From this page you can:
Home |
Applied economics journal / Faculty of Economics, Kasetsart University . Vol.21 No.1 (Jun) 2014Published date : 10/09/2014 |
Available articles
Add the result to your basketการเปรียบเทียบสมรรถนะและประสิทธิภาพการดำเนินงานของธุรกิจสปา / อัครพงศ์ อั้นทอง in Applied economics journal, Vol.21 No.1 (Jun) 2014 ([10/09/2014])
[article]
Title : การเปรียบเทียบสมรรถนะและประสิทธิภาพการดำเนินงานของธุรกิจสปา Original title : Spas performance benchmarking and operation efficiency Material Type: printed text Authors: อัครพงศ์ อั้นทอง, Author ; มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด, Author Publication Date: 2014 Article on page: p.1-19 Languages : English (eng) Original Language : Thai (tha)
in Applied economics journal > Vol.21 No.1 (Jun) 2014 [10/09/2014] . - p.1-19Keywords: ธุรกิจสปา.การเปรีบเทียบสมรรถนะ.ตัวชี้วัดผลการดำเนินการ. Abstract: บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะและประสิทธิภาพการดำเนินงานของ ธุรกิจสปา โดยใช้ตัวชี้วัดประเมินผลการดำเนินงาน และใช้วิธี DEA ที่เป็น Slacks-Based Measure (SBM) of super-effif iciency ประเมินประสิทธิภาพการดำเนินงานของธุรกิจสปาจำนวน 21 แห่ง แบ่งเป็น เดย์สปา 7 แห่ง และโฮเต็ลแอนด์รีสอร์ทสปา 14 แห่ง ผลการศึกษา พบว่า ธุรกิจสปาที่มีผลการดำเนินงาน ดีที่สุดสามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และกระตุ้นให้นักบำบัดมีผลิตภาพในการ ให้บริการดีที่สุด ทั้งนี้เดย์สปาและโฮเต็ลแอนด์รีสอร์ทสปามีประสิทธิภาพการดำเนินงาน ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การลดต้นทุนค่าผลิตภัณฑ์สปาเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญที่ทำให้ ธุรกิจสปามีประสิทธิภาพการดำเนินงานเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ธุรกิจสปา ที่มีผลการดำเนินงานดีย่อมมีประสิทธิภาพการดำเนินงานที่ดีด้วย การศึกษานี้เสนอว่า ควรส่งเสริม การพัฒนาทักษะการให้บริการของนักบำบัด และกระตุ้นให้ผู้ประกอบการใช้แนวทางการประหยัด จากขนาดในการลดต้นทุนค่าผลิตภัณฑ์สปา รวมทั้งส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในอุตสาหกรรมสปาไทย เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้จากผู้ที่มีแนวทางการปฎิบัติที่เป็นเลิศในอุตสาหกรรม ซึ่งจะนำมาสู่ การยกระดับความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมสปาไทยในอนาคต Link for e-copy: http://www.journal.eco.ku.ac.th/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24020 [article] การเปรียบเทียบสมรรถนะและประสิทธิภาพการดำเนินงานของธุรกิจสปา = Spas performance benchmarking and operation efficiency [printed text] / อัครพงศ์ อั้นทอง, Author ; มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด, Author . - 2014 . - p.1-19.
Languages : English (eng) Original Language : Thai (tha)
in Applied economics journal > Vol.21 No.1 (Jun) 2014 [10/09/2014] . - p.1-19Keywords: ธุรกิจสปา.การเปรีบเทียบสมรรถนะ.ตัวชี้วัดผลการดำเนินการ. Abstract: บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะและประสิทธิภาพการดำเนินงานของ ธุรกิจสปา โดยใช้ตัวชี้วัดประเมินผลการดำเนินงาน และใช้วิธี DEA ที่เป็น Slacks-Based Measure (SBM) of super-effif iciency ประเมินประสิทธิภาพการดำเนินงานของธุรกิจสปาจำนวน 21 แห่ง แบ่งเป็น เดย์สปา 7 แห่ง และโฮเต็ลแอนด์รีสอร์ทสปา 14 แห่ง ผลการศึกษา พบว่า ธุรกิจสปาที่มีผลการดำเนินงาน ดีที่สุดสามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และกระตุ้นให้นักบำบัดมีผลิตภาพในการ ให้บริการดีที่สุด ทั้งนี้เดย์สปาและโฮเต็ลแอนด์รีสอร์ทสปามีประสิทธิภาพการดำเนินงาน ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การลดต้นทุนค่าผลิตภัณฑ์สปาเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญที่ทำให้ ธุรกิจสปามีประสิทธิภาพการดำเนินงานเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ธุรกิจสปา ที่มีผลการดำเนินงานดีย่อมมีประสิทธิภาพการดำเนินงานที่ดีด้วย การศึกษานี้เสนอว่า ควรส่งเสริม การพัฒนาทักษะการให้บริการของนักบำบัด และกระตุ้นให้ผู้ประกอบการใช้แนวทางการประหยัด จากขนาดในการลดต้นทุนค่าผลิตภัณฑ์สปา รวมทั้งส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในอุตสาหกรรมสปาไทย เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้จากผู้ที่มีแนวทางการปฎิบัติที่เป็นเลิศในอุตสาหกรรม ซึ่งจะนำมาสู่ การยกระดับความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมสปาไทยในอนาคต Link for e-copy: http://www.journal.eco.ku.ac.th/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24020 Economic relationship between access to land and rural poverty in Nepal / Adhikari, C. B. in Applied economics journal, Vol.21 No.1 (Jun) 2014 ([10/09/2014])
[article]
Title : Economic relationship between access to land and rural poverty in Nepal Material Type: printed text Authors: Adhikari, C. B., Author ; Bjorndal, Trond, Author Publication Date: 2014 Article on page: p.20-41 Languages : English (eng) Original Language : Thai (tha)
in Applied economics journal > Vol.21 No.1 (Jun) 2014 [10/09/2014] . - p.20-41Keywords: Pverty.Access to land.Land reform.Napal. Abstract: In the present socio-economic structure of Nepal, land is the main source of income and consumption for the majority of Nepalese. This study analyses the economic relationship between access to land and poverty in Nepal by establishing the link between land and consumption and land and income. The results show that greater access to land increases income and consumption of the household thereby reducing poverty. The significant marginal value of land for both consumption and income implies that an effective land reform policy could well be an effective approach to alleviate rural poverty. However, land reform must be part of a larger overhaul. Cluster analysis shows that land reform should target appropriate subgroups within the community in order to differentiate those who would make use of the extra land from those who would not, and apply appropriate strategies to each subgroup. It reveals the importance of subgroups in determining an appropriate strategy for tackling poverty. Link for e-copy: http://www.journal.eco.ku.ac.th/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24021 [article] Economic relationship between access to land and rural poverty in Nepal [printed text] / Adhikari, C. B., Author ; Bjorndal, Trond, Author . - 2014 . - p.20-41.
Languages : English (eng) Original Language : Thai (tha)
in Applied economics journal > Vol.21 No.1 (Jun) 2014 [10/09/2014] . - p.20-41Keywords: Pverty.Access to land.Land reform.Napal. Abstract: In the present socio-economic structure of Nepal, land is the main source of income and consumption for the majority of Nepalese. This study analyses the economic relationship between access to land and poverty in Nepal by establishing the link between land and consumption and land and income. The results show that greater access to land increases income and consumption of the household thereby reducing poverty. The significant marginal value of land for both consumption and income implies that an effective land reform policy could well be an effective approach to alleviate rural poverty. However, land reform must be part of a larger overhaul. Cluster analysis shows that land reform should target appropriate subgroups within the community in order to differentiate those who would make use of the extra land from those who would not, and apply appropriate strategies to each subgroup. It reveals the importance of subgroups in determining an appropriate strategy for tackling poverty. Link for e-copy: http://www.journal.eco.ku.ac.th/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24021 ความสัมพันธ์ดุลยภาพระยะยาวของตลาดทุนในประเทศสมาชิกอาเซียน 5 / ชาญณรงค์ ชัยพัฒน์ in Applied economics journal, Vol.21 No.1 (Jun) 2014 ([10/09/2014])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ดุลยภาพระยะยาวของตลาดทุนในประเทศสมาชิกอาเซียน 5 Original title : Cointegration of capital markers in ASEAN-5 countries Material Type: printed text Authors: ชาญณรงค์ ชัยพัฒน์, Author Publication Date: 2014 Article on page: p.42-58 Languages : English (eng) Original Language : Thai (tha)
in Applied economics journal > Vol.21 No.1 (Jun) 2014 [10/09/2014] . - p.42-58Keywords: ตลาดหลักทรัพย์อาเซียน.ตลาดทุน.ความสัมพันธ์ดุลยภาพระยะยาว.ปฎิกิริยาตอบสนองต่อความแปรปรวน Abstract: การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเป็นแนวโน้มที่กำลังเกิดขึ้นทั่วโลก การรวมกลุ่มของประชาคม อาเซียนจะเกิดขึ้นในปี พ.ศ.2558 จัดเป็นการรวมกลุ่มทางทางเศรษฐกิจในระดับที่ 3 คือ ตลาดร่วม ประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิต สินค้า บริการ และแรงงาน ได้อย่างเสรี ภายในกลุ่ม ตามทฤษฎีอาณาเขตเงินตราที่เหมาะสม กล่าวว่าประเทศที่มีการรวมกลุ่มกันนั้นจะต้อง มีความสอดคล้องเชื่อมโยงกันของตัวแปรทางเศรษฐกิจ บทความนี้ จึงต้องการศึกษาถึงความเชื่อมโยง เกี่ยวเนื่องกันของตัวแปรในภาคตลาดทุนของอาเซียน โดยใช้ข้อมูลดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ของ ประเทศสมาชิกอาเซียน จำนวน 5 ประเทศ ตั้งแต่วันที่ 4 มกราคม พ.ศ.2553 ถึง 31 ตุลาคม พ.ศ.2556 และ วิเคราะห์โดยการหาความสัมพันธ์ดุลยภาพระยะยาว ต่อจากนั้นจะวิเคราะห์ปฏิกิริยาตอบสนองต่อ ความแปรปรวน ผลการศึกษาพบว่า ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ของประเทศสมาชิกอาเซียน ได้แก่ ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศมาเลเซีย ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศสิงคโปร์ และ ประเทศไทย มีความ สัมพันธ์ดุลยภาพระยะยาว นอกจากนี้เมื่อวิเคราะห์การตอบสนองของดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ใน ประเทศสมาชิกอาเซียนพบว่ามีความสอดคล้องเชื่อมโยงในทิศทางเดียวกัน การศึกษานี้สนับสนุน ความเป็นไปได้ในการจัดตั้งตลาดหลักทรัพย์อาเซียน เพื่อเป็นแหล่งระดมเงินทุนให้แก่ภาคธุรกิจต่างๆ ในประเทศสมาชิกอาเซียน และยกระดับตลาดหลักทรัพย์ของประเทศสมาชิกอาเซียนให้สามารถ แข่งขันในระดับนานาชาติ Link for e-copy: http://www.journal.eco.ku.ac.th/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24022 [article] ความสัมพันธ์ดุลยภาพระยะยาวของตลาดทุนในประเทศสมาชิกอาเซียน 5 = Cointegration of capital markers in ASEAN-5 countries [printed text] / ชาญณรงค์ ชัยพัฒน์, Author . - 2014 . - p.42-58.
Languages : English (eng) Original Language : Thai (tha)
in Applied economics journal > Vol.21 No.1 (Jun) 2014 [10/09/2014] . - p.42-58Keywords: ตลาดหลักทรัพย์อาเซียน.ตลาดทุน.ความสัมพันธ์ดุลยภาพระยะยาว.ปฎิกิริยาตอบสนองต่อความแปรปรวน Abstract: การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเป็นแนวโน้มที่กำลังเกิดขึ้นทั่วโลก การรวมกลุ่มของประชาคม อาเซียนจะเกิดขึ้นในปี พ.ศ.2558 จัดเป็นการรวมกลุ่มทางทางเศรษฐกิจในระดับที่ 3 คือ ตลาดร่วม ประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิต สินค้า บริการ และแรงงาน ได้อย่างเสรี ภายในกลุ่ม ตามทฤษฎีอาณาเขตเงินตราที่เหมาะสม กล่าวว่าประเทศที่มีการรวมกลุ่มกันนั้นจะต้อง มีความสอดคล้องเชื่อมโยงกันของตัวแปรทางเศรษฐกิจ บทความนี้ จึงต้องการศึกษาถึงความเชื่อมโยง เกี่ยวเนื่องกันของตัวแปรในภาคตลาดทุนของอาเซียน โดยใช้ข้อมูลดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ของ ประเทศสมาชิกอาเซียน จำนวน 5 ประเทศ ตั้งแต่วันที่ 4 มกราคม พ.ศ.2553 ถึง 31 ตุลาคม พ.ศ.2556 และ วิเคราะห์โดยการหาความสัมพันธ์ดุลยภาพระยะยาว ต่อจากนั้นจะวิเคราะห์ปฏิกิริยาตอบสนองต่อ ความแปรปรวน ผลการศึกษาพบว่า ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ของประเทศสมาชิกอาเซียน ได้แก่ ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศมาเลเซีย ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศสิงคโปร์ และ ประเทศไทย มีความ สัมพันธ์ดุลยภาพระยะยาว นอกจากนี้เมื่อวิเคราะห์การตอบสนองของดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ใน ประเทศสมาชิกอาเซียนพบว่ามีความสอดคล้องเชื่อมโยงในทิศทางเดียวกัน การศึกษานี้สนับสนุน ความเป็นไปได้ในการจัดตั้งตลาดหลักทรัพย์อาเซียน เพื่อเป็นแหล่งระดมเงินทุนให้แก่ภาคธุรกิจต่างๆ ในประเทศสมาชิกอาเซียน และยกระดับตลาดหลักทรัพย์ของประเทศสมาชิกอาเซียนให้สามารถ แข่งขันในระดับนานาชาติ Link for e-copy: http://www.journal.eco.ku.ac.th/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24022 ปัจจัยที่กำหนดความผันผวนของราคาทองคำล่วงหน้า: กรณีศึกษาตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้าประเทศไทย / วรดี จงอัศญากุล in Applied economics journal, Vol.21 No.1 (Jun) 2014 ([10/09/2014])
[article]
Title : ปัจจัยที่กำหนดความผันผวนของราคาทองคำล่วงหน้า: กรณีศึกษาตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้าประเทศไทย Original title : Determinants of the gold future price volatility : the case of Thailand future exchange Material Type: printed text Authors: วรดี จงอัศญากุล, Author Publication Date: 2014 Article on page: p.59-78 Languages : English (eng) Original Language : Thai (tha)
in Applied economics journal > Vol.21 No.1 (Jun) 2014 [10/09/2014] . - p.59-78Keywords: ความผันผวนของราคาล่วงหน้า.สัญญาซื้อขายทองคำล่วงหน้า.สมมติฐานของ Samuelson. Abstract: การวิจัยนี้ได้ศึกษาปัจจัยที่กำหนดความผันผวนของราคาทองคำล่วงหน้าที่ซื้อขายในตลาด สัญญาซื้อขายล่วงหน้าประเทศไทย โดยใช้แบบจำลองถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ และแบบจำลอง GARCH จากข้อมูลรายวันของราคาที่ใช้ชำระราคา ปริมาณการซื้อขาย และสถานะคงค้างของสัญญาซื้อขาย ทองคำล่วงหน้า ตั้งแต่วันแรกที่ซื้อขายจนถึงวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2556 โดยเป็นข้อมูลของสัญญา ที่มีเดือนส่งมอบใกล้ที่สุดจนถึงก่อนวันซื้อขายวันสุดท้ายของสัญญา 1 วัน มาเรียงต่อกัน ผลการศึกษา จากทั้ง 2 แบบจำลอง พบว่าความผันผวนของผลตอบแทนสัญญาซื้อขายทองคำล่วงหน้าจะมากขึ้น เมื่อ (1) เข้าใกล้วันครบกำหนดอายุ (2) ปริมาณซื้อขายมากขึ้น และ (3) สถานะคงค้างลดลง นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์ยังพบว่าความแปรปรวนร่วมระหว่างผลตอบแทนสำหรับการซื้อขายทันที และการเปลี่ยนแปลงต้นทุนในการถือครองเป็นลบ ซึ่งเป็นการสนับสนุนผลกระทบวันครบกำหนด อายุในสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ดังนั้นนักลงทุนควรสนใจกับปัจจัยเหล่านี้ที่ส่งผลต่อการคาดการณ์ ราคาทองคำในอนาคต รวมทั้งผู้บริหารความเสี่ยงควรต้องปรับอัตราประกันความเสี่ยงให้มีความ เหมาะสมตามการเปลี่ยนแปลงของความผันผวน สำหรับสำนักหักบัญชีควรต้องให้ความสนใจใน การกำหนดอัตราหลักประกันแตกต่างกันในสัญญาซื้อขายทองคำล่วงหน้าที่เหลือเวลาครบกำหนด อายุแตกต่างกัน โดยสัญญาซื้อขายทองคำล่วงหน้าที่ใกล้ครบกำหนดอายุ ซึ่งมีความผันผวนมากขึ้น ก็ควรมีอัตราหลักประกันที่มากกว่าโดยเปรียบเทียบ รวมทั้งการเพิ่มอัตราหลักประกัน หากพบว่า Gold Futures มีปริมาณซื้อขายมากขึ้น และสถานะคงค้างลดลง Link for e-copy: http://www.journal.eco.ku.ac.th/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24023 [article] ปัจจัยที่กำหนดความผันผวนของราคาทองคำล่วงหน้า: กรณีศึกษาตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้าประเทศไทย = Determinants of the gold future price volatility : the case of Thailand future exchange [printed text] / วรดี จงอัศญากุล, Author . - 2014 . - p.59-78.
Languages : English (eng) Original Language : Thai (tha)
in Applied economics journal > Vol.21 No.1 (Jun) 2014 [10/09/2014] . - p.59-78Keywords: ความผันผวนของราคาล่วงหน้า.สัญญาซื้อขายทองคำล่วงหน้า.สมมติฐานของ Samuelson. Abstract: การวิจัยนี้ได้ศึกษาปัจจัยที่กำหนดความผันผวนของราคาทองคำล่วงหน้าที่ซื้อขายในตลาด สัญญาซื้อขายล่วงหน้าประเทศไทย โดยใช้แบบจำลองถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ และแบบจำลอง GARCH จากข้อมูลรายวันของราคาที่ใช้ชำระราคา ปริมาณการซื้อขาย และสถานะคงค้างของสัญญาซื้อขาย ทองคำล่วงหน้า ตั้งแต่วันแรกที่ซื้อขายจนถึงวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2556 โดยเป็นข้อมูลของสัญญา ที่มีเดือนส่งมอบใกล้ที่สุดจนถึงก่อนวันซื้อขายวันสุดท้ายของสัญญา 1 วัน มาเรียงต่อกัน ผลการศึกษา จากทั้ง 2 แบบจำลอง พบว่าความผันผวนของผลตอบแทนสัญญาซื้อขายทองคำล่วงหน้าจะมากขึ้น เมื่อ (1) เข้าใกล้วันครบกำหนดอายุ (2) ปริมาณซื้อขายมากขึ้น และ (3) สถานะคงค้างลดลง นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์ยังพบว่าความแปรปรวนร่วมระหว่างผลตอบแทนสำหรับการซื้อขายทันที และการเปลี่ยนแปลงต้นทุนในการถือครองเป็นลบ ซึ่งเป็นการสนับสนุนผลกระทบวันครบกำหนด อายุในสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ดังนั้นนักลงทุนควรสนใจกับปัจจัยเหล่านี้ที่ส่งผลต่อการคาดการณ์ ราคาทองคำในอนาคต รวมทั้งผู้บริหารความเสี่ยงควรต้องปรับอัตราประกันความเสี่ยงให้มีความ เหมาะสมตามการเปลี่ยนแปลงของความผันผวน สำหรับสำนักหักบัญชีควรต้องให้ความสนใจใน การกำหนดอัตราหลักประกันแตกต่างกันในสัญญาซื้อขายทองคำล่วงหน้าที่เหลือเวลาครบกำหนด อายุแตกต่างกัน โดยสัญญาซื้อขายทองคำล่วงหน้าที่ใกล้ครบกำหนดอายุ ซึ่งมีความผันผวนมากขึ้น ก็ควรมีอัตราหลักประกันที่มากกว่าโดยเปรียบเทียบ รวมทั้งการเพิ่มอัตราหลักประกัน หากพบว่า Gold Futures มีปริมาณซื้อขายมากขึ้น และสถานะคงค้างลดลง Link for e-copy: http://www.journal.eco.ku.ac.th/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24023 A Structural Equation Model for Spiritual Service Volunteer Labor Supply at Brahma Kumaris World Spiritual University / Woeckl, Juergen in Applied economics journal, Vol.21 No.1 (Jun) 2014 ([10/09/2014])
[article]
Title : A Structural Equation Model for Spiritual Service Volunteer Labor Supply at Brahma Kumaris World Spiritual University Material Type: printed text Authors: Woeckl, Juergen, Author ; Tanin Chaiyesh, Author Publication Date: 2014 Article on page: p.79-101 Languages : English (eng) Original Language : Thai (tha)
in Applied economics journal > Vol.21 No.1 (Jun) 2014 [10/09/2014] . - p.79-101Keywords: Spiritual Service Volunteer.Labor SupplyBrahma. Abstract: The purpose of this cross-sectional research investigation was to construct a structural equation model applicable to the volunteer provision of spiritual service by the Brahma Kumaris World Spiritual University (BKWSU) members in the Asia-Pacific region. Using the convenience sampling technique and applying selected inclusion criteria, the researchers gathered a sample population consisting of 159 BKWSU members domiciled in the Asia-Pacific region. The results revealed that upon making suitable adjustments, the model was found to be congruent with empirical data. The factors of religiosity, personality traits, motivation to volunteer and hours of paid work were found to account for 54 percent of the variance with respect to volunteering to perform spiritual service. The current study adds significantly to the body of knowledge on volunteering and suggests that religion can promote volunteering by fostering personality traits of agreeableness, conscientiousness, and extraversion in addition to the motivation to volunteer due to personal values, understanding, and religious motives. The results suggest that a better understanding of the religiosity, personality traits, and motivations of volunteer members result in the ability to better select and retain volunteer members in the religious organization. In addition, governments may incentivize the employed people to undertake the volunteer work by minimizing the opportunity cost of time constraints due to their employment Link for e-copy: http://www.journal.eco.ku.ac.th/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24024 [article] A Structural Equation Model for Spiritual Service Volunteer Labor Supply at Brahma Kumaris World Spiritual University [printed text] / Woeckl, Juergen, Author ; Tanin Chaiyesh, Author . - 2014 . - p.79-101.
Languages : English (eng) Original Language : Thai (tha)
in Applied economics journal > Vol.21 No.1 (Jun) 2014 [10/09/2014] . - p.79-101Keywords: Spiritual Service Volunteer.Labor SupplyBrahma. Abstract: The purpose of this cross-sectional research investigation was to construct a structural equation model applicable to the volunteer provision of spiritual service by the Brahma Kumaris World Spiritual University (BKWSU) members in the Asia-Pacific region. Using the convenience sampling technique and applying selected inclusion criteria, the researchers gathered a sample population consisting of 159 BKWSU members domiciled in the Asia-Pacific region. The results revealed that upon making suitable adjustments, the model was found to be congruent with empirical data. The factors of religiosity, personality traits, motivation to volunteer and hours of paid work were found to account for 54 percent of the variance with respect to volunteering to perform spiritual service. The current study adds significantly to the body of knowledge on volunteering and suggests that religion can promote volunteering by fostering personality traits of agreeableness, conscientiousness, and extraversion in addition to the motivation to volunteer due to personal values, understanding, and religious motives. The results suggest that a better understanding of the religiosity, personality traits, and motivations of volunteer members result in the ability to better select and retain volunteer members in the religious organization. In addition, governments may incentivize the employed people to undertake the volunteer work by minimizing the opportunity cost of time constraints due to their employment Link for e-copy: http://www.journal.eco.ku.ac.th/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24024