย.Class number: WP870 พ642 2553 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมกลุ่มที่ได้รับการดูแลโดยใช้รูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณีกับกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ และเปรียบเทียบการรับรู้คุณค่าวิชาชีพพยาบาลของพยาบาลประจำการระหว่างกลุ่มที่ใช้รูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณีในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมกับกลุ่มที่ใช้การดูแลตามปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มผู้ป่วยมะเร็งเต้านม จำนวน 60 คน และกลุ่มพยาบาลประจำการ หอผู้ป่วยศัลยกรรมทั่วไปหญิง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จำนวน 20 คน เครื่องมือในการทดลอง ประกอบด้วย แผนการอบรม แผนการดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านม คู่มือการจัดการผู้ป่วยรายกรณีและแบบกำกับการทดลอง เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วย และแบบสอบถามการรับรู้คุณค่าวิชาชีพพยาบาล เครื่องมือทั้งหมดได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ทดสอบค่าความเที่ยงด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาคได้เท่ากับ .95 และ .96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสถิติที (t-test) และการทดสอบสถิติ Wilcoxon Rank Sum Test ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.ความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมกลุ่มที่ได้รับการดูแลโดยใช้รูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณี ([X-Bar] = 4.38) สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ ([X-Bar] = 3.37) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.การรับรู้คุณค่าวิชาชีพพยาบาลกลุ่มพยาบาลประจำการที่ใช้รูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณีหลังการทดลอง ([X-Bar] = 4.74) สูงกว่ากลุ่มที่ใช้การดูแลตามปกติ ([X-Bar] = 4.01) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23200 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355105 WP870 พ642 2553 Thesis Main Library Thesis Corner Available 32002000355113 WP870 พ642 2553 c.2 Thesis Main Library Thesis Corner Available