From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
ความสัมพันธ์ระหว่างการตั้งเป้าหมายการเรียน การเรียนอย่างมีความสุข / ภัทรียา มาลาทอง / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างการตั้งเป้าหมายการเรียน การเรียนอย่างมีความสุข : กับทัศนคติต่อวิชาชีพพยาบาลของนัีกศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : Relationships between learning goal happiness in learning and attitude toward nursing professional of nurse students in nursing colleges under the jurisdiction of Ministry of Public Health Material Type: printed text Authors: ภัทรียา มาลาทอง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ฎ, 105 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-172-874-3 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การพยาบาลศึกษา]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การเรียนรู้ -- นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การดูแล
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: นักศึกษาพยาบาล.
วิทยาลัยพยาบาลClass number: WY100 ภ614 2545 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23122 ความสัมพันธ์ระหว่างการตั้งเป้าหมายการเรียน การเรียนอย่างมีความสุข = Relationships between learning goal happiness in learning and attitude toward nursing professional of nurse students in nursing colleges under the jurisdiction of Ministry of Public Health : กับทัศนคติต่อวิชาชีพพยาบาลของนัีกศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข [printed text] / ภัทรียา มาลาทอง, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ฎ, 105 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-172-874-3 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การพยาบาลศึกษา]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การเรียนรู้ -- นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การดูแล
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: นักศึกษาพยาบาล.
วิทยาลัยพยาบาลClass number: WY100 ภ614 2545 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23122 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354504 WY100 ภ614 2545 Thesis Main Library Thaksin Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล พลังวิชาชีพพยาบาล ความเชื่ออำนาจภายในตนกับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป / สุนีย์รัตน์ บุญศิลป์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล พลังวิชาชีพพยาบาล ความเชื่ออำนาจภายในตนกับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป Original title : Relationships between personal factors, nursing career vitality, internal locus of control, and career commitment of professional nurses, general hospitals Material Type: printed text Authors: สุนีย์รัตน์ บุญศิลป์, (2520-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฎ, 98 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-174-443-9 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. การบริหารการพยาบาล]]. --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล -- ทัศนคติKeywords: พยาบาลวืชาชีพ.
วิืชาชีพพยาบาล.
ความผูกพัน.Class number: WY100 ส845 2546 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล พลังวิชาชีพพยาบาล ความเชื่ออำนาจภายในตน กับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไปจำนวน 389 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามพลังวิชาชีพพยาบาล แบบสอบถามความเชื่ออำนาจภายในตนและแบบสอบถามความผูกพันในวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .83, .86 และ .85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การจรณ์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไปอยู่ในระดับมาก ([Mean] = 3.71 S.D. = .43) 2. พลังวิชาชีพพยาบาลและความเชื่ออำนาจภายในตนของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไปอยู่ในระดับมาก ([Mean] = 3.53 S.D. = .40, [Mean] = 3.95 S.D. = .37 ตามลำดับ) 3. ปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ อายุและประสบการณ์การทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันในวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 (r = .13 และ .12 ตามลำดับ) แต่ระดับการศึกษาและสถานภาพสมรสไม่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป 4. พลังวิชาชีพพยาบาล และความเชื่ออำนาจภายในตนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันในวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .50 และ .61 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23173 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล พลังวิชาชีพพยาบาล ความเชื่ออำนาจภายในตนกับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป = Relationships between personal factors, nursing career vitality, internal locus of control, and career commitment of professional nurses, general hospitals [printed text] / สุนีย์รัตน์ บุญศิลป์, (2520-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฎ, 98 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-174-443-9 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. การบริหารการพยาบาล]]. --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล -- ทัศนคติKeywords: พยาบาลวืชาชีพ.
วิืชาชีพพยาบาล.
ความผูกพัน.Class number: WY100 ส845 2546 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล พลังวิชาชีพพยาบาล ความเชื่ออำนาจภายในตน กับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไปจำนวน 389 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามพลังวิชาชีพพยาบาล แบบสอบถามความเชื่ออำนาจภายในตนและแบบสอบถามความผูกพันในวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .83, .86 และ .85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การจรณ์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไปอยู่ในระดับมาก ([Mean] = 3.71 S.D. = .43) 2. พลังวิชาชีพพยาบาลและความเชื่ออำนาจภายในตนของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไปอยู่ในระดับมาก ([Mean] = 3.53 S.D. = .40, [Mean] = 3.95 S.D. = .37 ตามลำดับ) 3. ปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ อายุและประสบการณ์การทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันในวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 (r = .13 และ .12 ตามลำดับ) แต่ระดับการศึกษาและสถานภาพสมรสไม่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป 4. พลังวิชาชีพพยาบาล และความเชื่ออำนาจภายในตนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันในวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .50 และ .61 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23173 ความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษากับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข / ธิดารัตน์ คำบุญ, 2521- / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษากับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : Relationships between attitude toward nursing profession, perceived student affairs management, and characteristics of effective nursing students, nursing colleges under the jurisdiction of the Ministry of Public Health Material Type: printed text Authors: ธิดารัตน์ คำบุญ, 2521-, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ก-ญ, 114 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-179-770-2 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การพยาบาลศึกษา]]-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล -- ทัศนคติKeywords: ทัศนคติ
วิชาชีพพยาบาล.
นักศึกษาพยาบาล.
วิทยาลัยพยาบาล.Class number: WY100 ธ434 2545 Abstract: การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา ความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล และหาความสัมพันธ์ระหว่าง เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา กับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลที่กำลังศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ชั้นปีที่ 1, 2, 3 และ 4 จำนวน 385 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล แบบสอบถามการรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา และแบบวัดความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาความเที่ยงของแบบสอบถามโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราคมีค่าความเที่ยง เท่ากับ .82, .88 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาคะแนนเต็ม คะแนนสูงสุด คะแนนต่ำสุด ค่าเฉลี่ย ร้อยละของค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความเบ้ ความโด่งและค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านลักษณะวิชาชีพ และร้อยละของค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านความสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน ผู้ป่วยและญาติ 2. การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษาของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรกคือ งานการจัดปฐมนิเทศนักศึกษา งานบริการแนะแนว และงานบริการอนามัย 3. ความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ร่วมแรงร่วมใจ เข้าใจผู้อื่น และเตรียมพร้อมตลอดเวลา 4. เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล และการรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา มีความสัมพันธ์ทางบวก กับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = .475 และ .391 ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23188 ความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษากับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข = Relationships between attitude toward nursing profession, perceived student affairs management, and characteristics of effective nursing students, nursing colleges under the jurisdiction of the Ministry of Public Health [printed text] / ธิดารัตน์ คำบุญ, 2521-, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ก-ญ, 114 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-179-770-2 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การพยาบาลศึกษา]]-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล -- ทัศนคติKeywords: ทัศนคติ
วิชาชีพพยาบาล.
นักศึกษาพยาบาล.
วิทยาลัยพยาบาล.Class number: WY100 ธ434 2545 Abstract: การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา ความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล และหาความสัมพันธ์ระหว่าง เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา กับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลที่กำลังศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ชั้นปีที่ 1, 2, 3 และ 4 จำนวน 385 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล แบบสอบถามการรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา และแบบวัดความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาความเที่ยงของแบบสอบถามโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราคมีค่าความเที่ยง เท่ากับ .82, .88 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาคะแนนเต็ม คะแนนสูงสุด คะแนนต่ำสุด ค่าเฉลี่ย ร้อยละของค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความเบ้ ความโด่งและค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านลักษณะวิชาชีพ และร้อยละของค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านความสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน ผู้ป่วยและญาติ 2. การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษาของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรกคือ งานการจัดปฐมนิเทศนักศึกษา งานบริการแนะแนว และงานบริการอนามัย 3. ความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ร่วมแรงร่วมใจ เข้าใจผู้อื่น และเตรียมพร้อมตลอดเวลา 4. เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล และการรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา มีความสัมพันธ์ทางบวก กับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = .475 และ .391 ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23188 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383784 WY100 ธ434 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available