From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
Klaus & Fanaroff's care of the / Fanaroff, Avroy A. / Philadelphia : Elsevier/Saunders - c2013.
Title : Klaus & Fanaroff's care of the : high-risk neonate Material Type: printed text Authors: Fanaroff, Avroy A., Editor ; Fanaroff, Jonathan M., Editor ; Klaus, Marshall H., (1927-), Editor Edition statement: 6th ed. Publisher: Philadelphia : Elsevier/Saunders Publication Date: c2013. ISBN (or other code): 978-1-416-04001-9 General note: Rev. ed. of: Care of the high-risk neonate / [edited by] Marshall H. Klaus, Avroy A. Fanaroff. 5th ed. c2001. Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]Infant Care
[LCSH]Infant, Newborn
[LCSH]Infant, Newborn, Diseases -- therapyKeywords: Infant care.
Infant Newborn.Class number: WS 420 K66 2013 Contents note: Evidenced-based medicine and the role of networks in generating evidence.-- Antenatal and intrapartum care of the high-risk infant.--Resuscitation at birth.-- Recognition, stabilization, and transport of the high-risk newborn.-- Size and physical examination of the newborn infant.-- The physical environment.-- Nutrition and selected disorders of the gastrointestinal tract.-- Care of the parents.-- Nursing practice in the neonatal intensive care unit.-- Respiratory problems.-- Assisted ventilation.-- Neonatal hyperbilirubinemia.-- Infections in the neonate. -- The heart .-- The kidney.-- Hematologic problems.-- Brain disorders of the fetus and neonate.-- The outcome of neonatal intensive care.-- Ethical issues in the perinatal period.-- Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23764 Klaus & Fanaroff's care of the : high-risk neonate [printed text] / Fanaroff, Avroy A., Editor ; Fanaroff, Jonathan M., Editor ; Klaus, Marshall H., (1927-), Editor . - 6th ed. . - Philadelphia : Elsevier/Saunders, c2013.
ISBN : 978-1-416-04001-9
Rev. ed. of: Care of the high-risk neonate / [edited by] Marshall H. Klaus, Avroy A. Fanaroff. 5th ed. c2001.
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]Infant Care
[LCSH]Infant, Newborn
[LCSH]Infant, Newborn, Diseases -- therapyKeywords: Infant care.
Infant Newborn.Class number: WS 420 K66 2013 Contents note: Evidenced-based medicine and the role of networks in generating evidence.-- Antenatal and intrapartum care of the high-risk infant.--Resuscitation at birth.-- Recognition, stabilization, and transport of the high-risk newborn.-- Size and physical examination of the newborn infant.-- The physical environment.-- Nutrition and selected disorders of the gastrointestinal tract.-- Care of the parents.-- Nursing practice in the neonatal intensive care unit.-- Respiratory problems.-- Assisted ventilation.-- Neonatal hyperbilirubinemia.-- Infections in the neonate. -- The heart .-- The kidney.-- Hematologic problems.-- Brain disorders of the fetus and neonate.-- The outcome of neonatal intensive care.-- Ethical issues in the perinatal period.-- Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23764 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000397040 WS420 K66 2013 Book Main Library General Shelf Available ผลของการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอดต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการโรงพยาบาลชุมพร / จิรภัค สุวรรณเจริญ, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ผลของการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอดต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการโรงพยาบาลชุมพร Original title : Effects of using primary nursing system in labor and post partum unit on job Satisfaction of nurses and patient satisfaction in nursign services, Chumphon Hospital Material Type: printed text Authors: จิรภัค สุวรรณเจริญ, (2518-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ก-ญ, 122 แผ่น Layout: ตาราง, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-173-313-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Infant, Newborn
[LCSH]Obstetrical Nursing -- methods
[LCSH]พยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
พยาบาล.
การดูแล.Class number: WY157.3 จ276 2545 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ในการวิจัย 2 ข้อ คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ในการให้บริการผู้รับบริการในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพทั้งหมดที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอดจำนวน 16 คน และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการระหว่างผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการด้วยระบบพยาบาลเจ้าของไข้กับผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการด้วยระบบการมอบหมายงานตามหน้าที่ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด โรงพยาบาลชุมพร กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้รับบริการจำนวน 60 คน ที่ได้จากการคัดเลือกแบบสะดวกตามคุณสมบัติที่กำหนด และจัดเข้ากลุ่มโดยใช้วิธีการจับคู่กลุ่มละ 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ คู่มือระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สำหรับพยาบาลวิชาชีพ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยการสังเคราะห์เนื้อหาจากแนวคิดเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับระบบพยาบาลเจ้าของไข้ ร่วมกับการสัมภาษณ์แนวลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิทางการพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการกำกับการทดลอง คือ แบบทดสอบวัดความรู้ เรื่องระบบพยาบาลเจ้าของไข้ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .65 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการทดลอง คือ แบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการ ที่ผู้วิจัยสร้างและดัดแปลงขึ้น โดยผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .86 และ .91 ตามลำดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า 1. ความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สูงกว่าก่อนใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 8.48, p < .05) 2. ความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการพยาบาลด้วยระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สูงกว่า ความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการพยาบาลด้วยระบบการมอบหมายงานตามหน้าที่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 12.32, p < .05) ผลการวิจัยนี้สามารถใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการของหัวหน้าหน่วยงานให้เกิดการบริการที่มีความความพึงพอใจทั้งในพยาบาลวิชาชีพและในผู้รับบริการ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23180 ผลของการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอดต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการโรงพยาบาลชุมพร = Effects of using primary nursing system in labor and post partum unit on job Satisfaction of nurses and patient satisfaction in nursign services, Chumphon Hospital [printed text] / จิรภัค สุวรรณเจริญ, (2518-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ก-ญ, 122 แผ่น : ตาราง, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-173-313-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Infant, Newborn
[LCSH]Obstetrical Nursing -- methods
[LCSH]พยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
พยาบาล.
การดูแล.Class number: WY157.3 จ276 2545 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ในการวิจัย 2 ข้อ คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ในการให้บริการผู้รับบริการในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพทั้งหมดที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอดจำนวน 16 คน และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการระหว่างผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการด้วยระบบพยาบาลเจ้าของไข้กับผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการด้วยระบบการมอบหมายงานตามหน้าที่ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด โรงพยาบาลชุมพร กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้รับบริการจำนวน 60 คน ที่ได้จากการคัดเลือกแบบสะดวกตามคุณสมบัติที่กำหนด และจัดเข้ากลุ่มโดยใช้วิธีการจับคู่กลุ่มละ 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ คู่มือระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สำหรับพยาบาลวิชาชีพ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยการสังเคราะห์เนื้อหาจากแนวคิดเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับระบบพยาบาลเจ้าของไข้ ร่วมกับการสัมภาษณ์แนวลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิทางการพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการกำกับการทดลอง คือ แบบทดสอบวัดความรู้ เรื่องระบบพยาบาลเจ้าของไข้ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .65 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการทดลอง คือ แบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการ ที่ผู้วิจัยสร้างและดัดแปลงขึ้น โดยผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .86 และ .91 ตามลำดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า 1. ความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สูงกว่าก่อนใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 8.48, p < .05) 2. ความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการพยาบาลด้วยระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สูงกว่า ความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการพยาบาลด้วยระบบการมอบหมายงานตามหน้าที่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 12.32, p < .05) ผลการวิจัยนี้สามารถใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการของหัวหน้าหน่วยงานให้เกิดการบริการที่มีความความพึงพอใจทั้งในพยาบาลวิชาชีพและในผู้รับบริการ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23180 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355501 WY157.3 จ276 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available