From this page you can:
Home |
Publisher details
Publisher
located at
Available items(s) from this publisher
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU THE-T. การ์ตูนการเมืองในหนังสือพิมพ์สะท้อนภาพพฤติกรรมทางการเมืองและการบริหารของประเทศไทย / กำแพง หอมสิน / สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2559
Collection Title: SIU THE-T Title : การ์ตูนการเมืองในหนังสือพิมพ์สะท้อนภาพพฤติกรรมทางการเมืองและการบริหารของประเทศไทย : กรณีช่วงหลังรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ถึง 3 กรกฎาคม 2554 Original title : Political cartoons in newspapers reflecting the political behavior and administration of Thailand: case study of the period after the coup from September 19, 2006 to July 3, 2011 Material Type: printed text Authors: กำแพง หอมสิน, Author Publisher: สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2559 Pagination: xi, 193 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การเมือง -- การบริหาร -- ไทย
[LCSH]การ์ตูนการเมือง -- ดุษฎีนิพนธ์
[LCSH]การ์ตูนการเมือง -- ภาพสะท้อนพฤติกรรมทางการเมือง
[LCSH]พฤติกรรมทางการเมือง -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: การ์ตูนการเมือง.
พฤติการทางการเมือง.
การบริหารประเทศไทย.Class number: SIU THE-T IPAG-DPA-2016-01 Abstract: ศึกษาพฤติกรรมทางการเมืองและการบริหารของประเทศไทยผ่านภาพการ์ตูนในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ระหว่างช่วงเวลาหลังรัฐประหาร 19 ก.ย.49 ถึง 3 ก.ค.54 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้เทคนิคศึกษาจากเอกสาร สัมภาษณ์บุคคล จากผู้เขัยนการ์ตูน 2 คน ตรวจยืนยันแบบสามเส้า จากกลุ่มบุคคล 3 กลุ่ม จำนวน 30 คน และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงตีความร่วมกับการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การ์ตูนการเมือง สะท้อนให้เห็นความจริงของพฤติกรรมทางการเมืองการบนริหารของผู้กระทำทางการเมืองในสถานการณ์สงครามตัวแทน ระหว่างกลุ่มนิยมประชาธิปไตยกับกลุ่มนิยมอมาตยธิปไตย 5 ประเด็น ได้แก่ สิทธิของประชาชน ได้รับสิทธิมากขึ้น แต่เมื่อใช้สิทธิ์กลับถูกแทรกแซงโดยกลไกลของรัฐ 2. ภาวะผู้นำของผู้บริหาร นักการเมืองไม่สามารถใช้ภาวะผู้นำอย่างมีประสิทธิภาพ... 3. สถานะของข้าราชการประจำ ไม่ถูกกระทบแต่กลับมีพัฒนาการที่แข็งแกร่งมากขึ้น 4. สถานะขององค์การทางการเมือง ถูกกระทบมาก จนไม่สามารถพัฒนาองค์กรและตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้ 5.สถานะขององค์กรอิสระไม่สามารถดำรงความเป็นอิสระ และไม่สามารถเป็นที่พึ่งแก่ประชาชนที่ถูกผลกระทบจากการัฐประหารContents note: ปีการศึกษา 2558.
ปีพิมพ์เอกสาร 2559.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25883 SIU THE-T. การ์ตูนการเมืองในหนังสือพิมพ์สะท้อนภาพพฤติกรรมทางการเมืองและการบริหารของประเทศไทย = Political cartoons in newspapers reflecting the political behavior and administration of Thailand: case study of the period after the coup from September 19, 2006 to July 3, 2011 : กรณีช่วงหลังรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ถึง 3 กรกฎาคม 2554 [printed text] / กำแพง หอมสิน, Author . - [S.l.] : สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559 . - xi, 193 หน้า : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การเมือง -- การบริหาร -- ไทย
[LCSH]การ์ตูนการเมือง -- ดุษฎีนิพนธ์
[LCSH]การ์ตูนการเมือง -- ภาพสะท้อนพฤติกรรมทางการเมือง
[LCSH]พฤติกรรมทางการเมือง -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: การ์ตูนการเมือง.
พฤติการทางการเมือง.
การบริหารประเทศไทย.Class number: SIU THE-T IPAG-DPA-2016-01 Abstract: ศึกษาพฤติกรรมทางการเมืองและการบริหารของประเทศไทยผ่านภาพการ์ตูนในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ระหว่างช่วงเวลาหลังรัฐประหาร 19 ก.ย.49 ถึง 3 ก.ค.54 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้เทคนิคศึกษาจากเอกสาร สัมภาษณ์บุคคล จากผู้เขัยนการ์ตูน 2 คน ตรวจยืนยันแบบสามเส้า จากกลุ่มบุคคล 3 กลุ่ม จำนวน 30 คน และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงตีความร่วมกับการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การ์ตูนการเมือง สะท้อนให้เห็นความจริงของพฤติกรรมทางการเมืองการบนริหารของผู้กระทำทางการเมืองในสถานการณ์สงครามตัวแทน ระหว่างกลุ่มนิยมประชาธิปไตยกับกลุ่มนิยมอมาตยธิปไตย 5 ประเด็น ได้แก่ สิทธิของประชาชน ได้รับสิทธิมากขึ้น แต่เมื่อใช้สิทธิ์กลับถูกแทรกแซงโดยกลไกลของรัฐ 2. ภาวะผู้นำของผู้บริหาร นักการเมืองไม่สามารถใช้ภาวะผู้นำอย่างมีประสิทธิภาพ... 3. สถานะของข้าราชการประจำ ไม่ถูกกระทบแต่กลับมีพัฒนาการที่แข็งแกร่งมากขึ้น 4. สถานะขององค์การทางการเมือง ถูกกระทบมาก จนไม่สามารถพัฒนาองค์กรและตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้ 5.สถานะขององค์กรอิสระไม่สามารถดำรงความเป็นอิสระ และไม่สามารถเป็นที่พึ่งแก่ประชาชนที่ถูกผลกระทบจากการัฐประหารContents note: ปีการศึกษา 2558.
ปีพิมพ์เอกสาร 2559.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25883 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000550796 SIU THE-T IPAG-DPA-2016-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000550804 SIU THE-T IPAG-DPA-2016-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Not for loan SIU Thesis. สัมฤทธิผลด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร / นันทะ บุตรน้อย / สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2559
Collection Title: SIU Thesis Title : สัมฤทธิผลด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร : ของอาจารย์มหาวิทยาลัยไทย Original title : The Achievement of Thai university lectures in information and communications technology Material Type: printed text Authors: นันทะ บุตรน้อย, Author ; วรเดช จันทรศร, Author Publisher: สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2559 Pagination: xi, 95 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การสื่อสารของอาจารย์มหาวิทยาลัย -- ดุษฎีนิพนธ์
[LCSH]สัมฤทธิผลการสื่อสาร -- ดุษฎีนิพนธ์
[LCSH]สัมฤทธิผลการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ -- ดุษฎีนิพนธ์
[LCSH]เทคโนโลยีสารสนเทศ -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: สัมฤทธิผลการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ.
สัมฤทธิผลการสื่อสาร.
อาจารย์มหาวิทยาลัย.Class number: SIU THE-T IPAG-DPA-2016-02 Abstract: ศึกษาสัมฤทธิผลด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของอาจารย์มหาวิทยาลัยไทยอยู่ในระดับใด และมีปัจจัยใดที่มีความสัมพันธ์และส่งผลต่อสัมฤทธิผลด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของอาจารย์มหาวิทยาลัยไทย กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้จำนวน 162 คน ได้จากตารางประมาณขนาดของเครจซี่และมอร์แกน แบบสอบถามเป็นแบบมาตรประเมินค่า สถิติที่ใช้ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความถี่
ผลการศึกษา พบว่า สัมฤทธิผลด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยรวมอยู่ในระดับมาก กลุ่มตัวอย่างที่มีกลุ่มมหาวิทยาลัยและปัจจัยส่วนบุคคลต่างกัน มีค่าสัมฤทธิผลด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดย ปัจจัยด้านภาวะผู้นำของผู้บริหาร ปัจจัยด้านการติดต่อสื่อสารและกิจกรรมส่งเสริม ปัจจัยด้านทรัพยากร ปัจจัยด้านการวัดและประเมินผล และปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์กร มีความสัมพันธ์ในทางบวกกับสัมฤทธิผลด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยปัจจัยที่ส่งผลต่อสัมฤทธิผลด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คือ ปัจจัยด้านการติดต่อสือสารและกิจกรรมส่งเสริม ด้านทรัพยากร และด้านวัฒนธรรมองค์กร โดยความแปรปรวนของสัมฤทธิผลด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยรวมอยู่ที่ร้อยละ 65.0 ดังสมการพยากรณ์โดยใช้คะแนนมาตรฐาน (Z) คือ Y=0.461X(3)+0.283X(2)+0.169X(5).Contents note: ปีการศึกษา 2558.
ปีพิมพ์เอกสาร 2559.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25885 SIU Thesis. สัมฤทธิผลด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร = The Achievement of Thai university lectures in information and communications technology : ของอาจารย์มหาวิทยาลัยไทย [printed text] / นันทะ บุตรน้อย, Author ; วรเดช จันทรศร, Author . - [S.l.] : สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559 . - xi, 95 หน้า : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การสื่อสารของอาจารย์มหาวิทยาลัย -- ดุษฎีนิพนธ์
[LCSH]สัมฤทธิผลการสื่อสาร -- ดุษฎีนิพนธ์
[LCSH]สัมฤทธิผลการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ -- ดุษฎีนิพนธ์
[LCSH]เทคโนโลยีสารสนเทศ -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: สัมฤทธิผลการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ.
สัมฤทธิผลการสื่อสาร.
อาจารย์มหาวิทยาลัย.Class number: SIU THE-T IPAG-DPA-2016-02 Abstract: ศึกษาสัมฤทธิผลด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของอาจารย์มหาวิทยาลัยไทยอยู่ในระดับใด และมีปัจจัยใดที่มีความสัมพันธ์และส่งผลต่อสัมฤทธิผลด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของอาจารย์มหาวิทยาลัยไทย กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้จำนวน 162 คน ได้จากตารางประมาณขนาดของเครจซี่และมอร์แกน แบบสอบถามเป็นแบบมาตรประเมินค่า สถิติที่ใช้ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความถี่
ผลการศึกษา พบว่า สัมฤทธิผลด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยรวมอยู่ในระดับมาก กลุ่มตัวอย่างที่มีกลุ่มมหาวิทยาลัยและปัจจัยส่วนบุคคลต่างกัน มีค่าสัมฤทธิผลด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดย ปัจจัยด้านภาวะผู้นำของผู้บริหาร ปัจจัยด้านการติดต่อสื่อสารและกิจกรรมส่งเสริม ปัจจัยด้านทรัพยากร ปัจจัยด้านการวัดและประเมินผล และปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์กร มีความสัมพันธ์ในทางบวกกับสัมฤทธิผลด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยปัจจัยที่ส่งผลต่อสัมฤทธิผลด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คือ ปัจจัยด้านการติดต่อสือสารและกิจกรรมส่งเสริม ด้านทรัพยากร และด้านวัฒนธรรมองค์กร โดยความแปรปรวนของสัมฤทธิผลด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยรวมอยู่ที่ร้อยละ 65.0 ดังสมการพยากรณ์โดยใช้คะแนนมาตรฐาน (Z) คือ Y=0.461X(3)+0.283X(2)+0.169X(5).Contents note: ปีการศึกษา 2558.
ปีพิมพ์เอกสาร 2559.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25885 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000550820 SIU THE-T IPAG-DPA-2016-02 c.1 Book Graduate Library Thesis Corner Available 32002000551679 SIU THE-T IPAG-DPA-2016-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU Thesis. สัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัยไทย / วิพัฒน์ หมั่นการ / สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2559
Collection Title: SIU Thesis Title : สัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัยไทย Original title : Research achievement of university lectures in Thailand Material Type: printed text Authors: วิพัฒน์ หมั่นการ, Author ; วรเดช จันทรศร, Author Publisher: สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2559 Pagination: x, 111 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สัมฤทธิผลการวิจัย
[LCSH]สัมฤทธิผลการวิจัย -- ดุษฎีนิพนธ์
[LCSH]อาจารย์มหาวิทยาลัย -- การวิจัย -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: การวิจัยของอาจารย์
สัมฤทธิผลการวิจัย.
อาจารย์มหาวิทยาลัย.Class number: SIU THE-T IPAG-DPA-2016-03 Abstract: ทำการศึกษาระดับของสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัยไทย และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์และส่งผลต่อสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัยไทย โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 185 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราประเมินค่า ค่าความเชื่อมั่นมากกว่าระดับ.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการศึกษา พบว่า อาจารย์มหาวิทยาลัยไทยที่ปฏิบัติหน้าที่สอนในคณะบริหารธุรกิจ หรือการจัดการมีสัมฤทธิผลด้านการวิจัยที่ระดับน้อยที่สุด หรือไม่ประสบความสำเร็จในการนำนโยบายด้านการวิจัยไปปฏิบัติ และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มมหาวิทยาลัย พบว่า มีสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยทั้ง 5 กลุ่ม มีสัมฤทธิผลด้านการวิจัยที่ระดับน้อยถึงน้อยที่สุด และ 2 การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน พบว่า ปัจจัยด้านการสนับสนุนจากสภาพแวดล้อมภายนอก อุดมการณ์ของการเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย การพัฒนาความสามารถด้านการวิจัยของอาจารย์ สิ่งจูงใจ ภาวะผู้นำของผู้บริหาร และด้านการสื่อสารมีความสัมพันธ์ทางตรงต่อสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3 การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์ไทย ประกอบด้วย ด้านการสนับสนุนจากสภาพแวดล้อมภายนอก ด้านอุดมการณ์ของการเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย และด้านการสื่อสารตามลำดับ ส่งผลต่อสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัยได้ร้อยละ 46.2 ซึ่งผลการศึกษาสอดคล้องกับตัวแบบทางทฤษฎีการนำนโยบายไปปฏิบัติของวรเดช จันทรศร ตัวแบบเชิงบูรณาการContents note: ปีการศึกษา 2558.
ปีพิมพ์เอกสาร 2559.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25886 SIU Thesis. สัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัยไทย = Research achievement of university lectures in Thailand [printed text] / วิพัฒน์ หมั่นการ, Author ; วรเดช จันทรศร, Author . - [S.l.] : สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559 . - x, 111 หน้า : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สัมฤทธิผลการวิจัย
[LCSH]สัมฤทธิผลการวิจัย -- ดุษฎีนิพนธ์
[LCSH]อาจารย์มหาวิทยาลัย -- การวิจัย -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: การวิจัยของอาจารย์
สัมฤทธิผลการวิจัย.
อาจารย์มหาวิทยาลัย.Class number: SIU THE-T IPAG-DPA-2016-03 Abstract: ทำการศึกษาระดับของสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัยไทย และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์และส่งผลต่อสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัยไทย โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 185 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราประเมินค่า ค่าความเชื่อมั่นมากกว่าระดับ.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการศึกษา พบว่า อาจารย์มหาวิทยาลัยไทยที่ปฏิบัติหน้าที่สอนในคณะบริหารธุรกิจ หรือการจัดการมีสัมฤทธิผลด้านการวิจัยที่ระดับน้อยที่สุด หรือไม่ประสบความสำเร็จในการนำนโยบายด้านการวิจัยไปปฏิบัติ และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มมหาวิทยาลัย พบว่า มีสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยทั้ง 5 กลุ่ม มีสัมฤทธิผลด้านการวิจัยที่ระดับน้อยถึงน้อยที่สุด และ 2 การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน พบว่า ปัจจัยด้านการสนับสนุนจากสภาพแวดล้อมภายนอก อุดมการณ์ของการเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย การพัฒนาความสามารถด้านการวิจัยของอาจารย์ สิ่งจูงใจ ภาวะผู้นำของผู้บริหาร และด้านการสื่อสารมีความสัมพันธ์ทางตรงต่อสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3 การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์ไทย ประกอบด้วย ด้านการสนับสนุนจากสภาพแวดล้อมภายนอก ด้านอุดมการณ์ของการเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย และด้านการสื่อสารตามลำดับ ส่งผลต่อสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัยได้ร้อยละ 46.2 ซึ่งผลการศึกษาสอดคล้องกับตัวแบบทางทฤษฎีการนำนโยบายไปปฏิบัติของวรเดช จันทรศร ตัวแบบเชิงบูรณาการContents note: ปีการศึกษา 2558.
ปีพิมพ์เอกสาร 2559.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25886 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000550788 SIU THE-T IPAG-DPA-2016-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000550838 SIU THE-T IPAG-DPA-2016-03 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available