From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
Critical care nursing / Urden, Linda Diann / St. Louis, Mo. : Elsevier/Mosby - 2014
Title : Critical care nursing : diagnosis and management Material Type: printed text Authors: Urden, Linda Diann, Author ; Stacy, Kathleen M., Author ; Lough, Mary E., Author Edition statement: 7th ed. Publisher: St. Louis, Mo. : Elsevier/Mosby Publication Date: 2014 Pagination: xxiii, 1207 p. Layout: ill. (chiefly col.) Size: 28 cm. ISBN (or other code): 978-0-323-09178-7 Price: 3800.00 Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]Emergency nursing
[LCSH]Emergency Nursing -- methods
[LCSH]Intensive care nursingKeywords: Critical care.
Emergency nursing.
Intensive care.Class number: WY154 C932 2014 Contents note: Unit I. Foundations of critical care nursing -- Unit II. Cardiovascular alterations -- Unit III. Pulmonary alterations -- Unit IV. Neurologic alterations -- Unit V. Kidney alterations -- Unit VI. Gastrointestinal alterations -- Unit VII. Endocrine alterations -- Unit VIII. Multisystem alterations -- Unit IX. Special populations Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23479 Critical care nursing : diagnosis and management [printed text] / Urden, Linda Diann, Author ; Stacy, Kathleen M., Author ; Lough, Mary E., Author . - 7th ed. . - St. Louis, Mo. : Elsevier/Mosby, 2014 . - xxiii, 1207 p. : ill. (chiefly col.) ; 28 cm.
ISBN : 978-0-323-09178-7 : 3800.00
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]Emergency nursing
[LCSH]Emergency Nursing -- methods
[LCSH]Intensive care nursingKeywords: Critical care.
Emergency nursing.
Intensive care.Class number: WY154 C932 2014 Contents note: Unit I. Foundations of critical care nursing -- Unit II. Cardiovascular alterations -- Unit III. Pulmonary alterations -- Unit IV. Neurologic alterations -- Unit V. Kidney alterations -- Unit VI. Gastrointestinal alterations -- Unit VII. Endocrine alterations -- Unit VIII. Multisystem alterations -- Unit IX. Special populations Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23479 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000391928 WY154 C932 2014 Book Main Library General Shelf Available Nursing care of the critically ill child / Hazinski, Mary Fran / St. Louis, Mo. : Elsevier/Mosby - 2013
Title : Nursing care of the critically ill child Material Type: printed text Authors: Hazinski, Mary Fran, Editor Edition statement: 3rd ed. Publisher: St. Louis, Mo. : Elsevier/Mosby Publication Date: 2013 Pagination: xxiv, 1140 p. Layout: ill. Size: 29 cm. ISBN (or other code): 978-0-323-02040-4 Price: 2880.00 Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]Critical Illness -- nursing
[LCSH]Intensive care nursing -- Handbooks, manuals, etc
[LCSH]Pediatric nursing -- Handbooks, manuals, etc
[LCSH]Pediatric Nursing -- methods.Keywords: Pediatric.
Critical care.
Critical illness.
Intensive care.Class number: WY159 N974 2013 Contents note: Children are different -- Psychosocial aspects of pediatric critical care -- Care of the child with life-limiting conditions and the child's family in the pediatric intensive care unit -- Pharmacokinetics and pharmacodynamics -- Analgesia, sedation, and neuromuscular blockade -- Shock, cardiac arrest, and resuscitation -- Mechanical support of cardiopulmonary function: extracorporeal membrane oxygenation, ventricular assist devices, and the intraaortic balloon pump -- Cardiovascular disorders -- Pulmonary disorders -- Chest x-ray interpretation -- Neurologic disorders -- Fluid, electrolyte, and endocrine problems -- Renal disorders -- Gastrointestinal and nutritional disorders -- Hematologic and oncologic emergencies requiring critical care -- Immunology and infectious disorders -- Overview of solid organ transplantation -- Toxicology and poisonings -- Pediatric trauma -- Care of the child with burns -- Bioinstrumentation: principles and techniques -- Fundamentals of patient safety and quality improvement -- Clinical informatics -- Ethical issues in pediatric critical care -- Appendices.-- Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23528 Nursing care of the critically ill child [printed text] / Hazinski, Mary Fran, Editor . - 3rd ed. . - St. Louis, Mo. : Elsevier/Mosby, 2013 . - xxiv, 1140 p. : ill. ; 29 cm.
ISBN : 978-0-323-02040-4 : 2880.00
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]Critical Illness -- nursing
[LCSH]Intensive care nursing -- Handbooks, manuals, etc
[LCSH]Pediatric nursing -- Handbooks, manuals, etc
[LCSH]Pediatric Nursing -- methods.Keywords: Pediatric.
Critical care.
Critical illness.
Intensive care.Class number: WY159 N974 2013 Contents note: Children are different -- Psychosocial aspects of pediatric critical care -- Care of the child with life-limiting conditions and the child's family in the pediatric intensive care unit -- Pharmacokinetics and pharmacodynamics -- Analgesia, sedation, and neuromuscular blockade -- Shock, cardiac arrest, and resuscitation -- Mechanical support of cardiopulmonary function: extracorporeal membrane oxygenation, ventricular assist devices, and the intraaortic balloon pump -- Cardiovascular disorders -- Pulmonary disorders -- Chest x-ray interpretation -- Neurologic disorders -- Fluid, electrolyte, and endocrine problems -- Renal disorders -- Gastrointestinal and nutritional disorders -- Hematologic and oncologic emergencies requiring critical care -- Immunology and infectious disorders -- Overview of solid organ transplantation -- Toxicology and poisonings -- Pediatric trauma -- Care of the child with burns -- Bioinstrumentation: principles and techniques -- Fundamentals of patient safety and quality improvement -- Clinical informatics -- Ethical issues in pediatric critical care -- Appendices.-- Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23528 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000390896 WY159 N974 2013 Book Main Library General Shelf Available 32002000582591 WY159 N974 2013 c.2 Book Main Library General Shelf Available ตัวประกอบสมรรถนะพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต / นฤมล กิจจานนท์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2540
Title : ตัวประกอบสมรรถนะพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต : โรงพยาบาลของรัฐ Original title : Factors of critical care nurse's competencies governmental hospital Material Type: printed text Authors: นฤมล กิจจานนท์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2540 Pagination: ก-ฏ, 200 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-638-660-3 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย.ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]ผู้ป่วยหนัก--การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย -- ไทยKeywords: การดูแล.
พยาบาล
ผู้ป่วยวิกฤต.
ผู้ป่วยหนัก.
การรักษา.Class number: WY154 น506 2546 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาตัวประกอบและตัวแปรที่อธิบายสมรรถนะของพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต โรงพยาบาลของรัฐ กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ พยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต โรงพยาบาลของรัฐทั่วประเทศ ที่มีประสบการณ์ปฎิบัติงานในหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตอย่างน้อย 2 ปี จำนวน 1082 คน
เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า ให้พยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตประเมินระดับความสำคัญของสมรรถนะพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต มีค่าความเที่ยงเท่ากับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสะกัดตัวประกอบด้วยวิธีตัวประกอบภาพพจน์ หมุนแกนตัวประกอบแบบ ออโธกอนอลด้วยวิธีแวริแมกซ์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
ตัวประกอบสมรรถนะที่สำคัญของพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตมีจำนวน 9 ตัวประกอบ มีค่าความแปรปรวนรวมกันคิดเป็นร้อยละ 57.8 และเมื่อพิจารณาตามค่าความแปรปรวนพบว่า
1. ตัวประกอบสมรรถนะด้านภาวะผู้นำ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้มากที่สุดคือ ร้อยละ 39.8 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 64 ตัวแปร
2. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถในการพยาบาลผู้ป่วยโรคระบบต่าง ๆ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สมารถกอิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 6.6 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 29 ตัวแปร
3. ตัวประกอบสมรรถนะด้านเทคนิคทางการปฏิบัติการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 2.5 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 20 ตัวแปร
4. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถในการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 2.5 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 9 ตัวแปร
5. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความเชี่ยวชาญพิเศษทางการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้่ร้อยละ 1.8 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 9 ตัวแปร
6. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถพื้นฐานทางการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความหมายได้ร้อยละ 1.4 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 8 ตัวแปร
7. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการประชาสัมพันธ์ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 1.2 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 4 ตัวแปร
8. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการบริหารงาน เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามรถอธิบายนความแปรปรวนได้ร้อยละ 1.0 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 5 ตัวแปร
9. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการเฝ้าระวังอาการผิดปกติ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 1.0 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 4 ตัวแปรCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23361 ตัวประกอบสมรรถนะพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต = Factors of critical care nurse's competencies governmental hospital : โรงพยาบาลของรัฐ [printed text] / นฤมล กิจจานนท์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 . - ก-ฏ, 200 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-638-660-3 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย.ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]ผู้ป่วยหนัก--การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย -- ไทยKeywords: การดูแล.
พยาบาล
ผู้ป่วยวิกฤต.
ผู้ป่วยหนัก.
การรักษา.Class number: WY154 น506 2546 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาตัวประกอบและตัวแปรที่อธิบายสมรรถนะของพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต โรงพยาบาลของรัฐ กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ พยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต โรงพยาบาลของรัฐทั่วประเทศ ที่มีประสบการณ์ปฎิบัติงานในหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตอย่างน้อย 2 ปี จำนวน 1082 คน
เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า ให้พยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตประเมินระดับความสำคัญของสมรรถนะพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต มีค่าความเที่ยงเท่ากับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสะกัดตัวประกอบด้วยวิธีตัวประกอบภาพพจน์ หมุนแกนตัวประกอบแบบ ออโธกอนอลด้วยวิธีแวริแมกซ์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
ตัวประกอบสมรรถนะที่สำคัญของพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตมีจำนวน 9 ตัวประกอบ มีค่าความแปรปรวนรวมกันคิดเป็นร้อยละ 57.8 และเมื่อพิจารณาตามค่าความแปรปรวนพบว่า
1. ตัวประกอบสมรรถนะด้านภาวะผู้นำ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้มากที่สุดคือ ร้อยละ 39.8 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 64 ตัวแปร
2. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถในการพยาบาลผู้ป่วยโรคระบบต่าง ๆ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สมารถกอิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 6.6 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 29 ตัวแปร
3. ตัวประกอบสมรรถนะด้านเทคนิคทางการปฏิบัติการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 2.5 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 20 ตัวแปร
4. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถในการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 2.5 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 9 ตัวแปร
5. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความเชี่ยวชาญพิเศษทางการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้่ร้อยละ 1.8 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 9 ตัวแปร
6. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถพื้นฐานทางการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความหมายได้ร้อยละ 1.4 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 8 ตัวแปร
7. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการประชาสัมพันธ์ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 1.2 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 4 ตัวแปร
8. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการบริหารงาน เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามรถอธิบายนความแปรปรวนได้ร้อยละ 1.0 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 5 ตัวแปร
9. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการเฝ้าระวังอาการผิดปกติ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 1.0 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 4 ตัวแปรCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23361 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000356988 THE WY154 น506 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของการพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ต่ออุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤต / นงนุช หอมเนียม / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2554
Title : ผลของการพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ต่ออุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤต : Effects of using medication administration by evidence-based practice on incidence of medication errors and nurses' job satisfaction in intensive care unit Material Type: printed text Authors: นงนุช หอมเนียม, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2554 Pagination: ก-ญ, 171 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]Intensive Care Units
[LCSH]การพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ยา -- การบริหาร
[LCSH]หน่วยรักษาพยาบาลผู้ป่วยหนักKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความพอใจ.
การบริหาร.
การดูแล.Class number: WX218 น525 2554 Abstract: วิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และเพื่อเปรียบเทียบอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลพญาไท 2 จำนวน 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในดำเนินการทดลองประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต แบบกำกับการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบบันทึกอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต และแบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามความพึงพอใจในงานด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบสถิติค่าที
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. จำนวนอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดขนาดภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (8.47 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) และความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดเวลาภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (5.65 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) 2. คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต (ค่าเฉลี่ย = 3.96) สูงกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (ค่าเฉลี่ย = 3.16) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23195 ผลของการพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ต่ออุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤต : Effects of using medication administration by evidence-based practice on incidence of medication errors and nurses' job satisfaction in intensive care unit [printed text] / นงนุช หอมเนียม, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 . - ก-ญ, 171 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]Intensive Care Units
[LCSH]การพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ยา -- การบริหาร
[LCSH]หน่วยรักษาพยาบาลผู้ป่วยหนักKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความพอใจ.
การบริหาร.
การดูแล.Class number: WX218 น525 2554 Abstract: วิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และเพื่อเปรียบเทียบอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลพญาไท 2 จำนวน 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในดำเนินการทดลองประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต แบบกำกับการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบบันทึกอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต และแบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามความพึงพอใจในงานด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบสถิติค่าที
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. จำนวนอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดขนาดภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (8.47 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) และความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดเวลาภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (5.65 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) 2. คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต (ค่าเฉลี่ย = 3.96) สูงกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (ค่าเฉลี่ย = 3.16) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23195 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355261 WX218 น525 2554 Thesis Main Library Thesis Corner Available