From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
P.W.Collection. กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์และการจัดการความขัดแย้งในชุมชนมุสลิม / มูฮัมหมัดรอฟีอี มูซอ / กรุงเทพฯ : โครงการพัฒนาระบบกฎหมายไทย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย - 2549
Collection Title: P.W.Collection Title : กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์และการจัดการความขัดแย้งในชุมชนมุสลิม Material Type: printed text Authors: มูฮัมหมัดรอฟีอี มูซอ, Author ; สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. โครงการพัฒนาระบบกฎหมายไทย, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ : โครงการพัฒนาระบบกฎหมายไทย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย Publication Date: 2549 Series: ชุดโครงการวิจัยเรื่องกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์กับสังคมไทย Pagination: 13, 184 หน้า Layout: ภาพประกอบ, pbk. Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 9789748213378 Price: 100 Baht General note: With compliments of Prof. Dr. Prida Wibulswas Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
[LCSH]กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์
[LCSH]การบริหารความขัดแย้งCurricular : BALA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=12873 P.W.Collection. กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์และการจัดการความขัดแย้งในชุมชนมุสลิม [printed text] / มูฮัมหมัดรอฟีอี มูซอ, Author ; สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. โครงการพัฒนาระบบกฎหมายไทย, Associated Name . - , 2549 . - 13, 184 หน้า : ภาพประกอบ, pbk. ; 21 ซม.. - (ชุดโครงการวิจัยเรื่องกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์กับสังคมไทย) .
ISBN : 9789748213378 : 100 Baht
With compliments of Prof. Dr. Prida Wibulswas
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
[LCSH]กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์
[LCSH]การบริหารความขัดแย้งCurricular : BALA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=12873 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000223733 KPT1572 ม419 2549 c.1 Book Graduate Library P.Wibulsawas Corner Available 32002000244556 KPT1572 ม419 2549 c.2 Book Main Library P.Wibulsawas Corner Available การจัดการความขัดแย้งในการทำงาน : ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย / สุมาลี ยุทธวรวิทย์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : การจัดการความขัดแย้งในการทำงาน : ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย Original title : Conflict management at work : experiences of head nurses Material Type: printed text Authors: สุมาลี ยุทธวรวิทย์, (2507-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ญ, 143 แผ่น Layout: ตารงประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารความขัดแย้ง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย. Class number: WY160 ส856 2550 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดเชิงปรากฎการณ์วิทยา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมายและประสบการณ์การจัดการความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการดำรงตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยตั้งแต่ 3 ปี ขึ้นไป และมีประสบการณ์ในการจัดการความขัดแย้ง ในโรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์แห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 15 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ Colaizzi (1978) ผลการศึกษาพบว่า หัวหน้าหอผู้ป่วยได้ให้ความหมายของการจัดการความขัดแย้งในการทำงานเป็น 2 ประเด็นคือ การทำให้เรื่องยุติลง และการลดระดับความรุนแรงของปัญหาให้สามารถดำเนินงานต่อไปได้ ส่วนประสบการณ์การจัดการความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยพบว่า สภาพการณ์ของความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยเกิดขึ้นระหว่างพยาบาลกับแพทย์ พยาบาลกับพยาบาลด้วยกัน พยาบาลกับผู้ช่วยเหลือคนไข้ และพยาบาลกับผู้ป่วยและญาติ ซึ่งความขัดแย้งระหว่างพยาบาลกับพยาบาลมีเกิดขึ้นมากที่สุด สาเหตุของความขัดแย้ง คือ ความคาดหวังในบทบาทหน้าที่ที่แตกต่างกัน การสื่อสารไม่มีประสิทธิภาพ การมีความรู้ความสามารถและประสบการณ์แตกต่างกัน
ผลประโยชน์ไม่ลงตัว ตลอดจนความแตกต่างของคุณลักษณะส่วนบุคคล ซึ่งหัวหน้าหอผู้ป่วยสามารถรับรู้ความขัดแย้งได้จากการเดินตรวจเยี่ยมซักถามจากผู้รับบริการ คำบอกเล่าของบุคลากรในทีมการพยาบาลและการสังเกตพฤติกรรม ตลอดจนบรรยากาศในการทำงานที่ไม่เป็นมิตร โดยหัวหน้าหอผู้ป่วยได้เลือกใช้วิธีการจัดการความขัดแย้งหลากหลายวิธี ประกอบด้วยการประนีประนอมโดยการเจรจาไกล่เกลี่ย การแก้ไขปัญหาโดยใช้ทุกคนมีส่วนร่วม การโน้มน้าวให้เกิดการยอมรับ การขอร้องให้ยอมเพื่อประโยชน์ของหน่วยงาน รวมทั้งการหลีกเลี่ยงการปะทะความขัดแย้ง นอกจากนี้ผลการศึกษาพบว่าจากประสบการณ์สอนให้หัวหน้าหอผู้ป่วยเรียนรู้ว่า ควรป้องกันไม่ให้เกิดความขัดแย้งจะดีกว่า โดยการจัดระบบงานและแนวทางปฏิบัติงานให้ชัดเจน มีการติดต่อสื่อสารหลายช่องทางมีการสร้างบรรยากาศในที่ทำงานเชิงสร้างสรรค์ การสร้างความน่าเชื่อถือให้ตนเอง และฝึกอบรมเพิ่มทักษะในการจัดการความขัดแย้ง ข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้ สามารถนำไปเป็นแนวทางในการกำหนดกลยุทธ์ในการป้องกันและจัดการความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ หัวหน้าหอผู้ป่วยที่เข้ารับตำแหน่งใหม่สามารถประยุกต์ใช้ในการจัดการความขัดแย้งในการทำงานได้อย่างเหมาะสม และผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนำไปเป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากรทางการพยาบาลให้มีทักษะเกี่ยวกับการจัดการความขัดแย้ง อันจะส่งผลต่อประสิทธิภาพของงาน ทำให้หน่วยงานมีความก้าวหน้ารวมทั้งผู้รับบริการได้รับบริการที่ดีมีคุณภาพCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23228 การจัดการความขัดแย้งในการทำงาน : ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย = Conflict management at work : experiences of head nurses [printed text] / สุมาลี ยุทธวรวิทย์, (2507-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ญ, 143 แผ่น : ตารงประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารความขัดแย้ง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย. Class number: WY160 ส856 2550 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดเชิงปรากฎการณ์วิทยา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมายและประสบการณ์การจัดการความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการดำรงตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยตั้งแต่ 3 ปี ขึ้นไป และมีประสบการณ์ในการจัดการความขัดแย้ง ในโรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์แห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 15 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ Colaizzi (1978) ผลการศึกษาพบว่า หัวหน้าหอผู้ป่วยได้ให้ความหมายของการจัดการความขัดแย้งในการทำงานเป็น 2 ประเด็นคือ การทำให้เรื่องยุติลง และการลดระดับความรุนแรงของปัญหาให้สามารถดำเนินงานต่อไปได้ ส่วนประสบการณ์การจัดการความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยพบว่า สภาพการณ์ของความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยเกิดขึ้นระหว่างพยาบาลกับแพทย์ พยาบาลกับพยาบาลด้วยกัน พยาบาลกับผู้ช่วยเหลือคนไข้ และพยาบาลกับผู้ป่วยและญาติ ซึ่งความขัดแย้งระหว่างพยาบาลกับพยาบาลมีเกิดขึ้นมากที่สุด สาเหตุของความขัดแย้ง คือ ความคาดหวังในบทบาทหน้าที่ที่แตกต่างกัน การสื่อสารไม่มีประสิทธิภาพ การมีความรู้ความสามารถและประสบการณ์แตกต่างกัน
ผลประโยชน์ไม่ลงตัว ตลอดจนความแตกต่างของคุณลักษณะส่วนบุคคล ซึ่งหัวหน้าหอผู้ป่วยสามารถรับรู้ความขัดแย้งได้จากการเดินตรวจเยี่ยมซักถามจากผู้รับบริการ คำบอกเล่าของบุคลากรในทีมการพยาบาลและการสังเกตพฤติกรรม ตลอดจนบรรยากาศในการทำงานที่ไม่เป็นมิตร โดยหัวหน้าหอผู้ป่วยได้เลือกใช้วิธีการจัดการความขัดแย้งหลากหลายวิธี ประกอบด้วยการประนีประนอมโดยการเจรจาไกล่เกลี่ย การแก้ไขปัญหาโดยใช้ทุกคนมีส่วนร่วม การโน้มน้าวให้เกิดการยอมรับ การขอร้องให้ยอมเพื่อประโยชน์ของหน่วยงาน รวมทั้งการหลีกเลี่ยงการปะทะความขัดแย้ง นอกจากนี้ผลการศึกษาพบว่าจากประสบการณ์สอนให้หัวหน้าหอผู้ป่วยเรียนรู้ว่า ควรป้องกันไม่ให้เกิดความขัดแย้งจะดีกว่า โดยการจัดระบบงานและแนวทางปฏิบัติงานให้ชัดเจน มีการติดต่อสื่อสารหลายช่องทางมีการสร้างบรรยากาศในที่ทำงานเชิงสร้างสรรค์ การสร้างความน่าเชื่อถือให้ตนเอง และฝึกอบรมเพิ่มทักษะในการจัดการความขัดแย้ง ข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้ สามารถนำไปเป็นแนวทางในการกำหนดกลยุทธ์ในการป้องกันและจัดการความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ หัวหน้าหอผู้ป่วยที่เข้ารับตำแหน่งใหม่สามารถประยุกต์ใช้ในการจัดการความขัดแย้งในการทำงานได้อย่างเหมาะสม และผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนำไปเป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากรทางการพยาบาลให้มีทักษะเกี่ยวกับการจัดการความขัดแย้ง อันจะส่งผลต่อประสิทธิภาพของงาน ทำให้หน่วยงานมีความก้าวหน้ารวมทั้งผู้รับบริการได้รับบริการที่ดีมีคุณภาพCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23228 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355063 WY160 ส856 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความขัดแย้งในองค์การ : ศึกษากรณีการบริหารส่วนตำบล (อบต.) จังหวัดเชียงใหม่ / มณฑาทิพย์ โกวิทเจริญกุล / กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ความขัดแย้งในองค์การ : ศึกษากรณีการบริหารส่วนตำบล (อบต.) จังหวัดเชียงใหม่ Original title : Conflict in the Organization : A case study of Sub-District Administration Organization (SDAO) of Chiangmai Province Material Type: printed text Authors: มณฑาทิพย์ โกวิทเจริญกุล, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ก-ซ, 241 แผ่น Size: 30 ซม. General note: วิทยานิพนธ์ [ร.ป.ม.]] -- คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารความขัดแย้ง
[LCSH]การบริหารองค์การ
[LCSH]การปกครองท้องถิ่น -- ไทย
[LCSH]สภาตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหารKeywords: องค์การบริหารส่วนตำบล.
เชียงใหม่.
การบริหารความขัดแย้ง.Class number: JS7402 .A2 ม6432 2545 Abstract: งานวิจัยนี้ มัวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถทำความเข้าใจถึงประเภท สาเหตุ ตลอดจนแนวทางในการบริหารความขัดแย้งที่มีอยู่ใน อบต. จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 183 แห่ง มีผู้กรอกแบบสอบถามทั้งหมดจำนวน 195 คน โดยใช้แนวความคิด 3 ประการเป็นกรอบ คือ 1. แนวความคิดเรื่องความขัดแย้ง 2. แนวความคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการปกครองท้องถิ่น 3. แนวความคิดเรื่องการกระจายอำนาจ ผลการศึกษาพบว่า อบต. มองความขัดแย้งทั้งบวกและลบ ความขัดแย้่งส่วนมากจะมาจากผลประโยชน์ การต่อสู้แข่งขันกัน และมองว่าเป็นธรรมชาติของมนุษย์ เป็นการแย่งชิงทรัพยากร เป้าหมาย การรับรู้ มีทั้งเนื้อหา วิธีการ และพฤติกรรม
จากการศึกษาได้ค้นพบสาเหตุของความขัดแย้งใน อบต. เชียงใหม่ว่า มาจากอำนาจแฝงหรืออิทธิพลของบางคนใน อบต.เอง ประโยชน์ ระบบงาน การเมืองในองค์การ อบต. ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง และจากการศึกษายังได้พบว่า อบต. เชียงใหม่ มีรูปแบบที่น่าสนใจในการบริหารความขัดแย้งหลายวิธีด้วยกัน เช่น การแก้ปัญหาร่วมกันเป็นทีม การหาเป้าหมายร่วมกัน การเจรจาต่อรอง และการเข้าฝึกอบรมนอกสำนักงาน เป็นต้น
ส่วนข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้ ได้เสนอว่า ควรจะมีการเพิ่มพูนคุณวุฒิของสมาชิก อบต. เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายการเตรียมบุคลากรให้พร้่อมต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการบริหารท้องถิ่น โดยการเน้นประสิทธิภาพของ อบต. และความเจริญของท้องถิ่นไปพร้อมกันโดยสามารถแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวออกจากประโยชน์ส่วนรวม
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23166 ความขัดแย้งในองค์การ : ศึกษากรณีการบริหารส่วนตำบล (อบต.) จังหวัดเชียงใหม่ = Conflict in the Organization : A case study of Sub-District Administration Organization (SDAO) of Chiangmai Province [printed text] / มณฑาทิพย์ โกวิทเจริญกุล, Author . - กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ก-ซ, 241 แผ่น ; 30 ซม.
วิทยานิพนธ์ [ร.ป.ม.]] -- คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารความขัดแย้ง
[LCSH]การบริหารองค์การ
[LCSH]การปกครองท้องถิ่น -- ไทย
[LCSH]สภาตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหารKeywords: องค์การบริหารส่วนตำบล.
เชียงใหม่.
การบริหารความขัดแย้ง.Class number: JS7402 .A2 ม6432 2545 Abstract: งานวิจัยนี้ มัวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถทำความเข้าใจถึงประเภท สาเหตุ ตลอดจนแนวทางในการบริหารความขัดแย้งที่มีอยู่ใน อบต. จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 183 แห่ง มีผู้กรอกแบบสอบถามทั้งหมดจำนวน 195 คน โดยใช้แนวความคิด 3 ประการเป็นกรอบ คือ 1. แนวความคิดเรื่องความขัดแย้ง 2. แนวความคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการปกครองท้องถิ่น 3. แนวความคิดเรื่องการกระจายอำนาจ ผลการศึกษาพบว่า อบต. มองความขัดแย้งทั้งบวกและลบ ความขัดแย้่งส่วนมากจะมาจากผลประโยชน์ การต่อสู้แข่งขันกัน และมองว่าเป็นธรรมชาติของมนุษย์ เป็นการแย่งชิงทรัพยากร เป้าหมาย การรับรู้ มีทั้งเนื้อหา วิธีการ และพฤติกรรม
จากการศึกษาได้ค้นพบสาเหตุของความขัดแย้งใน อบต. เชียงใหม่ว่า มาจากอำนาจแฝงหรืออิทธิพลของบางคนใน อบต.เอง ประโยชน์ ระบบงาน การเมืองในองค์การ อบต. ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง และจากการศึกษายังได้พบว่า อบต. เชียงใหม่ มีรูปแบบที่น่าสนใจในการบริหารความขัดแย้งหลายวิธีด้วยกัน เช่น การแก้ปัญหาร่วมกันเป็นทีม การหาเป้าหมายร่วมกัน การเจรจาต่อรอง และการเข้าฝึกอบรมนอกสำนักงาน เป็นต้น
ส่วนข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้ ได้เสนอว่า ควรจะมีการเพิ่มพูนคุณวุฒิของสมาชิก อบต. เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายการเตรียมบุคลากรให้พร้่อมต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการบริหารท้องถิ่น โดยการเน้นประสิทธิภาพของ อบต. และความเจริญของท้องถิ่นไปพร้อมกันโดยสามารถแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวออกจากประโยชน์ส่วนรวม
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23166 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000308989 JS7402 .A2 ม6432 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของโปรแกรมการแก้ไขความขัดแย้งของหัวหน้าหอผู้ป่วยต่อประสิทธิผลของทีมการพยาบาล / พรทิพย์ ควรคิด / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : ผลของโปรแกรมการแก้ไขความขัดแย้งของหัวหน้าหอผู้ป่วยต่อประสิทธิผลของทีมการพยาบาล Original title : The effect of using conflict resolution of head nurses program on nursing team effectiveness Material Type: printed text Authors: พรทิพย์ ควรคิด, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ญ, 129 แผ่น Layout: ตารางประกอบ. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการความขัดแย้ง
[LCSH]การบริหารความขัดแย้ง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: พยาบาล.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.
การบริหาร.
ความขัดแย้ง.Class number: WY160 พ674 2550 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลของทีมการพยาบาลตามการรับรู้ของสมาชิกทีมการพยาบาล ระหว่างกลุ่มที่หัวหน้าหอผู้ป่วยได้รับโปรแกรมการแก้ไขความขัดแย้งกับกลุ่มที่ไม่ได้รับโปรแกรม กลุ่มตัวอย่างเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วยจำนวน 44 คน และสมาชิกทีมการพยาบาลที่หัวหน้าหอผู้ป่วยเป็นกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งประกอบด้วยพยาบาลวิชาชีพและผู้ช่วยพยาบาล จำนวน 176 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือแนวทางการแก้ไขความขัดแย้ง แบบบันทึกสถานการณ์การแก้ไขความขัดแย้ง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ซึ่งเครื่องมือทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราคได้เท่ากับ 0.91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คะแนนเฉลี่ยของประสิทธิผลของทีมการพยาบาลในหอผู้ป่วยกลุ่มที่หัวหน้าหอผู้ป่วยได้รับโปรแกรมการแก้ไขความขัดแย้งสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. คะแนนเฉลี่ยของประสิทธิผลของทีมการพยาบาลในหอผู้ป่วยกลุ่มที่หัวหน้าหอผู้ป่วยได้รับโปรแกรมการแก้ไขความขัดแย้งสูงกว่ากลุ่มที่หัวหน้าหอผู้ป่วยไม่ได้รับโปรแกรม อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23225 ผลของโปรแกรมการแก้ไขความขัดแย้งของหัวหน้าหอผู้ป่วยต่อประสิทธิผลของทีมการพยาบาล = The effect of using conflict resolution of head nurses program on nursing team effectiveness [printed text] / พรทิพย์ ควรคิด, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ญ, 129 แผ่น : ตารางประกอบ. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการความขัดแย้ง
[LCSH]การบริหารความขัดแย้ง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: พยาบาล.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.
การบริหาร.
ความขัดแย้ง.Class number: WY160 พ674 2550 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลของทีมการพยาบาลตามการรับรู้ของสมาชิกทีมการพยาบาล ระหว่างกลุ่มที่หัวหน้าหอผู้ป่วยได้รับโปรแกรมการแก้ไขความขัดแย้งกับกลุ่มที่ไม่ได้รับโปรแกรม กลุ่มตัวอย่างเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วยจำนวน 44 คน และสมาชิกทีมการพยาบาลที่หัวหน้าหอผู้ป่วยเป็นกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งประกอบด้วยพยาบาลวิชาชีพและผู้ช่วยพยาบาล จำนวน 176 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือแนวทางการแก้ไขความขัดแย้ง แบบบันทึกสถานการณ์การแก้ไขความขัดแย้ง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ซึ่งเครื่องมือทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราคได้เท่ากับ 0.91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คะแนนเฉลี่ยของประสิทธิผลของทีมการพยาบาลในหอผู้ป่วยกลุ่มที่หัวหน้าหอผู้ป่วยได้รับโปรแกรมการแก้ไขความขัดแย้งสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. คะแนนเฉลี่ยของประสิทธิผลของทีมการพยาบาลในหอผู้ป่วยกลุ่มที่หัวหน้าหอผู้ป่วยได้รับโปรแกรมการแก้ไขความขัดแย้งสูงกว่ากลุ่มที่หัวหน้าหอผู้ป่วยไม่ได้รับโปรแกรม อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23225 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355048 WY160 พ674 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available