From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SET Collection. รู้จริงทำจริง / วินัยชาญ สรรพโรจน์พัฒนา / กรุงเทพฯ : แม็ค - 2553
Collection Title: SET Collection Title : รู้จริงทำจริง : ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ Material Type: printed text Authors: วินัยชาญ สรรพโรจน์พัฒนา, Author ; ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, Associated Name ; ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. สถาบันพัฒนาความรู้ตลาดทุน, Associated Name Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 6. Publisher: กรุงเทพฯ : แม็ค Publication Date: 2553 Pagination: 186 หน้า Layout: ภาพประกอบ, pbk. Size: 28 ซม. ISBN (or other code): 978-974-412-066-3 Price: 150 Baht General note: รายวิชา 2001-0007 ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ "รู้จริง ทำจริง" สำหรับอาชีวศึกษา หมวดวิชาชีพ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546)
With compliments of The Stock Exchange of ThailandLanguages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการธุรกิจ
[LCSH]ผู้ประกอบการ
[LCSH]เจ้าของกิจการCurricular : BBA/MBA/MSM/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=17481 SET Collection. รู้จริงทำจริง : ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ [printed text] / วินัยชาญ สรรพโรจน์พัฒนา, Author ; ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, Associated Name ; ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. สถาบันพัฒนาความรู้ตลาดทุน, Associated Name . - พิมพ์ครั้งที่ 6. . - กรุงเทพฯ : แม็ค, 2553 . - 186 หน้า : ภาพประกอบ, pbk. ; 28 ซม.
ISBN : 978-974-412-066-3 : 150 Baht
รายวิชา 2001-0007 ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ "รู้จริง ทำจริง" สำหรับอาชีวศึกษา หมวดวิชาชีพ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546)
With compliments of The Stock Exchange of Thailand
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการธุรกิจ
[LCSH]ผู้ประกอบการ
[LCSH]เจ้าของกิจการCurricular : BBA/MBA/MSM/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=17481 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000278513 HB615 ว621 2553 c.1 Book Graduate Library SET Corner Available 32002000278521 HB615 ว621 2553 c.2 Book Main Library SET Corner Available SET Collection. เส้นทางนักลงทุน+เส้นทางผู้ประกอบการ / วิวรรณ ธาราหิรัญโชติ / กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - 2549
Collection Title: SET Collection Title : เส้นทางนักลงทุน+เส้นทางผู้ประกอบการ : 2 ทั Material Type: printed text Authors: วิวรรณ ธาราหิรัญโชติ, Author ; ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, Associated Name ; เรวัต ตันตยานนท์, Associated Name Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2. Publisher: กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย Publication Date: 2549 Pagination: 117, 99 หน้า Layout: ภาพประกอบ, pbk. Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 9749426894 Price: 120 Baht General note: ชื่อเรื่องจากปกนอก
With compliments of The Stock Exchange of ThailandLanguages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการธุรกิจ
[LCSH]การลงทุน
[LCSH]นักลงทุน
[LCSH]ผู้ประกอบการCurricular : BBA/MBA/MSM/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=17462 SET Collection. เส้นทางนักลงทุน+เส้นทางผู้ประกอบการ : 2 ทั [printed text] / วิวรรณ ธาราหิรัญโชติ, Author ; ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, Associated Name ; เรวัต ตันตยานนท์, Associated Name . - พิมพ์ครั้งที่ 2. . - กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, 2549 . - 117, 99 หน้า : ภาพประกอบ, pbk. ; 21 ซม.
ISBN : 9749426894 : 120 Baht
ชื่อเรื่องจากปกนอก
With compliments of The Stock Exchange of Thailand
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการธุรกิจ
[LCSH]การลงทุน
[LCSH]นักลงทุน
[LCSH]ผู้ประกอบการCurricular : BBA/MBA/MSM/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=17462 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000277721 HG4521 ว739 2549 c.1 Book Graduate Library SET Corner Available 32002000277697 HG4521 ว739 2549 c.2 Book Main Library SET Corner Available SIU THE-T. ความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืนของผู้ประกอบการศูนย์บริการรถยนต์ในประเทศไทย / พัชรพงษ์ แพงไพรี / ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : ความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืนของผู้ประกอบการศูนย์บริการรถยนต์ในประเทศไทย Original title : Competitive Competency for Sustainable Organization of Automotive Services Entrepreneurs in Thailand Material Type: printed text Authors: พัชรพงษ์ แพงไพรี, Author ; นริศ เพ็ญโภไคย, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name Publisher: ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xi, 229 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2020-12
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความสามารถในการแข่งขัน
[LCSH]ผู้ประกอบการ
[LCSH]ศูนย์บริการรถยนต์ -- ไทยKeywords: ความสามารถในการแข่งขัน, องค์กรแห่งความยั่งยืน, ผู้ประกอบการ Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบของปัจจัยคุณภาพการให้บริการ ทักษะผู้ประกอบการ ประสิทธิภาพการทำงาน นวัตกรรมการบริการ ความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีอิทธิพลระหว่างกัน ของปัจจัยคุณภาพการให้บริการ ทักษะผู้ประกอบการ ประสิทธิภาพการทำงาน นวัตกรรมการบริการ ความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน.3) เพื่อศึกษารูปแบบโมเดลของปัจจัยความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน โดยมีการดำเนินวิจัยทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ซึ่งเชิงปริมาณเป็นการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ปฏิบัติงานระดับหัวหน้างานของศูนย์บริการรถยนต์ในประเทศไทย จำนวน 480 คน เครื่องมือในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ประกอบด้วย คำถามทั่วไป และคำถามที่เกี่ยวกับตัวแปรต้น โดยเป็นแบบมาตราส่วนประมาณ ผ่านการทดสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา และความเชื่อมั่น แล้ววิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ สำหรับเชิงคุณภาพ ใช้การสำรวจเชิงลึก เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ประกอบการศูนย์บริการรถยนต์ จำนวน 9 ท่าน เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืนของผู้ประกอบการศูนย์บริการรถยนต์ในประเทศไทย
ผลการวิจัยพบว่า โมเดลสมการโครงสร้างปัจจัยสาเหตุที่ส่งอิทธิพลต่อความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืนของผู้ประกอบการศูนย์บริการรถยนต์ในประเทศไทย มีค่าดัชนีความสอดคล้องของโมเดลที่กลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์โดยสามารถพิจารณาได้ค่า 2= 247.36, df = 215, 2/df = 1.151, P-value = 0.064, RMSEA = 0.018, GFI = 0.962, AGFI = 0.938 และ ผลการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างด้านอิทธิพลเส้นทางที่ส่งผลต่ออิทธิพลทางตรง ประสิทธิภาพการทำงาน คุณภาพการบริการ และทักษะผู้ประกอบ และ สามารถส่งอิทธิพลทางตรงต่อนวัตกรรมการบริการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เส้นทางของอิทธิพลทางตรง เท่ากับ 0.581** 0.186** และ 0.184** ตามลำดับ และประสิทธิภาพการทำงาน คุณภาพการบริการ ทักษะผู้ประกอบ สามารถส่งอิทธิพลทางอ้อมผ่านนวัตกรรมการบริการไปยัง ความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยมีค่าสัมประสิทธิ์เส้นทางของอิทธิพลทางอ้อม เท่ากับ 0.158** 0.051* และ 0.050* ตามลำดับ และประสิทธิภาพการทำงาน คุณภาพการบริการ นวัตกรรมการบริการ และทักษะผู้ประกอบการ สามารถส่งอิทธิพลทางตรงต่อความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยมีค่าสัมประสิทธิ์เส้นทางของอิทธิพลทางตรง เท่ากับ 0.357** 0.285** 0.271** และ 0.093* ตามลำดับ สำหรับแนวทางการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน ผู้ประกอบให้แนวทางการพัฒนาว่า จะต้องมีการให้ความสำคัญในเรื่อง คุณภาพการบริการ ความกระตือรือร้นของพน การมีทักษะด้านการวางแผน และการกำหนดเป้าหมาย การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ความสามารถทางด้านการตลาด ผู้ประกอบการจะต้องมีความอดทน พยายาม มุ่งมั่น ให้องค์กรประสบผลสำเร็จ และให้ความสำคัญในเรื่องการประเมินผลงานของพนักงานที่มีต่อการปรับเปลี่ยนตำแหน่งงานในตำแหน่งที่สูงขึ้น การสร้างแรงจูงใจในการทำงานเพื่อให้พนักงานมีความเต็มใจในการให้บริการกับลูกค้า มีการฝึกอบรมทักษะให้พนักงานอย่างต่อเนื่องในเรื่องการใช้เทคโนโลยี และการนำเทคโนโลยีมาใช้กับวิธีการบริการที่มีอยู่เดิมให้สะดวก และเหมาะสมมากขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพในการให้บริการ โดยสรุป ผู้ประกอบการเห็นว่าทุกตัวแปรมีความสำคัญต่อความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืนของผู้ประกอบการศูนย์บริการรถยนต์ในประเทศไทยCurricular : BBA/GE/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28567 SIU THE-T. ความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืนของผู้ประกอบการศูนย์บริการรถยนต์ในประเทศไทย = Competitive Competency for Sustainable Organization of Automotive Services Entrepreneurs in Thailand [printed text] / พัชรพงษ์ แพงไพรี, Author ; นริศ เพ็ญโภไคย, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name . - [S.l.] : ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xi, 229 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2020-12
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความสามารถในการแข่งขัน
[LCSH]ผู้ประกอบการ
[LCSH]ศูนย์บริการรถยนต์ -- ไทยKeywords: ความสามารถในการแข่งขัน, องค์กรแห่งความยั่งยืน, ผู้ประกอบการ Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบของปัจจัยคุณภาพการให้บริการ ทักษะผู้ประกอบการ ประสิทธิภาพการทำงาน นวัตกรรมการบริการ ความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีอิทธิพลระหว่างกัน ของปัจจัยคุณภาพการให้บริการ ทักษะผู้ประกอบการ ประสิทธิภาพการทำงาน นวัตกรรมการบริการ ความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน.3) เพื่อศึกษารูปแบบโมเดลของปัจจัยความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน โดยมีการดำเนินวิจัยทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ซึ่งเชิงปริมาณเป็นการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ปฏิบัติงานระดับหัวหน้างานของศูนย์บริการรถยนต์ในประเทศไทย จำนวน 480 คน เครื่องมือในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ประกอบด้วย คำถามทั่วไป และคำถามที่เกี่ยวกับตัวแปรต้น โดยเป็นแบบมาตราส่วนประมาณ ผ่านการทดสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา และความเชื่อมั่น แล้ววิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ สำหรับเชิงคุณภาพ ใช้การสำรวจเชิงลึก เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ประกอบการศูนย์บริการรถยนต์ จำนวน 9 ท่าน เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืนของผู้ประกอบการศูนย์บริการรถยนต์ในประเทศไทย
ผลการวิจัยพบว่า โมเดลสมการโครงสร้างปัจจัยสาเหตุที่ส่งอิทธิพลต่อความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืนของผู้ประกอบการศูนย์บริการรถยนต์ในประเทศไทย มีค่าดัชนีความสอดคล้องของโมเดลที่กลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์โดยสามารถพิจารณาได้ค่า 2= 247.36, df = 215, 2/df = 1.151, P-value = 0.064, RMSEA = 0.018, GFI = 0.962, AGFI = 0.938 และ ผลการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างด้านอิทธิพลเส้นทางที่ส่งผลต่ออิทธิพลทางตรง ประสิทธิภาพการทำงาน คุณภาพการบริการ และทักษะผู้ประกอบ และ สามารถส่งอิทธิพลทางตรงต่อนวัตกรรมการบริการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เส้นทางของอิทธิพลทางตรง เท่ากับ 0.581** 0.186** และ 0.184** ตามลำดับ และประสิทธิภาพการทำงาน คุณภาพการบริการ ทักษะผู้ประกอบ สามารถส่งอิทธิพลทางอ้อมผ่านนวัตกรรมการบริการไปยัง ความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยมีค่าสัมประสิทธิ์เส้นทางของอิทธิพลทางอ้อม เท่ากับ 0.158** 0.051* และ 0.050* ตามลำดับ และประสิทธิภาพการทำงาน คุณภาพการบริการ นวัตกรรมการบริการ และทักษะผู้ประกอบการ สามารถส่งอิทธิพลทางตรงต่อความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยมีค่าสัมประสิทธิ์เส้นทางของอิทธิพลทางตรง เท่ากับ 0.357** 0.285** 0.271** และ 0.093* ตามลำดับ สำหรับแนวทางการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน ผู้ประกอบให้แนวทางการพัฒนาว่า จะต้องมีการให้ความสำคัญในเรื่อง คุณภาพการบริการ ความกระตือรือร้นของพน การมีทักษะด้านการวางแผน และการกำหนดเป้าหมาย การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ความสามารถทางด้านการตลาด ผู้ประกอบการจะต้องมีความอดทน พยายาม มุ่งมั่น ให้องค์กรประสบผลสำเร็จ และให้ความสำคัญในเรื่องการประเมินผลงานของพนักงานที่มีต่อการปรับเปลี่ยนตำแหน่งงานในตำแหน่งที่สูงขึ้น การสร้างแรงจูงใจในการทำงานเพื่อให้พนักงานมีความเต็มใจในการให้บริการกับลูกค้า มีการฝึกอบรมทักษะให้พนักงานอย่างต่อเนื่องในเรื่องการใช้เทคโนโลยี และการนำเทคโนโลยีมาใช้กับวิธีการบริการที่มีอยู่เดิมให้สะดวก และเหมาะสมมากขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพในการให้บริการ โดยสรุป ผู้ประกอบการเห็นว่าทุกตัวแปรมีความสำคัญต่อความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืนของผู้ประกอบการศูนย์บริการรถยนต์ในประเทศไทยCurricular : BBA/GE/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28567 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607606 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-12 c.2 Book Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607618 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-12 c.1 Book Main Library General Shelf Available SIU THE-T. ปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการที่มีต่อผลประกอบการของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย / ภาคภูมิ ภัควิภาส / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการที่มีต่อผลประกอบการของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย Original title : Factors of Entrepreneur's Knowledge that affect SMEs Performances, Case of Northern Thailand Material Type: printed text Authors: ภาคภูมิ ภัควิภาส, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: xvii, 379 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2018-05
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ประกอบการ
[LCSH]วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมKeywords: ปัจจัยด้านความรู้,
ผลประกอบการ,
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค้นหาปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการ ที่ที่มีต่อผลประกอบการของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย จากประชากรและกลุ่มตัวอย่างของผู้ประกอบการธุรกิจในเขตพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทยทั้งหมด 17 จังหวัด จำนวน 400 ราย และ ทำการสัมภาษณ์ ผู้ประกอบการ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก อีก จำนวน 4 ราย โดยใช้ซึ่งกลุ่มตัวที่ทำการคัดเลือกโดยใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็น (Nonprobability Sampling) การสุ่มเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling Technique) โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิตเชิงพรรณา ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐาน ทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร สำหรับกำหนดการวัดการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient)
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการที่มีต่อผลประกอบการของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย ในภาพรวมระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ซึ่งพิจารณารายด้านทั้ง 10 ด้าน ดังนี้ องค์การแห่งการเรียนรู้: (การส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยี) (x ̅ = 4.050, S.D. = 0.575) (แรงจูงใจในการเรียนรู้) (x ̅ = 3.998, S.D. = 0.689) และ (พลวัตการเรียนรู้) (x ̅ = 3.992, S.D. = 0.467) บรรยากาศการเรียนรู้: (การสื่อสาร) (x ̅ =4.040, S.D. = 0.469) และ (การเรียนรู้และแลกเปลี่ยนความรู้) (x ̅ = 3.761, S.D. = 0.504) การจัดการความรู้: (การแสวงหาความรู้) (x ̅ =4.154, S.D. = 0.564) (การประยุกต์ใช้ความรู้) (x ̅ = 4.144, S.D. = 0.589) (การจัดเก็บความรู้) (x ̅ =4.008, S.D. = 0.505) (การแบ่งปันความรู้) (x ̅ = 3.993, S.D. = 0.525) และ (การสร้างความรู้) (x ̅ = 3.591, S.D. = 0.765) ผลประกอบการของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทยในภาพรวมอยู่ในระดับผลการดำเนินงานของธุรกิจดีกว่าคู่แข่ง ซึ่งพิจารณารายด้านทั้ง 4 ด้าน ดังนี้ ผลการดำเนินงานด้านกระบวนการภายใน (x ̅ =4.097, S.D. = 0.665) ผลการดำเนินงานด้านการเรียนรู้และการเจริญเติบโต (x ̅ = 4.058, S.D. = 0.522) ผลการดำเนินงานด้านลูกค้า (x ̅ =3.995, S.D. = 0.503) และผลการดำเนินงานด้านการเงิน (x ̅ = 3.669, S.D. = 0.713)
การทดสอบสมมติฐานของการวิจัยพบว่า 1) ลักษะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันทางด้าน อายุ มีค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการที่ไม่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม ลักษะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันทางด้าน ตำแหน่ง ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน และกลุ่มประเภทของธุรกิจ มีค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการที่แตกต่างกัน ในส่วนของการทดสอบความสัมพันธ์ พบว่า 1) ปัจจัยความรู้ ด้านองค์การแห่งการเรียนรู้ มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย ด้านลูกค้า ด้านการเรียนรู้และการเจริญเติบโต กระบวนการภายใน แต่ไม่มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงาน ด้านการเงิน 2) ปัจจัยความรู้ ด้านบรรยากาศการเรียนรู้ มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย ด้านการเรียนรู้และการเจริญเติบโต แต่ไม่มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงาน ด้านการเงิน ด้านลูกค้า และด้านกระบวนการภายใน 3) ปัจจัยความรู้ ด้านการจัดการความรู้ มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย ด้านผลการดำเนินงานด้านการเงิน แต่ไม่มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงาน ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการภายใน และด้านการเรียนรู้และการเจริญเติบโต
การนำงานวิจัยไปพัฒนาปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการที่มีต่อผลประกอบการของกลุ่มวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย นอกจาก ผู้ประกอบการจะให้ความสำคัญ การนำองค์กร ในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ที่ชัดเจนแล้ว กลยุทธ์ระดับปฏิบัติการนั้นจะต้องมุ่งเน้นการพัฒนาองค์การให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ การพัฒนาและนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมไปถึงการจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ให้กับบุคลากรในองค์ อีกด้วยCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27836 SIU THE-T. ปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการที่มีต่อผลประกอบการของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย = Factors of Entrepreneur's Knowledge that affect SMEs Performances, Case of Northern Thailand [printed text] / ภาคภูมิ ภัควิภาส, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - xvii, 379 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2018-05
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ประกอบการ
[LCSH]วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมKeywords: ปัจจัยด้านความรู้,
ผลประกอบการ,
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค้นหาปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการ ที่ที่มีต่อผลประกอบการของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย จากประชากรและกลุ่มตัวอย่างของผู้ประกอบการธุรกิจในเขตพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทยทั้งหมด 17 จังหวัด จำนวน 400 ราย และ ทำการสัมภาษณ์ ผู้ประกอบการ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก อีก จำนวน 4 ราย โดยใช้ซึ่งกลุ่มตัวที่ทำการคัดเลือกโดยใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็น (Nonprobability Sampling) การสุ่มเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling Technique) โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิตเชิงพรรณา ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐาน ทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร สำหรับกำหนดการวัดการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient)
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการที่มีต่อผลประกอบการของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย ในภาพรวมระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ซึ่งพิจารณารายด้านทั้ง 10 ด้าน ดังนี้ องค์การแห่งการเรียนรู้: (การส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยี) (x ̅ = 4.050, S.D. = 0.575) (แรงจูงใจในการเรียนรู้) (x ̅ = 3.998, S.D. = 0.689) และ (พลวัตการเรียนรู้) (x ̅ = 3.992, S.D. = 0.467) บรรยากาศการเรียนรู้: (การสื่อสาร) (x ̅ =4.040, S.D. = 0.469) และ (การเรียนรู้และแลกเปลี่ยนความรู้) (x ̅ = 3.761, S.D. = 0.504) การจัดการความรู้: (การแสวงหาความรู้) (x ̅ =4.154, S.D. = 0.564) (การประยุกต์ใช้ความรู้) (x ̅ = 4.144, S.D. = 0.589) (การจัดเก็บความรู้) (x ̅ =4.008, S.D. = 0.505) (การแบ่งปันความรู้) (x ̅ = 3.993, S.D. = 0.525) และ (การสร้างความรู้) (x ̅ = 3.591, S.D. = 0.765) ผลประกอบการของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทยในภาพรวมอยู่ในระดับผลการดำเนินงานของธุรกิจดีกว่าคู่แข่ง ซึ่งพิจารณารายด้านทั้ง 4 ด้าน ดังนี้ ผลการดำเนินงานด้านกระบวนการภายใน (x ̅ =4.097, S.D. = 0.665) ผลการดำเนินงานด้านการเรียนรู้และการเจริญเติบโต (x ̅ = 4.058, S.D. = 0.522) ผลการดำเนินงานด้านลูกค้า (x ̅ =3.995, S.D. = 0.503) และผลการดำเนินงานด้านการเงิน (x ̅ = 3.669, S.D. = 0.713)
การทดสอบสมมติฐานของการวิจัยพบว่า 1) ลักษะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันทางด้าน อายุ มีค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการที่ไม่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม ลักษะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันทางด้าน ตำแหน่ง ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน และกลุ่มประเภทของธุรกิจ มีค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการที่แตกต่างกัน ในส่วนของการทดสอบความสัมพันธ์ พบว่า 1) ปัจจัยความรู้ ด้านองค์การแห่งการเรียนรู้ มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย ด้านลูกค้า ด้านการเรียนรู้และการเจริญเติบโต กระบวนการภายใน แต่ไม่มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงาน ด้านการเงิน 2) ปัจจัยความรู้ ด้านบรรยากาศการเรียนรู้ มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย ด้านการเรียนรู้และการเจริญเติบโต แต่ไม่มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงาน ด้านการเงิน ด้านลูกค้า และด้านกระบวนการภายใน 3) ปัจจัยความรู้ ด้านการจัดการความรู้ มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย ด้านผลการดำเนินงานด้านการเงิน แต่ไม่มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลการดำเนินงาน ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการภายใน และด้านการเรียนรู้และการเจริญเติบโต
การนำงานวิจัยไปพัฒนาปัจจัยด้านความรู้ของผู้ประกอบการที่มีต่อผลประกอบการของกลุ่มวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมทางภาคเหนือของประเทศไทย นอกจาก ผู้ประกอบการจะให้ความสำคัญ การนำองค์กร ในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ที่ชัดเจนแล้ว กลยุทธ์ระดับปฏิบัติการนั้นจะต้องมุ่งเน้นการพัฒนาองค์การให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ การพัฒนาและนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมไปถึงการจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ให้กับบุคลากรในองค์ อีกด้วยCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27836 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598183 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-05 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598159 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-05 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU Thesis. คุณลักษณะสำคัญของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่ประสบความสำเร็จในหมวดการค้า / วินัย วารมา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU Thesis Title : คุณลักษณะสำคัญของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่ประสบความสำเร็จในหมวดการค้า Original title : Essential Characteristic of Successful SMEs Entrepreneurs in Trade Section Material Type: printed text Authors: วินัย วารมา, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 110 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-07
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ประกอบการ
[LCSH]วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมKeywords: คุณลักษณะผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบสำคัญของคุณลักษณะของผู้ประกอบการและความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและพยากรณ์รูปแบบความสัมพันธ์ขององค์ประกอบคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่มีผลต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในหมวดการค้าโดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบการของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในหมวดการค้าที่ประกอบธุรกิจค้าส่งและค้าปลีกจำนวน 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ในการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการศึกษาเกี่ยวกับคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่สำคัญ พบว่ามีความสำคัญเรียงตามลำดับ คือ ความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหาของผู้ประกอบการ ทักษะในการสื่อสารและการสนทนากับลูกค้า ความคิดสร้างสรรค์ ทักษะในด้านการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ศิลปะในการจูงใจลูกค้าความสามารถในการนำเสนอสินค้าให้เวลาในการบริหารงาน ความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า ความสามารถในการวางแผน ทักษะด้านการคำนวณและดูแลสุขภาพร่างกาย ผลจากการวิจัยด้านกลยุทธ์ด้านการตลาดพบว่า ผู้ประกอบการให้ความสำคัญกับปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และปัจจัยด้านราคาเรียงตามลำดับความสำคัญ นอกจากนี้ผลจากการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรสามารถนำมาสรุปได้ว่า คุณลักษณะของผู้ประกอบการมีความสัมพันธ์กับความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางหรือขนาดย่อมในหมวดการค้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยจากคุณลักษณะของผู้ประกอบการทั้ง 16 องค์ประกอบ ที่ทำการทดสอบ พบว่ามี 11 องค์ประกอบ ประกอบด้วย ด้านสุขภาพ ด้านเวลาในการบริหารงาน ด้านศิลปะในการจูงใจลูกค้า ด้านทักษะในการสื่อสาร ด้านการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ด้านการนำเสนอสินค้า ด้านการคำนวน ด้านการวิเคราะห์ปัญหา ด้านตัดสินใจ ด้านลักษณะผู้นำ และด้านการสร้างเครือข่าย มีความสัมพันธ์กับความสำเร็จในการประกอบธุรกิจในหมวดการค้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้ง 4 ด้าน คือ ความสำเร็จทางธุรกิจ แนวโน้มของจำนวนพนักงาน แนวโน้มของจำนวนลูกค้า และแนวโน้มของยอดขายCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27318 SIU Thesis. คุณลักษณะสำคัญของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่ประสบความสำเร็จในหมวดการค้า = Essential Characteristic of Successful SMEs Entrepreneurs in Trade Section [printed text] / วินัย วารมา, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 110 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-07
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ประกอบการ
[LCSH]วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมKeywords: คุณลักษณะผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบสำคัญของคุณลักษณะของผู้ประกอบการและความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและพยากรณ์รูปแบบความสัมพันธ์ขององค์ประกอบคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่มีผลต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในหมวดการค้าโดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบการของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในหมวดการค้าที่ประกอบธุรกิจค้าส่งและค้าปลีกจำนวน 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ในการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการศึกษาเกี่ยวกับคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่สำคัญ พบว่ามีความสำคัญเรียงตามลำดับ คือ ความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหาของผู้ประกอบการ ทักษะในการสื่อสารและการสนทนากับลูกค้า ความคิดสร้างสรรค์ ทักษะในด้านการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ศิลปะในการจูงใจลูกค้าความสามารถในการนำเสนอสินค้าให้เวลาในการบริหารงาน ความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า ความสามารถในการวางแผน ทักษะด้านการคำนวณและดูแลสุขภาพร่างกาย ผลจากการวิจัยด้านกลยุทธ์ด้านการตลาดพบว่า ผู้ประกอบการให้ความสำคัญกับปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และปัจจัยด้านราคาเรียงตามลำดับความสำคัญ นอกจากนี้ผลจากการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรสามารถนำมาสรุปได้ว่า คุณลักษณะของผู้ประกอบการมีความสัมพันธ์กับความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางหรือขนาดย่อมในหมวดการค้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยจากคุณลักษณะของผู้ประกอบการทั้ง 16 องค์ประกอบ ที่ทำการทดสอบ พบว่ามี 11 องค์ประกอบ ประกอบด้วย ด้านสุขภาพ ด้านเวลาในการบริหารงาน ด้านศิลปะในการจูงใจลูกค้า ด้านทักษะในการสื่อสาร ด้านการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ด้านการนำเสนอสินค้า ด้านการคำนวน ด้านการวิเคราะห์ปัญหา ด้านตัดสินใจ ด้านลักษณะผู้นำ และด้านการสร้างเครือข่าย มีความสัมพันธ์กับความสำเร็จในการประกอบธุรกิจในหมวดการค้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้ง 4 ด้าน คือ ความสำเร็จทางธุรกิจ แนวโน้มของจำนวนพนักงาน แนวโน้มของจำนวนลูกค้า และแนวโน้มของยอดขายCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27318 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595320 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-07 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595296 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-07 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available การสร้างธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ / มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาวิทยาการจัดการ / 2555
Title : การสร้างธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ : เอกสารการสอนชุดวิชา (หน่วยที่ 1-8) Original title : Business building and enterpreneurship Material Type: printed text Authors: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาวิทยาการจัดการ, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publication Date: 2555 Pagination: 2 เล่ม Layout: ภาพประกอบ. Size: 27 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-160025-9 General note: ISBN 978-616-160-025-9 เล่ม 1.
ISBN 978-616-160-026-6 เล่ม 2.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการธุรกิจ
[LCSH]ผู้ประกอบการ
[LCSH]ผู้ประกอบการ -- ไทยKeywords: ผู้ประกอบการ.
การจัดการธุรกิจ.Class number: HD62.5 ส747 2555 Curricular : BBA/BNS/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23831 การสร้างธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ = Business building and enterpreneurship : เอกสารการสอนชุดวิชา (หน่วยที่ 1-8) [printed text] / มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาวิทยาการจัดการ, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - 2555 . - 2 เล่ม : ภาพประกอบ. ; 27 ซม.
ISBN : 978-6-16-160025-9
ISBN 978-616-160-025-9 เล่ม 1.
ISBN 978-616-160-026-6 เล่ม 2.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการธุรกิจ
[LCSH]ผู้ประกอบการ
[LCSH]ผู้ประกอบการ -- ไทยKeywords: ผู้ประกอบการ.
การจัดการธุรกิจ.Class number: HD62.5 ส747 2555 Curricular : BBA/BNS/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23831 การสร้างธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ / มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาวิทยาการจัดการ / ศูนย์หนังสือ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - 2556
Title : การสร้างธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ : เอกสารการสอนชุดวิชา (หน่วยที่ 9-15) Original title : Business building and enterpreneurship Material Type: printed text Authors: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาวิทยาการจัดการ, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2. Publisher: ศูนย์หนังสือ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Publication Date: 2556 Pagination: 2 เล่ม Layout: ภาพประกอบ. Size: 27 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-160026-6 General note: ISBN 978-616-160-025-9 เล่ม 1.
ISBN 978-616-160-026-6 เล่ม 2.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการธุรกิจ
[LCSH]ผู้ประกอบการ
[LCSH]ผู้ประกอบการ -- ไทยKeywords: ผู้ประกอบการ.
การจัดการธุรกิจ.Class number: HD62.5 ส747 2555 Curricular : BBA/BNS/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23832 การสร้างธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ = Business building and enterpreneurship : เอกสารการสอนชุดวิชา (หน่วยที่ 9-15) [printed text] / มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาวิทยาการจัดการ, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 2. . - [S.l.] : ศูนย์หนังสือ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 . - 2 เล่ม : ภาพประกอบ. ; 27 ซม.
ISBN : 978-6-16-160026-6
ISBN 978-616-160-025-9 เล่ม 1.
ISBN 978-616-160-026-6 เล่ม 2.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการธุรกิจ
[LCSH]ผู้ประกอบการ
[LCSH]ผู้ประกอบการ -- ไทยKeywords: ผู้ประกอบการ.
การจัดการธุรกิจ.Class number: HD62.5 ส747 2555 Curricular : BBA/BNS/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23832 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000385649 HD62.5 ส747 2555 v.1 Book Main Library General Shelf Available 32002000385656 HD62.5 ส747 2555 v.2 Book Main Library General Shelf Available สร้างกิจการให้ตัวเอง = / Lester David / กรุงเทพฯ : หน้าต่างสู่โลกกว้าง - 2553
Title : สร้างกิจการให้ตัวเอง = : Starting your own business : the good the bad and the unexpected / Material Type: printed text Authors: Lester David ; สุพรรณี ปิ่นมณี ; ชูศักดิ์ ดิเรกวัฒนชัย Edition statement: พิมพ์ครั้งแรก Publisher: กรุงเทพฯ : หน้าต่างสู่โลกกว้าง Publication Date: 2553 Pagination: 281 หน้า ISBN (or other code): 978-974-547-200-6 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ธุรกิจขนาดย่อม -- การจัดการ
[LCSH]ธุรกิจใหม่
[LCSH]ผู้ประกอบการKeywords: SME Class number: HD62.5 Abstract: Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=19380 สร้างกิจการให้ตัวเอง = : Starting your own business : the good the bad and the unexpected / [printed text] / Lester David ; สุพรรณี ปิ่นมณี ; ชูศักดิ์ ดิเรกวัฒนชัย . - พิมพ์ครั้งแรก . - กรุงเทพฯ : หน้าต่างสู่โลกกว้าง, 2553 . - 281 หน้า.
ISBN : 978-974-547-200-6
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ธุรกิจขนาดย่อม -- การจัดการ
[LCSH]ธุรกิจใหม่
[LCSH]ผู้ประกอบการKeywords: SME Class number: HD62.5 Abstract: Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=19380 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000298123 HD62.5 ล796 2552 Book Main Library General Shelf Available เถ้าแก่ แค่เอื้อม / วิทยา มานะวาณิชเจริญ / กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น - 2547
Title : เถ้าแก่ แค่เอื้อม Material Type: printed text Authors: วิทยา มานะวาณิชเจริญ, Author Publisher: กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น Publication Date: 2547 Pagination: 415 หน้า Layout: pbk. Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 9789742120375 Price: 175 Baht General note: With compliments of Assoc. Prof. Dr. Kanittha Navarat Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการธุรกิจ
[LCSH]การบริหารธุรกิจ
[LCSH]ความสำเร็จทางธุรกิจ
[LCSH]ผู้ประกอบการCurricular : BBA/MBA/MSM/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=13363 เถ้าแก่ แค่เอื้อม [printed text] / วิทยา มานะวาณิชเจริญ, Author . - กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2547 . - 415 หน้า : pbk. ; 21 ซม.
ISBN : 9789742120375 : 175 Baht
With compliments of Assoc. Prof. Dr. Kanittha Navarat
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการธุรกิจ
[LCSH]การบริหารธุรกิจ
[LCSH]ความสำเร็จทางธุรกิจ
[LCSH]ผู้ประกอบการCurricular : BBA/MBA/MSM/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=13363 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000232908 HD38.2 ว34 2547 c.1 Book Main Library General Shelf Not for loan