From this page you can:
Home |
Publisher details
Publisher
located at
Available items(s) from this publisher
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesการศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการใช้บริการโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า / แสงอรุณ ถิระเรืองรัตน์ / บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล - 2548
Title : การศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการใช้บริการโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : กรณีศึกษาโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา Original title : A Study on medical care impediments in universal coverage health insurance : a case study of Maharaj Ratchasima Hospital Nakorn Ratchasima province Material Type: printed text Authors: แสงอรุณ ถิระเรืองรัตน์, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล Publication Date: 2548 Pagination: ก-ญ, 170 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-046-754-7 General note: เนื้อหามีสองภาษา ฉบับภาษาไทย BARCODE No.32002000308997 ฉบับภาษาอังกฤษ BARCODE No.32002000309011
วิทยานิพนธ์ [ศศ.ม. [วัฒนธรรมศึกษา]] - มหาวิทยาลัยมหิดล 2548.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Health care -- Thailand
[LCSH]Health insurance
[LCSH]Medical care -- Thailand
[LCSH]สิทธิบัตรทอง
[LCSH]สิทธิผู้ป่วย
[LCSH]หลักประกันสุขภาพ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริการ
[LCSH]โรงพยายาลมหานครราชสีมา -- กรณีศึกษาKeywords: หลักประกันสุขภาพ.
็Health care
Health insurance.Class number: W115.H4 ส882 2548 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับความรู้ของผู้รับบริการเกี่ยวกับสิทธิด้านการรักษาพยาบาลตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ความคิดเห็นของผู้รับบริการที่ได้รับ รวมทั้งปัญหาอุปสรรคจากการรับบริการตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง กับกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ที่มารับบริการที่แผนกตรวจโรคผู้ป่วยจาก 10 แผนกของโรงพยาบาลมหานครราชสีมา จังหวัีดนครราชสีมา โดยใช้สิทธิบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า ระหว่างวันที่ 1-31 ตุลาคม 2547 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ One-way ANOVA ประมวลผลโดยเครื่องคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่า
1. กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับสิทธิด้านการรักษาพยาบาลตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอยู่ในระดับน้อย ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับความรู้เกี่ยวกับสิทธิด้านการรักษาพยาบาล ได้แก่ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา และรายได้ 2. ความคิดเห็นของผู้รับบริการที่ได้รับอยู่ในระดับดี ร้อยละ 42.0 ส่วนที่เหลืออีก ร้อยละ0.3 มีความคิดเห็นว่าโรงพยาบาลควรปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ และ 3. ปัญหาอุปสรรคในการมารับบริการ มีผู้มารับบริการไม่ถึงร้อยละ 20 ทีพบปัญหา ซึ่งปัญหาที่พบเรียงลำดับจากมากไปน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ ประชาชนที่มารับบริการขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิด้านการรักษาพยาบาลตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปัญหาเกี่ยวกับบริการที่ได้รับจากห้องบัตรที่ต้องรอนานเกินไป เจ้าหน้าที่พูดจาไม่ชัดเจน ไม่สุภาพ และปัญหาเกี่ยวกับบริการได้รับจากพยาบาลผู้ให้บริการที่พยาบาลบางคนพูดจาไม่สุภาพ ไม่เป็นมิตรกับผู้ป่วย พยาบาลขาดการกระตือรือร้น งานวิจัยได้เสนอแนะว่า ควรจัดให้มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิผู้ป่วยตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้มากยิ่งขึ้น นอกจากนั้นผู้บริหารรวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องจะต้องศึกษาสาเหตุที่แท้จริงเกี่ยวกับคุณภาพของบริการ เพื่อหาแนวทางแก้ไขต่อไป
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23167 การศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการใช้บริการโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า = A Study on medical care impediments in universal coverage health insurance : a case study of Maharaj Ratchasima Hospital Nakorn Ratchasima province : กรณีศึกษาโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา [printed text] / แสงอรุณ ถิระเรืองรัตน์, Author . - กรุงเทพ ฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2548 . - ก-ญ, 170 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-046-754-7
เนื้อหามีสองภาษา ฉบับภาษาไทย BARCODE No.32002000308997 ฉบับภาษาอังกฤษ BARCODE No.32002000309011
วิทยานิพนธ์ [ศศ.ม. [วัฒนธรรมศึกษา]] - มหาวิทยาลัยมหิดล 2548.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Health care -- Thailand
[LCSH]Health insurance
[LCSH]Medical care -- Thailand
[LCSH]สิทธิบัตรทอง
[LCSH]สิทธิผู้ป่วย
[LCSH]หลักประกันสุขภาพ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริการ
[LCSH]โรงพยายาลมหานครราชสีมา -- กรณีศึกษาKeywords: หลักประกันสุขภาพ.
็Health care
Health insurance.Class number: W115.H4 ส882 2548 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับความรู้ของผู้รับบริการเกี่ยวกับสิทธิด้านการรักษาพยาบาลตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ความคิดเห็นของผู้รับบริการที่ได้รับ รวมทั้งปัญหาอุปสรรคจากการรับบริการตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง กับกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ที่มารับบริการที่แผนกตรวจโรคผู้ป่วยจาก 10 แผนกของโรงพยาบาลมหานครราชสีมา จังหวัีดนครราชสีมา โดยใช้สิทธิบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า ระหว่างวันที่ 1-31 ตุลาคม 2547 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ One-way ANOVA ประมวลผลโดยเครื่องคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่า
1. กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับสิทธิด้านการรักษาพยาบาลตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอยู่ในระดับน้อย ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับความรู้เกี่ยวกับสิทธิด้านการรักษาพยาบาล ได้แก่ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา และรายได้ 2. ความคิดเห็นของผู้รับบริการที่ได้รับอยู่ในระดับดี ร้อยละ 42.0 ส่วนที่เหลืออีก ร้อยละ0.3 มีความคิดเห็นว่าโรงพยาบาลควรปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ และ 3. ปัญหาอุปสรรคในการมารับบริการ มีผู้มารับบริการไม่ถึงร้อยละ 20 ทีพบปัญหา ซึ่งปัญหาที่พบเรียงลำดับจากมากไปน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ ประชาชนที่มารับบริการขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิด้านการรักษาพยาบาลตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปัญหาเกี่ยวกับบริการที่ได้รับจากห้องบัตรที่ต้องรอนานเกินไป เจ้าหน้าที่พูดจาไม่ชัดเจน ไม่สุภาพ และปัญหาเกี่ยวกับบริการได้รับจากพยาบาลผู้ให้บริการที่พยาบาลบางคนพูดจาไม่สุภาพ ไม่เป็นมิตรกับผู้ป่วย พยาบาลขาดการกระตือรือร้น งานวิจัยได้เสนอแนะว่า ควรจัดให้มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิผู้ป่วยตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้มากยิ่งขึ้น นอกจากนั้นผู้บริหารรวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องจะต้องศึกษาสาเหตุที่แท้จริงเกี่ยวกับคุณภาพของบริการ เพื่อหาแนวทางแก้ไขต่อไป
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23167 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000308997 W115.H4 ส882 2548 C.1 Thesis Main Library Thesis Corner Available 32002000309011 W115.H4 ส882 2548 C.2 Thesis Main Library Thesis Corner Available การศึกษาเหตุผลเชิงจริยธรรมของมารดาที่มีแนวโน้มทอดทิ้งบุตร / ปริญดา ตี่ด้วง / บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล - 2543
Title : การศึกษาเหตุผลเชิงจริยธรรมของมารดาที่มีแนวโน้มทอดทิ้งบุตร Original title : A study of moral reasons of mothers who tend to abandon their children Material Type: printed text Authors: ปริญดา ตี่ด้วง, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล Publication Date: 2543 Pagination: ก-ฌ, 116 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-663-693-6 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ (อ.ม. (จริยศาสตร์ศึกษา))-- มหาวิทยาลัยมหิดล, 2543 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]จริยธรรม
[LCSH]มารดาและทารก
[LCSH]เด็กที่ถูกทอดทิ้งKeywords: จริยธรรม.
มารดา.
เด็กที่ถูกทอดทิ้ง.Class number: HV873 ป573 2543 Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ทราบเ้หตุผลเชิงจริยธรรมของมารดาที่มีแนวโน้มทอดทิ้งบุตร ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นมารดาตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ที่สถานสงเคราะห์บ้านพักฉุกเฉิน แขวงทุ่งสีกัน เขตดอนเมือง จำนวน 18 คน รวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกผลการศึกษาพบว่า มารดาที่มีแนวโน้มทอดทิ้งบุตรให้เหตุผลไว้ 5 ประการ คือ 1. เพราะสงสารและเป็นห่วงอนาคตของบุตร 2. เพราะความไม่ปลอดภัยของบุตร 3.เพราะบุตรเป็นภาระเกินเลย 4.เพราะอับอายญาติพี่น้องในครอบครัวและคนในสังคม 5. เพราะไม่รู้สึกผูกผันกับบุตร Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23287 การศึกษาเหตุผลเชิงจริยธรรมของมารดาที่มีแนวโน้มทอดทิ้งบุตร = A study of moral reasons of mothers who tend to abandon their children [printed text] / ปริญดา ตี่ด้วง, Author . - กรุงเทพ ฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2543 . - ก-ฌ, 116 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-663-693-6 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ (อ.ม. (จริยศาสตร์ศึกษา))-- มหาวิทยาลัยมหิดล, 2543
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]จริยธรรม
[LCSH]มารดาและทารก
[LCSH]เด็กที่ถูกทอดทิ้งKeywords: จริยธรรม.
มารดา.
เด็กที่ถูกทอดทิ้ง.Class number: HV873 ป573 2543 Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ทราบเ้หตุผลเชิงจริยธรรมของมารดาที่มีแนวโน้มทอดทิ้งบุตร ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นมารดาตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ที่สถานสงเคราะห์บ้านพักฉุกเฉิน แขวงทุ่งสีกัน เขตดอนเมือง จำนวน 18 คน รวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกผลการศึกษาพบว่า มารดาที่มีแนวโน้มทอดทิ้งบุตรให้เหตุผลไว้ 5 ประการ คือ 1. เพราะสงสารและเป็นห่วงอนาคตของบุตร 2. เพราะความไม่ปลอดภัยของบุตร 3.เพราะบุตรเป็นภาระเกินเลย 4.เพราะอับอายญาติพี่น้องในครอบครัวและคนในสังคม 5. เพราะไม่รู้สึกผูกผันกับบุตร Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23287 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355873 THE HV873 ป573 2543 Thesis Main Library Thesis Corner Available