From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับการปฎิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลเอกชนที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล / สุลัดดา พงศ์รัตนามาน / จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2542
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับการปฎิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลเอกชนที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Original title : Relationships between leadership and the service quality improvement perpformance of head nurses, private hospitals participated in hospital accreditation program Material Type: printed text Authors: สุลัดดา พงศ์รัตนามาน, Author Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2542 Pagination: [10], 167 หน้า Size: 30 ซม. Price: Gift General note: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการปฏิบัติกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย และศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับการปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลเอกชนที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล จำนวน 12 แห่ง กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลประจำการ จำนวน 301 คน สุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบง่ย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ ประกอบด้วย แบบสอบถามภาวะผู้นำและแบบสอบถามการปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ มีค่าความเที่ยง .9624 และ .9785 ตามลำดับ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. การปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยโดยรวมอยู่ในระดับสูง 2. ภาวะผู้นำด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและด้านภาวะผู้นำการแลกเปลี่ยนต่างมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับการปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .773, .749) 3. ภาวะผู้นำมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับการปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .785) Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]บริการทางการแพทย์ -- การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]พยาบาล -- การบริการ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย -- ไทย
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพ
[LCSH]โรงพยาบาลเอกชนCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24953 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับการปฎิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลเอกชนที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล = Relationships between leadership and the service quality improvement perpformance of head nurses, private hospitals participated in hospital accreditation program [printed text] / สุลัดดา พงศ์รัตนามาน, Author . - [S.l.] : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 . - [10], 167 หน้า ; 30 ซม.
Gift
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการปฏิบัติกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย และศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับการปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลเอกชนที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล จำนวน 12 แห่ง กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลประจำการ จำนวน 301 คน สุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบง่ย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ ประกอบด้วย แบบสอบถามภาวะผู้นำและแบบสอบถามการปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ มีค่าความเที่ยง .9624 และ .9785 ตามลำดับ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. การปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยโดยรวมอยู่ในระดับสูง 2. ภาวะผู้นำด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและด้านภาวะผู้นำการแลกเปลี่ยนต่างมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับการปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .773, .749) 3. ภาวะผู้นำมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับการปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .785)
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]บริการทางการแพทย์ -- การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]พยาบาล -- การบริการ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย -- ไทย
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพ
[LCSH]โรงพยาบาลเอกชนCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24953 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000543320 THE WY150 ส868 2542 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประชากร ลักษณะผู้นำและกระบวนการบริหารคุณภาพบริการดกับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง ในเขตภาคกลาง / กนกพร สุทธิกาญจน์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประชากร ลักษณะผู้นำและกระบวนการบริหารคุณภาพบริการดกับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง ในเขตภาคกลาง Original title : Relationship between personal factors leader traits and service quality management process and perceived performance of the administration board members of mediums size private hospital in the central region Material Type: printed text Authors: กนกพร สุทธิกาญจน์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ก-ฎ, 155 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-545-023-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [สม. [วิทยาศาสตร์สุขภาพ]] - มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2547 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]คุณภาพการบริการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาลเอกชนKeywords: ภาวะผู้นำ.
โรงพยาบาล.
การบริการ.Class number: WX40 ก151 2547 Abstract: การศึกษาเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประชากร ลักษณะผู้นำกรรมการบริหาร กระบวนการบริหารคุณภาพบริการของกรรมการบริหารกับผลการดำเนินงานตามการับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลด้านบริการ การมุ่งเน้นลูกค้า การเิงิน และการตลาด และประสิทธิผลของโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง จำนวน 14 แห่ง โดยการสุ่มตัวอย่างเก็บข้อมูลจากกรรมการบริหารของโรงพยาบาลเอกชนทั้งหมดจำนวน 116 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า กรรมการบริหารโรงพยาบาลส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 75.0 มีสถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ 64.7 มีประสบการณืบริหารตั้งแต่ 1-3 ปั ร้อยละ 30.2 สำเร็จการศึกาาระดับปริญยาตรี ร้อยละ 66.4 คณะกรรมการบริหารมีลักษณะเป็นผู็นำอยู่ในระดับสูงทุกลักษณะ ยกเว้นการให้กำลัีงใจเป็นนิจระดับปานกลาง กระบวนการบริหารคุณภาพบริการอยู่ในระดับสูง และผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง
การศึกษาความสัีมพันธ์พบว่า ลักษณะประชากรมีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารอย่างไม่มีนัียสำคัญทางสถิติ p-value>0.05 ลักษณะผู้นำมีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารทางบวกในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p-value<0.05,r=0.66 สำหรับด้านการวางแผนเชิงกลยุทธ์และการมุ่งเน้นลูกค้าและการตลาดมีความสัมพันธ์ระดับปานกลาง r=0.51และ0.53 ตามลำดับ ส่วนการมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคลมีความสัีมพันธ์ในระดับค่อนข้่างสูง r=0.65 ข้อเสนอแนะจากการวิจัยคือ ในการบริหารงานโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง ผู้บริหารควรให้ความสำคัญกับผลการดำเนินงานเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับบริการที่ดีมีคุณธรรม
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23137 ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประชากร ลักษณะผู้นำและกระบวนการบริหารคุณภาพบริการดกับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง ในเขตภาคกลาง = Relationship between personal factors leader traits and service quality management process and perceived performance of the administration board members of mediums size private hospital in the central region [printed text] / กนกพร สุทธิกาญจน์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ก-ฎ, 155 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-545-023-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [สม. [วิทยาศาสตร์สุขภาพ]] - มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2547
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]คุณภาพการบริการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาลเอกชนKeywords: ภาวะผู้นำ.
โรงพยาบาล.
การบริการ.Class number: WX40 ก151 2547 Abstract: การศึกษาเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประชากร ลักษณะผู้นำกรรมการบริหาร กระบวนการบริหารคุณภาพบริการของกรรมการบริหารกับผลการดำเนินงานตามการับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลด้านบริการ การมุ่งเน้นลูกค้า การเิงิน และการตลาด และประสิทธิผลของโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง จำนวน 14 แห่ง โดยการสุ่มตัวอย่างเก็บข้อมูลจากกรรมการบริหารของโรงพยาบาลเอกชนทั้งหมดจำนวน 116 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า กรรมการบริหารโรงพยาบาลส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 75.0 มีสถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ 64.7 มีประสบการณืบริหารตั้งแต่ 1-3 ปั ร้อยละ 30.2 สำเร็จการศึกาาระดับปริญยาตรี ร้อยละ 66.4 คณะกรรมการบริหารมีลักษณะเป็นผู็นำอยู่ในระดับสูงทุกลักษณะ ยกเว้นการให้กำลัีงใจเป็นนิจระดับปานกลาง กระบวนการบริหารคุณภาพบริการอยู่ในระดับสูง และผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง
การศึกษาความสัีมพันธ์พบว่า ลักษณะประชากรมีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารอย่างไม่มีนัียสำคัญทางสถิติ p-value>0.05 ลักษณะผู้นำมีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารทางบวกในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p-value<0.05,r=0.66 สำหรับด้านการวางแผนเชิงกลยุทธ์และการมุ่งเน้นลูกค้าและการตลาดมีความสัมพันธ์ระดับปานกลาง r=0.51และ0.53 ตามลำดับ ส่วนการมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคลมีความสัีมพันธ์ในระดับค่อนข้่างสูง r=0.65 ข้อเสนอแนะจากการวิจัยคือ ในการบริหารงานโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง ผู้บริหารควรให้ความสำคัญกับผลการดำเนินงานเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับบริการที่ดีมีคุณธรรม
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23137 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354652 WX40 ก151 2547 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของการใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณีในผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ ต่อค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยและความพึงพอใจในงานของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลเอกชน / บุศรา ศรีอรุณเรืองแสง / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2552
Title : ผลของการใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณีในผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ ต่อค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยและความพึงพอใจในงานของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลเอกชน Original title : Effects of case management in children with pneumonia on cost and job satisfaction of nursing team, private hospital Material Type: printed text Authors: บุศรา ศรีอรุณเรืองแสง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2552 Pagination: ก-ญ, 149 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการผู้ป่วยรายกรณี
[LCSH]การรักษาโรค -- แง่เศรษฐกิจ
[LCSH]ปอดอักเสบในเด็ก
[LCSH]โรงพยาบาลเอกชนKeywords: ปอดอักเสบ.
เด็ก.
โรงพยาบาลเอกชน.Class number: RJ436.P6 บ548 2552 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ ก่อนและหลังการใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณี และเปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของทีมการพยาบาล ก่อนและหลังการใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณีในผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ กลุ่มตัวอย่างเป็นทีมการพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยเด็ก โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท ประกอบด้วย พยาบาลวิชาชีพและผู้ช่วยพยาบาล จำนวน 10 คน และผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการอบรมและแผนการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบบันทึกค่าใช้จ่ายของผู้ป่วย และแบบสอบถามความพึงพอใจในงาน เครื่องมือทั้งหมดได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ ทดสอบค่าความเที่ยงด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .88 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติของ Wilcoxon matched pairs signed-ranks Test ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ หลังการใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณี (Mdn. = 40,805.80) น้อยกว่าก่อนการใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณี (Mdn. = 46,952.10) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 2. ค่ามัธยฐานของความพึงพอใจในงานของทีมการพยาบาล หลังการใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณีในผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ (Mdn. = 4.67) สูงกว่าก่อนการใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณีในผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ (Mdn. = 3.57) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23205 ผลของการใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณีในผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ ต่อค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยและความพึงพอใจในงานของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลเอกชน = Effects of case management in children with pneumonia on cost and job satisfaction of nursing team, private hospital [printed text] / บุศรา ศรีอรุณเรืองแสง, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 . - ก-ญ, 149 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการผู้ป่วยรายกรณี
[LCSH]การรักษาโรค -- แง่เศรษฐกิจ
[LCSH]ปอดอักเสบในเด็ก
[LCSH]โรงพยาบาลเอกชนKeywords: ปอดอักเสบ.
เด็ก.
โรงพยาบาลเอกชน.Class number: RJ436.P6 บ548 2552 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ ก่อนและหลังการใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณี และเปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของทีมการพยาบาล ก่อนและหลังการใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณีในผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ กลุ่มตัวอย่างเป็นทีมการพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยเด็ก โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท ประกอบด้วย พยาบาลวิชาชีพและผู้ช่วยพยาบาล จำนวน 10 คน และผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการอบรมและแผนการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบบันทึกค่าใช้จ่ายของผู้ป่วย และแบบสอบถามความพึงพอใจในงาน เครื่องมือทั้งหมดได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ ทดสอบค่าความเที่ยงด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .88 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติของ Wilcoxon matched pairs signed-ranks Test ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ หลังการใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณี (Mdn. = 40,805.80) น้อยกว่าก่อนการใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณี (Mdn. = 46,952.10) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 2. ค่ามัธยฐานของความพึงพอใจในงานของทีมการพยาบาล หลังการใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณีในผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ (Mdn. = 4.67) สูงกว่าก่อนการใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณีในผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ (Mdn. = 3.57) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23205 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355238 RJ436.P6 บ548 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available