From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน / อุษนันท์ อินทมาศน์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน Original title : Role performance of professional nurse in community hospital Material Type: printed text Authors: อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฌ, 117 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-780-3 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน = Role performance of professional nurse in community hospital [printed text] / อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฌ, 117 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-780-3 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355493 WY100 อ948 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available บทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 25512560) / วิภาวรรณ บัวสรวง / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : บทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 25512560) Original title : The Desirable roles of nursing directors, government university hospitals, in the next decade (A.D. 2008-2017) Material Type: printed text Authors: วิภาวรรณ บัวสรวง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ฏ, 188 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การบริหารงานบุคคล.
การบริหาร.
โรงพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WX150 ว736 2550 Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาบทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) โดยใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 25 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารโรงพยาบาล ด้านการบริหารการพยาบาล ด้านการศึกษาพยาบาล ด้านองค์การวิชาชีพพยาบาล และด้านนโยบายและองค์การสุขภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิดในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล 93 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์
ผลการวิจัยพบว่า บทบาทหัวหนัาพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (2551-2560) ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยบทบาทย่อย 69 ข้อ เป็นบทบาทที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 56 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 13 ข้อ จำแนกเป็น 9 ด้านดังนี้
1. ภาวะผู้นำ 2. การบริหารจัดการ 3. การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล 4. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 5. พัฒนาวิชาชีพ 6. วิชาการและการวิจัย 7. ด้านการจัดการการเิงิน 8. ด้านการจัดการสารสนเทศทางการพยาบาล 9. ด้านการอำนวยความสะดวกRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23231 บทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 25512560) = The Desirable roles of nursing directors, government university hospitals, in the next decade (A.D. 2008-2017) [printed text] / วิภาวรรณ บัวสรวง, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ฏ, 188 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การบริหารงานบุคคล.
การบริหาร.
โรงพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WX150 ว736 2550 Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาบทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) โดยใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 25 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารโรงพยาบาล ด้านการบริหารการพยาบาล ด้านการศึกษาพยาบาล ด้านองค์การวิชาชีพพยาบาล และด้านนโยบายและองค์การสุขภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิดในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล 93 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์
ผลการวิจัยพบว่า บทบาทหัวหนัาพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (2551-2560) ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยบทบาทย่อย 69 ข้อ เป็นบทบาทที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 56 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 13 ข้อ จำแนกเป็น 9 ด้านดังนี้
1. ภาวะผู้นำ 2. การบริหารจัดการ 3. การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล 4. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 5. พัฒนาวิชาชีพ 6. วิชาการและการวิจัย 7. ด้านการจัดการการเิงิน 8. ด้านการจัดการสารสนเทศทางการพยาบาล 9. ด้านการอำนวยความสะดวกRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23231 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355022 WX150 ว736 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available บทบาทหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) / น้ำฝน โดมกลาง, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : บทบาทหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) Original title : The desirable roles of head nurse, regional hospitals in the next decade (B.E. 2551-2560) Material Type: printed text Authors: น้ำฝน โดมกลาง, (2521-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ญ, 171 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 น525 2550 Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้าโดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR) กลุ่มตัวอย่างคือผู้เชี่ยวชาญจำนวน 22 คน ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการบริหารการพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการศึกษาพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการปฏิบัติการพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการบริหารโรงพยาบาล และผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาองค์การวิชาชีพพยาบาลระดับนโยบาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย รอบแรกเป็นแบบสัมภาษณ์ รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตรประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่าง ควอไทล์ โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานมากกว่า 3.50 ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ไม่เกิน 1.50 ระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลรวมทั้งสิ้น 101 วัน ผลการวิจัยพบว่า บทบาทหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ ที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยบทบาทย่อย 83 ข้อเป็นบทบาทที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 72 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 11 ข้อจำแนกได้เป็น 7 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรมประกอบด้วยบทบาท 10ข้อ 2. ด้านผู้นำประกอบด้วยบทบาท 13ข้อ 3. ด้านการบริการและพัฒนาคุณภาพการบริการประกอบด้วยบทบาท 11ข้อ 4. ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลประกอบด้วยบทบาท 13ข้อ 5. ด้านการบริหารงานประกอบด้วยบทบาท 15ข้อ 6. ด้านวิชาการและการวิจัยประกอบด้วยบทบาท 11ข้อ 7. ด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ ประกอบด้วยบทบาท 10 ข้อ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23214 บทบาทหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) = The desirable roles of head nurse, regional hospitals in the next decade (B.E. 2551-2560) [printed text] / น้ำฝน โดมกลาง, (2521-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ญ, 171 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 น525 2550 Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้าโดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR) กลุ่มตัวอย่างคือผู้เชี่ยวชาญจำนวน 22 คน ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการบริหารการพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการศึกษาพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการปฏิบัติการพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการบริหารโรงพยาบาล และผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาองค์การวิชาชีพพยาบาลระดับนโยบาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย รอบแรกเป็นแบบสัมภาษณ์ รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตรประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่าง ควอไทล์ โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานมากกว่า 3.50 ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ไม่เกิน 1.50 ระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลรวมทั้งสิ้น 101 วัน ผลการวิจัยพบว่า บทบาทหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ ที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยบทบาทย่อย 83 ข้อเป็นบทบาทที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 72 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 11 ข้อจำแนกได้เป็น 7 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรมประกอบด้วยบทบาท 10ข้อ 2. ด้านผู้นำประกอบด้วยบทบาท 13ข้อ 3. ด้านการบริการและพัฒนาคุณภาพการบริการประกอบด้วยบทบาท 11ข้อ 4. ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลประกอบด้วยบทบาท 13ข้อ 5. ด้านการบริหารงานประกอบด้วยบทบาท 15ข้อ 6. ด้านวิชาการและการวิจัยประกอบด้วยบทบาท 11ข้อ 7. ด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ ประกอบด้วยบทบาท 10 ข้อ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23214 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355006 WY100 น525 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available