From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
ความสัมพันธ์ ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร / กัลยลักษณ์ คลับคล้าย / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2553
Title : ความสัมพันธ์ ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร Original title : Relationships between structural empowerment, Job satisfaction, and administrative roles performance of head nurses, tertiary hospitals, Bangkok Metropolis Material Type: printed text Authors: กัลยลักษณ์ คลับคล้าย, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2553 Pagination: ก-ฎ, 126 แผ่น Layout: แผนภูมิ Size: 30 cm. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: หัวหน้ัาหอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลตติยภูมิ.
ความพึงพอใจ.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY105 ก117 2553 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง คือ หัวหน้าหอผู้ป่วยที่มีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร จำนวน 246 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหาร การเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง และความพึงพอใจในการทำงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยง โดยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .83, .92 และ .76 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23216 ความสัมพันธ์ ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร = Relationships between structural empowerment, Job satisfaction, and administrative roles performance of head nurses, tertiary hospitals, Bangkok Metropolis [printed text] / กัลยลักษณ์ คลับคล้าย, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 . - ก-ฎ, 126 แผ่น : แผนภูมิ ; 30 cm.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: หัวหน้ัาหอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลตติยภูมิ.
ความพึงพอใจ.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY105 ก117 2553 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง คือ หัวหน้าหอผู้ป่วยที่มีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร จำนวน 246 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหาร การเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง และความพึงพอใจในการทำงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยง โดยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .83, .92 และ .76 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23216 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355154 WY105 ก117 2553 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ / พนิชา บุตรปัญญา / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ Original title : Relationships between occupational environment hazards head nurse - staff nurse relationship, and quality of work life of staff nurses, government university hospitals Material Type: printed text Authors: พนิชา บุตรปัญญา, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ฎ, 141 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- การประเมิน
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงานKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
คุณภาพการทำงาน.
สิ่งแวดล้อมในการทำงาน.
โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ.Class number: WY100 พ653 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในสังกัดโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 380 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน แบบสอบถามอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน และแบบสอบถามสัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ 0.89, 0.89 และ 0.98 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ และสัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐอยู่ในระดับสูง ([Mean]= 3.70 และ 3.67) ยกเว้น อันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงานของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐอยู่ในระดับปานกลาง ( [Mean]= 3.02) 2. อันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน มีความสัมพันธ์ทางลบในระดับปานกลางกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = - .62) 3. สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .50) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23218 ความสัมพันธ์ระหว่างอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ = Relationships between occupational environment hazards head nurse - staff nurse relationship, and quality of work life of staff nurses, government university hospitals [printed text] / พนิชา บุตรปัญญา, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ฎ, 141 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- การประเมิน
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงานKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
คุณภาพการทำงาน.
สิ่งแวดล้อมในการทำงาน.
โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ.Class number: WY100 พ653 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในสังกัดโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 380 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน แบบสอบถามอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน และแบบสอบถามสัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ 0.89, 0.89 และ 0.98 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ และสัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐอยู่ในระดับสูง ([Mean]= 3.70 และ 3.67) ยกเว้น อันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงานของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐอยู่ในระดับปานกลาง ( [Mean]= 3.02) 2. อันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน มีความสัมพันธ์ทางลบในระดับปานกลางกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = - .62) 3. สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .50) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23218 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354876 WY100 พ653 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของการพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ต่ออุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤต / นงนุช หอมเนียม / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2554
Title : ผลของการพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ต่ออุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤต : Effects of using medication administration by evidence-based practice on incidence of medication errors and nurses' job satisfaction in intensive care unit Material Type: printed text Authors: นงนุช หอมเนียม, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2554 Pagination: ก-ญ, 171 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]Intensive Care Units
[LCSH]การพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ยา -- การบริหาร
[LCSH]หน่วยรักษาพยาบาลผู้ป่วยหนักKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความพอใจ.
การบริหาร.
การดูแล.Class number: WX218 น525 2554 Abstract: วิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และเพื่อเปรียบเทียบอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลพญาไท 2 จำนวน 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในดำเนินการทดลองประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต แบบกำกับการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบบันทึกอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต และแบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามความพึงพอใจในงานด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบสถิติค่าที
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. จำนวนอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดขนาดภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (8.47 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) และความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดเวลาภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (5.65 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) 2. คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต (ค่าเฉลี่ย = 3.96) สูงกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (ค่าเฉลี่ย = 3.16) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23195 ผลของการพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ต่ออุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤต : Effects of using medication administration by evidence-based practice on incidence of medication errors and nurses' job satisfaction in intensive care unit [printed text] / นงนุช หอมเนียม, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 . - ก-ญ, 171 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]Intensive Care Units
[LCSH]การพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ยา -- การบริหาร
[LCSH]หน่วยรักษาพยาบาลผู้ป่วยหนักKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความพอใจ.
การบริหาร.
การดูแล.Class number: WX218 น525 2554 Abstract: วิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และเพื่อเปรียบเทียบอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลพญาไท 2 จำนวน 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในดำเนินการทดลองประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต แบบกำกับการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบบันทึกอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต และแบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามความพึงพอใจในงานด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบสถิติค่าที
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. จำนวนอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดขนาดภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (8.47 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) และความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดเวลาภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (5.65 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) 2. คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต (ค่าเฉลี่ย = 3.96) สูงกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (ค่าเฉลี่ย = 3.16) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23195 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355261 WX218 น525 2554 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของการใช้รูปแบบการนิเทศการบริการพยาบาลสำหรับหัวหน้างานหอผู้ป่วยเฉพาะทาง / กนกพร เนติเมธี / กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2539
Title : ผลของการใช้รูปแบบการนิเทศการบริการพยาบาลสำหรับหัวหน้างานหอผู้ป่วยเฉพาะทาง : ต่อความพึงพอใจในงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป Original title : Effects of using nursing service supervisory model for supervisor nurse toword head nurse and nurse job satisfaction in general hospitals Material Type: printed text Authors: กนกพร เนติเมธี, Author Publisher: กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2539 Pagination: ก-ฎ, 226 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-636-499-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การนิเทศการพยาบาล
[LCSH]บริการการพยาบาล -- การบริหาร -- ไทย
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย -- ไทยKeywords: การนิเทศพยาบาล.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.
บริการการพยาบาล.
ความพึงพอใจ.Class number: WY18 ก151 2539 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23324 ผลของการใช้รูปแบบการนิเทศการบริการพยาบาลสำหรับหัวหน้างานหอผู้ป่วยเฉพาะทาง = Effects of using nursing service supervisory model for supervisor nurse toword head nurse and nurse job satisfaction in general hospitals : ต่อความพึงพอใจในงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป [printed text] / กนกพร เนติเมธี, Author . - กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 . - ก-ฎ, 226 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-636-499-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การนิเทศการพยาบาล
[LCSH]บริการการพยาบาล -- การบริหาร -- ไทย
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย -- ไทยKeywords: การนิเทศพยาบาล.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.
บริการการพยาบาล.
ความพึงพอใจ.Class number: WY18 ก151 2539 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23324 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357325 THE WY18 ก151 2539 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของโปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท / นิษฐ์อร วชิรสวัสดิ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : ผลของโปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท Original title : Effects of transforming care at the bedside program on job satisfaction of staff nurses and nursing error rate at critical care unit of Samitivej Sukhumvit Hospital Material Type: printed text Authors: นิษฐ์อร วชิรสวัสดิ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ญ, 127 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัีย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การดูแลขั้นวิกฤต
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงานKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลสมิติเวช.
การดูแล.
ผู้ป่วย.Class number: WY154 น538 2551 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ และอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลก่อนและหลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤตโรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิทจำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง แบบบันทึกสถานการณ์การปฏิบัติตามแนวทางการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง เก็บรวมรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและแบบรายงานความผิดพลาดทางการพยาบาล ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และค่าความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤตหลังใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงสูงกว่าก่อนใช้โปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. อัตราความผิดพลาดจากการเลื่อนหลุดของสายหรือท่อที่ต่อจากร่างกาย หลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่ำกว่าก่อนใช้โปรแกรมร้อยละ 45.26 3. อัตราความผิดพลาดจากการบริหารยาของพยาบาลวิชาชีพ หลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่ำกว่าก่อนใช้โปรแกรมร้อยละ 100 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23226 ผลของโปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท = Effects of transforming care at the bedside program on job satisfaction of staff nurses and nursing error rate at critical care unit of Samitivej Sukhumvit Hospital [printed text] / นิษฐ์อร วชิรสวัสดิ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ญ, 127 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัีย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การดูแลขั้นวิกฤต
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงานKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลสมิติเวช.
การดูแล.
ผู้ป่วย.Class number: WY154 น538 2551 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ และอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลก่อนและหลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤตโรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิทจำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง แบบบันทึกสถานการณ์การปฏิบัติตามแนวทางการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง เก็บรวมรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและแบบรายงานความผิดพลาดทางการพยาบาล ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และค่าความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤตหลังใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงสูงกว่าก่อนใช้โปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. อัตราความผิดพลาดจากการเลื่อนหลุดของสายหรือท่อที่ต่อจากร่างกาย หลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่ำกว่าก่อนใช้โปรแกรมร้อยละ 45.26 3. อัตราความผิดพลาดจากการบริหารยาของพยาบาลวิชาชีพ หลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่ำกว่าก่อนใช้โปรแกรมร้อยละ 100 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23226 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354975 WY154 น538 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available