From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
Old book collection. พยาบาลโภชนบำบัด / ส่งศรี แก้วถนอม / สมาคมผู้ให้อาหารทางหลอดเลือดดำและทางเดินอาหารแห่งประเทศไทย - 2557
Collection Title: Old book collection Title : พยาบาลโภชนบำบัด Original title : Nutrition support nurse Material Type: printed text Authors: ส่งศรี แก้วถนอม, Editor ; บุชชา พราหมณสุทธิ์, Editor ; สรนิต ศีลธรรม, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publisher: สมาคมผู้ให้อาหารทางหลอดเลือดดำและทางเดินอาหารแห่งประเทศไทย Publication Date: 2557 Pagination: ก-ค, 268 หน้า. Layout: ภาพประกอบ. Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-919111-7 Price: 250.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Diet therapy
[LCSH]Diet Therapy -- nurse's instruction
[LCSH]พยาบาล -- การดูแล
[LCSH]โภชนบำบัดClass number: WB410 พ219 2557 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24477 Old book collection. พยาบาลโภชนบำบัด = Nutrition support nurse [printed text] / ส่งศรี แก้วถนอม, Editor ; บุชชา พราหมณสุทธิ์, Editor ; สรนิต ศีลธรรม, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - [S.l.] : สมาคมผู้ให้อาหารทางหลอดเลือดดำและทางเดินอาหารแห่งประเทศไทย, 2557 . - ก-ค, 268 หน้า. : ภาพประกอบ. ; 21 ซม.
ISBN : 978-6-16-919111-7 : 250.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Diet therapy
[LCSH]Diet Therapy -- nurse's instruction
[LCSH]พยาบาล -- การดูแล
[LCSH]โภชนบำบัดClass number: WB410 พ219 2557 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24477 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000462455 WB410 พ219 2557 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000462463 WB410 พ219 2557 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000462430 WB410 พ219 2557 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available ตัวประกอบสมรรถนะพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต / นฤมล กิจจานนท์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2540
Title : ตัวประกอบสมรรถนะพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต : โรงพยาบาลของรัฐ Original title : Factors of critical care nurse's competencies governmental hospital Material Type: printed text Authors: นฤมล กิจจานนท์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2540 Pagination: ก-ฏ, 200 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-638-660-3 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย.ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]ผู้ป่วยหนัก--การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย -- ไทยKeywords: การดูแล.
พยาบาล
ผู้ป่วยวิกฤต.
ผู้ป่วยหนัก.
การรักษา.Class number: WY154 น506 2546 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาตัวประกอบและตัวแปรที่อธิบายสมรรถนะของพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต โรงพยาบาลของรัฐ กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ พยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต โรงพยาบาลของรัฐทั่วประเทศ ที่มีประสบการณ์ปฎิบัติงานในหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตอย่างน้อย 2 ปี จำนวน 1082 คน
เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า ให้พยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตประเมินระดับความสำคัญของสมรรถนะพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต มีค่าความเที่ยงเท่ากับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสะกัดตัวประกอบด้วยวิธีตัวประกอบภาพพจน์ หมุนแกนตัวประกอบแบบ ออโธกอนอลด้วยวิธีแวริแมกซ์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
ตัวประกอบสมรรถนะที่สำคัญของพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตมีจำนวน 9 ตัวประกอบ มีค่าความแปรปรวนรวมกันคิดเป็นร้อยละ 57.8 และเมื่อพิจารณาตามค่าความแปรปรวนพบว่า
1. ตัวประกอบสมรรถนะด้านภาวะผู้นำ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้มากที่สุดคือ ร้อยละ 39.8 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 64 ตัวแปร
2. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถในการพยาบาลผู้ป่วยโรคระบบต่าง ๆ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สมารถกอิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 6.6 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 29 ตัวแปร
3. ตัวประกอบสมรรถนะด้านเทคนิคทางการปฏิบัติการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 2.5 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 20 ตัวแปร
4. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถในการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 2.5 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 9 ตัวแปร
5. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความเชี่ยวชาญพิเศษทางการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้่ร้อยละ 1.8 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 9 ตัวแปร
6. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถพื้นฐานทางการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความหมายได้ร้อยละ 1.4 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 8 ตัวแปร
7. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการประชาสัมพันธ์ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 1.2 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 4 ตัวแปร
8. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการบริหารงาน เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามรถอธิบายนความแปรปรวนได้ร้อยละ 1.0 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 5 ตัวแปร
9. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการเฝ้าระวังอาการผิดปกติ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 1.0 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 4 ตัวแปรCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23361 ตัวประกอบสมรรถนะพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต = Factors of critical care nurse's competencies governmental hospital : โรงพยาบาลของรัฐ [printed text] / นฤมล กิจจานนท์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 . - ก-ฏ, 200 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-638-660-3 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย.ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]ผู้ป่วยหนัก--การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย -- ไทยKeywords: การดูแล.
พยาบาล
ผู้ป่วยวิกฤต.
ผู้ป่วยหนัก.
การรักษา.Class number: WY154 น506 2546 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาตัวประกอบและตัวแปรที่อธิบายสมรรถนะของพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต โรงพยาบาลของรัฐ กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ พยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต โรงพยาบาลของรัฐทั่วประเทศ ที่มีประสบการณ์ปฎิบัติงานในหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตอย่างน้อย 2 ปี จำนวน 1082 คน
เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า ให้พยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตประเมินระดับความสำคัญของสมรรถนะพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต มีค่าความเที่ยงเท่ากับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสะกัดตัวประกอบด้วยวิธีตัวประกอบภาพพจน์ หมุนแกนตัวประกอบแบบ ออโธกอนอลด้วยวิธีแวริแมกซ์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
ตัวประกอบสมรรถนะที่สำคัญของพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตมีจำนวน 9 ตัวประกอบ มีค่าความแปรปรวนรวมกันคิดเป็นร้อยละ 57.8 และเมื่อพิจารณาตามค่าความแปรปรวนพบว่า
1. ตัวประกอบสมรรถนะด้านภาวะผู้นำ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้มากที่สุดคือ ร้อยละ 39.8 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 64 ตัวแปร
2. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถในการพยาบาลผู้ป่วยโรคระบบต่าง ๆ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สมารถกอิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 6.6 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 29 ตัวแปร
3. ตัวประกอบสมรรถนะด้านเทคนิคทางการปฏิบัติการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 2.5 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 20 ตัวแปร
4. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถในการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 2.5 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 9 ตัวแปร
5. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความเชี่ยวชาญพิเศษทางการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้่ร้อยละ 1.8 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 9 ตัวแปร
6. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถพื้นฐานทางการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความหมายได้ร้อยละ 1.4 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 8 ตัวแปร
7. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการประชาสัมพันธ์ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 1.2 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 4 ตัวแปร
8. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการบริหารงาน เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามรถอธิบายนความแปรปรวนได้ร้อยละ 1.0 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 5 ตัวแปร
9. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการเฝ้าระวังอาการผิดปกติ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 1.0 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 4 ตัวแปรCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23361 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000356988 THE WY154 น506 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available ประสบการณ์การปฏิบัติงานของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 / ศิริพร บุญชาลี / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2553
Title : ประสบการณ์การปฏิบัติงานของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 Original title : Experience of nurses in caring for patients with influenza H1N1 Material Type: printed text Authors: ศิริพร บุญชาลี, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2553 Pagination: ก-ฌ, 162 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [บริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- การดูแล
[LCSH]ไข้หวัดใหญ่ ( H1N1)
[LCSH]ไข้หวัดใหญ่ 2009Keywords: ไข้หวัดใหญ่ 2009.
การพยาบาล.
การดูแล.Class number: WC515 ศ876 2553 Abstract: จากการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ซึ่งเป็นโรคอุบัติใหม่ที่เกิดขึ้นไปทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทยส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสุขภาพประชาชน และการสาธารณสุข รวมทั้งเศรษฐกิจของประเทศอย่างประมาณค่าไม่ได้ อีกทั้งการระบาดในครั้งนี้พบผู้ติดเชื้อเป็นบุคลากรทางการแพทย์จำนวนมาก การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมายและประสบการณ์การปฏิบัติงานของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพมีประสบการณ์ในการดูแลผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 จำนวน 16 คน เครื่องมือคือแนวคำถามในการสัมภาษณ์และตัวผู้วิจัย วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ Colaizzi (1978) ผลการศึกษา พบว่า ความหมายตามการรับรู้ของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในการดูแลผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 แบ่งได้เป็น 3 ประเด็น คือ การทำงานที่ต้องใช้ทักษะป้องกันการติดเชื้อ การทำงานบนความเสี่ยงกับคนไข้โรคติดเชื้อ และเป็นประสบการณ์การทำงานที่ใช้ทักษะเฉพาะทาง
ผลการศึกษาเกี่ยวกับประสบการณ์การปฏิบัติงานของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 คือ พยาบาลเกิดความรู้สึกกลัวและเครียดต่อภาวะเสี่ยงต่อการติดเชื้อจากการปฏิบัติงาน ซึ่งการเตรียมความพร้อมเพื่อการปฏิบัติงานจะทำให้ความรู้สึกกลัวและเครียดลดลง สำหรับประสบการณ์ด้านการปฏิบัติงานของพยาบาล คือ ให้การดูแลและรักษาพยาบาลตามสภาพปัญหาของผู้ป่วย ใช้ทักษะการประสานงานเพื่อการดูแลผู้ป่วยที่มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้พยาบาลต้องมีการป้องกันตนเองไม่ให้ติดเชื้อจากการปฏิบัติงานโดย 1) วางแผนการพยาบาลผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น 2) การดูแลตนเองให้แข็งแรง และ 3) หลัก 3 ประการในการป้องกันการติดเชื้อขณะปฏิบัติงานคือ การเตือนสติตนเอง ต้องป้องกันทุกครั้งเมื่อสัมผัสผู้ป่วย และป้องกันตนเองแพร่เชื้อหลังปฏิบัติงาน ผลการศึกษายังพบได้ว่าพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ปฏิบัติงานของตนด้วยจิตสำนึกต่อความหน้าที่ของพยาบาล โดยไม่ได้คำนึงถึงค่าตอบแทน และสิ่งจูงใจใจที่ทำให้เกิดขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน คือความประทับใจที่หัวหน้าหอผู้ป่วยคอยช่วยเหลือด้านภาระงานอย่างเข้าใจ และให้คำปรึกษา การวิจัยในครั้งนี้ทำให้เข้าใจการรับรู้ประสบการณ์การปฏิบัติงานของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ดังกล่าว สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในองค์กรของพยาบาลวิชาชีพ เพื่อพัฒนาแนวทางการปฏิบัติงานในการดูแลผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ซึ่งจัดได้ว่าเป็นโรคอุบัติใหม่ที่เกิดขึ้นและแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว และเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทยCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23203 ประสบการณ์การปฏิบัติงานของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 = Experience of nurses in caring for patients with influenza H1N1 [printed text] / ศิริพร บุญชาลี, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 . - ก-ฌ, 162 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [บริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- การดูแล
[LCSH]ไข้หวัดใหญ่ ( H1N1)
[LCSH]ไข้หวัดใหญ่ 2009Keywords: ไข้หวัดใหญ่ 2009.
การพยาบาล.
การดูแล.Class number: WC515 ศ876 2553 Abstract: จากการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ซึ่งเป็นโรคอุบัติใหม่ที่เกิดขึ้นไปทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทยส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสุขภาพประชาชน และการสาธารณสุข รวมทั้งเศรษฐกิจของประเทศอย่างประมาณค่าไม่ได้ อีกทั้งการระบาดในครั้งนี้พบผู้ติดเชื้อเป็นบุคลากรทางการแพทย์จำนวนมาก การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมายและประสบการณ์การปฏิบัติงานของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพมีประสบการณ์ในการดูแลผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 จำนวน 16 คน เครื่องมือคือแนวคำถามในการสัมภาษณ์และตัวผู้วิจัย วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ Colaizzi (1978) ผลการศึกษา พบว่า ความหมายตามการรับรู้ของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในการดูแลผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 แบ่งได้เป็น 3 ประเด็น คือ การทำงานที่ต้องใช้ทักษะป้องกันการติดเชื้อ การทำงานบนความเสี่ยงกับคนไข้โรคติดเชื้อ และเป็นประสบการณ์การทำงานที่ใช้ทักษะเฉพาะทาง
ผลการศึกษาเกี่ยวกับประสบการณ์การปฏิบัติงานของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 คือ พยาบาลเกิดความรู้สึกกลัวและเครียดต่อภาวะเสี่ยงต่อการติดเชื้อจากการปฏิบัติงาน ซึ่งการเตรียมความพร้อมเพื่อการปฏิบัติงานจะทำให้ความรู้สึกกลัวและเครียดลดลง สำหรับประสบการณ์ด้านการปฏิบัติงานของพยาบาล คือ ให้การดูแลและรักษาพยาบาลตามสภาพปัญหาของผู้ป่วย ใช้ทักษะการประสานงานเพื่อการดูแลผู้ป่วยที่มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้พยาบาลต้องมีการป้องกันตนเองไม่ให้ติดเชื้อจากการปฏิบัติงานโดย 1) วางแผนการพยาบาลผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น 2) การดูแลตนเองให้แข็งแรง และ 3) หลัก 3 ประการในการป้องกันการติดเชื้อขณะปฏิบัติงานคือ การเตือนสติตนเอง ต้องป้องกันทุกครั้งเมื่อสัมผัสผู้ป่วย และป้องกันตนเองแพร่เชื้อหลังปฏิบัติงาน ผลการศึกษายังพบได้ว่าพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ปฏิบัติงานของตนด้วยจิตสำนึกต่อความหน้าที่ของพยาบาล โดยไม่ได้คำนึงถึงค่าตอบแทน และสิ่งจูงใจใจที่ทำให้เกิดขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน คือความประทับใจที่หัวหน้าหอผู้ป่วยคอยช่วยเหลือด้านภาระงานอย่างเข้าใจ และให้คำปรึกษา การวิจัยในครั้งนี้ทำให้เข้าใจการรับรู้ประสบการณ์การปฏิบัติงานของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ดังกล่าว สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในองค์กรของพยาบาลวิชาชีพ เพื่อพัฒนาแนวทางการปฏิบัติงานในการดูแลผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ซึ่งจัดได้ว่าเป็นโรคอุบัติใหม่ที่เกิดขึ้นและแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว และเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทยCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23203 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354710 WC515 ศ876 2553 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอดต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการโรงพยาบาลชุมพร / จิรภัค สุวรรณเจริญ, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ผลของการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอดต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการโรงพยาบาลชุมพร Original title : Effects of using primary nursing system in labor and post partum unit on job Satisfaction of nurses and patient satisfaction in nursign services, Chumphon Hospital Material Type: printed text Authors: จิรภัค สุวรรณเจริญ, (2518-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ก-ญ, 122 แผ่น Layout: ตาราง, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-173-313-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Infant, Newborn
[LCSH]Obstetrical Nursing -- methods
[LCSH]พยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
พยาบาล.
การดูแล.Class number: WY157.3 จ276 2545 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ในการวิจัย 2 ข้อ คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ในการให้บริการผู้รับบริการในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพทั้งหมดที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอดจำนวน 16 คน และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการระหว่างผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการด้วยระบบพยาบาลเจ้าของไข้กับผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการด้วยระบบการมอบหมายงานตามหน้าที่ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด โรงพยาบาลชุมพร กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้รับบริการจำนวน 60 คน ที่ได้จากการคัดเลือกแบบสะดวกตามคุณสมบัติที่กำหนด และจัดเข้ากลุ่มโดยใช้วิธีการจับคู่กลุ่มละ 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ คู่มือระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สำหรับพยาบาลวิชาชีพ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยการสังเคราะห์เนื้อหาจากแนวคิดเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับระบบพยาบาลเจ้าของไข้ ร่วมกับการสัมภาษณ์แนวลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิทางการพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการกำกับการทดลอง คือ แบบทดสอบวัดความรู้ เรื่องระบบพยาบาลเจ้าของไข้ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .65 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการทดลอง คือ แบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการ ที่ผู้วิจัยสร้างและดัดแปลงขึ้น โดยผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .86 และ .91 ตามลำดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า 1. ความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สูงกว่าก่อนใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 8.48, p < .05) 2. ความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการพยาบาลด้วยระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สูงกว่า ความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการพยาบาลด้วยระบบการมอบหมายงานตามหน้าที่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 12.32, p < .05) ผลการวิจัยนี้สามารถใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการของหัวหน้าหน่วยงานให้เกิดการบริการที่มีความความพึงพอใจทั้งในพยาบาลวิชาชีพและในผู้รับบริการ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23180 ผลของการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอดต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการโรงพยาบาลชุมพร = Effects of using primary nursing system in labor and post partum unit on job Satisfaction of nurses and patient satisfaction in nursign services, Chumphon Hospital [printed text] / จิรภัค สุวรรณเจริญ, (2518-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ก-ญ, 122 แผ่น : ตาราง, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-173-313-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Infant, Newborn
[LCSH]Obstetrical Nursing -- methods
[LCSH]พยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
พยาบาล.
การดูแล.Class number: WY157.3 จ276 2545 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ในการวิจัย 2 ข้อ คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ในการให้บริการผู้รับบริการในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพทั้งหมดที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอดจำนวน 16 คน และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการระหว่างผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการด้วยระบบพยาบาลเจ้าของไข้กับผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการด้วยระบบการมอบหมายงานตามหน้าที่ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด โรงพยาบาลชุมพร กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้รับบริการจำนวน 60 คน ที่ได้จากการคัดเลือกแบบสะดวกตามคุณสมบัติที่กำหนด และจัดเข้ากลุ่มโดยใช้วิธีการจับคู่กลุ่มละ 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ คู่มือระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สำหรับพยาบาลวิชาชีพ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยการสังเคราะห์เนื้อหาจากแนวคิดเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับระบบพยาบาลเจ้าของไข้ ร่วมกับการสัมภาษณ์แนวลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิทางการพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการกำกับการทดลอง คือ แบบทดสอบวัดความรู้ เรื่องระบบพยาบาลเจ้าของไข้ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .65 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการทดลอง คือ แบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการ ที่ผู้วิจัยสร้างและดัดแปลงขึ้น โดยผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .86 และ .91 ตามลำดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า 1. ความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สูงกว่าก่อนใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 8.48, p < .05) 2. ความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการพยาบาลด้วยระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สูงกว่า ความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการพยาบาลด้วยระบบการมอบหมายงานตามหน้าที่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 12.32, p < .05) ผลการวิจัยนี้สามารถใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการของหัวหน้าหน่วยงานให้เกิดการบริการที่มีความความพึงพอใจทั้งในพยาบาลวิชาชีพและในผู้รับบริการ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23180 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355501 WY157.3 จ276 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available พยาบาล / ทัศนีย์ ทองประทีป / กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2552
Title : พยาบาล : เพื่อนร่วมทุกข์ผู้ป่วยระยะสุดท้าย Original title : Nurse : being with the dying Material Type: printed text Authors: ทัศนีย์ ทองประทีป Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2 Publisher: กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2552 Pagination: 225 หน้า ISBN (or other code): 978-974-03-2397-6 General note: School of Nursing Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]ผู้ป่วยระยะสุดท้าย
[LCSH]พยาบาล -- การดูแลAbstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=21571 พยาบาล = Nurse : being with the dying : เพื่อนร่วมทุกข์ผู้ป่วยระยะสุดท้าย [printed text] / ทัศนีย์ ทองประทีป . - พิมพ์ครั้งที่ 2 . - กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 . - 225 หน้า.
ISBN : 978-974-03-2397-6
School of Nursing
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]ผู้ป่วยระยะสุดท้าย
[LCSH]พยาบาล -- การดูแลAbstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=21571 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000549871 WY152 ท364พ 2552 c.1 Book Main Library Library Counter Not for loan 32002000549731 WY152 ท364พ 2552 c.2 Book Main Library Library Counter Not for loan 32002000549749 WY152 ท364พ 2552 c.3 Book Main Library Library Counter Not for loan 32002000505915 WY152 ท364พ 2552 c.4 Book Main Library Library Counter Not for loan 32002000505923 WY152 ท364พ 2552 c.5 Book Main Library Library Counter Not for loan 32002000505931 WY152 ท364พ 2552 c.6 Book Main Library Library Counter Not for loan Readers who borrowed this document also borrowed:
Human resource management Mathis,, Robert L. (1944-) สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคลินิกในห้องคลอด / นิภาวรรณ เนินเพิ่มพิสุทธิ์ / บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร - 2548
Title : สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคลินิกในห้องคลอด : ตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาล Original title : Nursing students perceptions of environment enhancing clinical learning in labour room Material Type: printed text Authors: นิภาวรรณ เนินเพิ่มพิสุทธิ์, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร Publication Date: 2548 Pagination: 108 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลศึกษา]]-- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2548. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การฝึกอบรม
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- การดูแลKeywords: การคลอด.
การรับรู้.Class number: WQ200 น536 2548 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคลินิกในห้องคลอดตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาล ผู้ให้ข้อมูลเป็นนักศึกษาพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขแห่งหนึ่งทางภาคเหนือ จำนวน 16 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีวิเคราะห์เนื้อหาและการตีความ ผลการวิจัยพบว่า
สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคลินิกในห้องคลอดตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลมี 2 องค์ประกอบ คือ สัมพันธภาพที่ดีระหว่างบุคคลและปัจจัยที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัิตของนักศึกษา สัมพันธภาพที่ดีระหว่างบุคคลมี 4 ประการ คือ 1 สัมพันธภาพที่ดีระหว่างนักศึกษากับบุคลากรห้องคลอด 2 นักศึกษากับอาจารย์พยาบาล 3 ระหว่างเพื่อนนักศึกษาด้วยกัน และการยอมรับจากผู้คลิด ส่วนปัจจัยที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัติของนักศึกษามี 4 ประการ คือ 1. การปฐมนิเทศก่อนขึ้นฝึกปฎิบัติงาน 2. ความช่วยเหลือและแนะนำในการฝึกปฏิบัติอย่างใกล้ชิด 3. โอกาสฝึกปฏิบัติกับผู้คลอดโดยตรง และ 4. ความพร้อมของเครื่องมืออุปกรณ์ จากผลการวิจัยครั้งนี้ พบว่าสัมพันธภาพที่ดีและปัจจัย 4 ประการ เป็นสภาพแวดล้อมสำคัญที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคลินิกในห้องคลอด ดังนั้นแหล่งฝึกกับสถาบันการศึกษาควรร่วมมือกันส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดี และร่วมสร้างปัจจัยที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษา
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23194 สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคลินิกในห้องคลอด = Nursing students perceptions of environment enhancing clinical learning in labour room : ตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาล [printed text] / นิภาวรรณ เนินเพิ่มพิสุทธิ์, Author . - [S.l.] : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2548 . - 108 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลศึกษา]]-- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2548.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การฝึกอบรม
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- การดูแลKeywords: การคลอด.
การรับรู้.Class number: WQ200 น536 2548 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคลินิกในห้องคลอดตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาล ผู้ให้ข้อมูลเป็นนักศึกษาพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขแห่งหนึ่งทางภาคเหนือ จำนวน 16 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีวิเคราะห์เนื้อหาและการตีความ ผลการวิจัยพบว่า
สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคลินิกในห้องคลอดตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลมี 2 องค์ประกอบ คือ สัมพันธภาพที่ดีระหว่างบุคคลและปัจจัยที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัิตของนักศึกษา สัมพันธภาพที่ดีระหว่างบุคคลมี 4 ประการ คือ 1 สัมพันธภาพที่ดีระหว่างนักศึกษากับบุคลากรห้องคลอด 2 นักศึกษากับอาจารย์พยาบาล 3 ระหว่างเพื่อนนักศึกษาด้วยกัน และการยอมรับจากผู้คลิด ส่วนปัจจัยที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัติของนักศึกษามี 4 ประการ คือ 1. การปฐมนิเทศก่อนขึ้นฝึกปฎิบัติงาน 2. ความช่วยเหลือและแนะนำในการฝึกปฏิบัติอย่างใกล้ชิด 3. โอกาสฝึกปฏิบัติกับผู้คลอดโดยตรง และ 4. ความพร้อมของเครื่องมืออุปกรณ์ จากผลการวิจัยครั้งนี้ พบว่าสัมพันธภาพที่ดีและปัจจัย 4 ประการ เป็นสภาพแวดล้อมสำคัญที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคลินิกในห้องคลอด ดังนั้นแหล่งฝึกกับสถาบันการศึกษาควรร่วมมือกันส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดี และร่วมสร้างปัจจัยที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษา
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23194 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354611 WQ200 น536 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available สาระทบทวน รายวิชาการพยาบาลผดุงครรภ์ / คณาจารย์เครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ / เครือข่ายวิทยาลัยพยาบาล ฯ - 2555
Title : สาระทบทวน รายวิชาการพยาบาลผดุงครรภ์ Material Type: printed text Authors: คณาจารย์เครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2 (ฉบับปรับปรุง) Publisher: เครือข่ายวิทยาลัยพยาบาล ฯ Publication Date: 2555 Pagination: 224 หน้า Size: 29 ซม. Price: 230.00 General note: NEC Net : North Eastern College Network. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาลกุมารเวชศาสตร์
[LCSH]การพยาบาลสูติศาสตร์
[LCSH]ครรภ์ -- การดูแล
[LCSH]ครรภ์ -- ดูแล
[LCSH]พยาบาล -- การดูแลClass number: WY157.3 ค127กผด 2555 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24532 สาระทบทวน รายวิชาการพยาบาลผดุงครรภ์ [printed text] / คณาจารย์เครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 2 (ฉบับปรับปรุง) . - [S.l.] : เครือข่ายวิทยาลัยพยาบาล ฯ, 2555 . - 224 หน้า ; 29 ซม.
230.00
NEC Net : North Eastern College Network.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาลกุมารเวชศาสตร์
[LCSH]การพยาบาลสูติศาสตร์
[LCSH]ครรภ์ -- การดูแล
[LCSH]ครรภ์ -- ดูแล
[LCSH]พยาบาล -- การดูแลClass number: WY157.3 ค127กผด 2555 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24532 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000541167 WY157.3 ค127กผด 2555 c.1 Book Dormitory Dormitory shelf Available 32002000541159 WY157.3 ค127กผด 2555 c.2 Book Main Library General Shelf Available สาระทบทวน รายวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ / คณาจารย์เครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ / เครือข่ายวิทยาลัยพยาบาล ฯ - 2555
Title : สาระทบทวน รายวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ Material Type: printed text Authors: คณาจารย์เครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2 (ฉบับปรับปรุง) Publisher: เครือข่ายวิทยาลัยพยาบาล ฯ Publication Date: 2555 Pagination: 421 หน้า Size: 29 ซม. Price: 300.00 General note: NEC Net : North Eastern College Network. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาลผู้ใหญ่
[LCSH]การพยาบาลอายุรศาสตร์
[LCSH]พยาบาล -- การดูแลClass number: WY150 ค127กผ 2555 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24531 สาระทบทวน รายวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ [printed text] / คณาจารย์เครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 2 (ฉบับปรับปรุง) . - [S.l.] : เครือข่ายวิทยาลัยพยาบาล ฯ, 2555 . - 421 หน้า ; 29 ซม.
300.00
NEC Net : North Eastern College Network.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาลผู้ใหญ่
[LCSH]การพยาบาลอายุรศาสตร์
[LCSH]พยาบาล -- การดูแลClass number: WY150 ค127กผ 2555 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24531 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000541191 WY150 ค127กผ 2555 c.2 Book Dormitory Dormitory shelf Available 32002000541142 WY150 ค127กผ 2555 c.1 Book Main Library General Shelf Available