From this page you can:
Home |
Publisher details
Publisher
located at
Available items(s) from this publisher
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฏิบัติทางคลินิก / จุไร ประธาน / บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร - 2548
Title : สัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฏิบัติทางคลินิก Original title : The Relationship between student nurse and staff nurse in clinical practice Material Type: printed text Authors: จุไร ประธาน, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร Publication Date: 2548 Pagination: 110 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. [พย.ม. [การพยาบาลศึกษา]] - มหาวิทยาลัยนเรศวร 2548 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาลศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]พฤติกรรมการช่วยเหลือ
[LCSH]สภาพแวดล้อมการทำงานKeywords: พยาบาล.
การศึกษา.
การสอน.Class number: WY100 จ249 2548 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพ จุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฏิบัติทางคลินิกตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาล ผู้ให้ข้อมูลเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีทีื4 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ในโครงการร่วมผลิตระหว่างมหาวิทยาลัยนเรศวร และวิทยาลัียพยาบาลบรมราชชนนี สังกัดกระทรวงสาํธารณสุข จำนวน 16 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และการบันทึกเทป วิเคราห์ข้อมูลโดยใช้การตีความ
ผลการศึกษาพบว่า สัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฎิบัติิทางคลินิกแบ่งเป็น 2 ด้าน คือ 1. สัมพันธภาพที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัติทางคลินิก และ 2. สัมพันธภาพที่ไม่ส่งเสริมการฝึกปฎิบัติทางคลินิก ของนักศึกษาประกอบด้วย 1. สัมพันธภาพที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัติทางคลินิก มี 4 ปัจจัย คือ 1.1 บรรยากาศการต้อนรับที่ดีและเป็นกันเองของพยาบาลวิชาชีพ 1.2 การให้ความเาใจใส่ดูแลในการสอนและนิเทศงาน 1.3 การแสดงความชื่นชมให้กำลังใจ และให้ความสำคัญ 1.4 การเรียนรู้และหาคำตอบด้วยตนเอง ปัจจัยทั้ง 4 ประการนี้ นักศึกษาระบุว่า ทำให้นักศึกษาได้รับประโยชน์จากประสบการณ์ในการฝึกภาคปฎิบัติอย่างเต็มที่ ช่วยให้นักศึกษามีความมั่นใจ และมีความสุขในการเรียนภาคปฎิบัติ 2. ส่วนสัีมพัีนธภาพที่เป็นอุปสรรคและไม่ส่งเสริมการฝึกปฎิบัติงานทางด้านคลินิก ประกอบด้วย 2.1 บรรยากาศทางคลินิกที่ตึงเครียด 2.2 การสูญเสียในความเป็นบุคคล 2.3 การไม่ได้รับโอกาสในการทดลองฝึกปฎิบัติื และ 2.4 การปฎิบัติการพยาบาลที่ไม่สอดคล้องกัน ทำให้นักศึกษาไม่อย่ากขึ้นฝึกปฎิบัติงาน ทำให้การเรียนรู้ของนักศึกษาถูกจำกัด และไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร ผลการวิจัยครั้งนี้ได้ข้อมูลที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฎิบัติทางคลินิก สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการเสนอแนะเพิ่มการส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลและพยาบาลวิชาชีพเพื่อให้บรรลุเ้ป้าหมายของการฝึกภาคปฎิบัติในคลินิกCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23152 สัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฏิบัติทางคลินิก = The Relationship between student nurse and staff nurse in clinical practice [printed text] / จุไร ประธาน, Author . - [S.l.] : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2548 . - 110 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์. [พย.ม. [การพยาบาลศึกษา]] - มหาวิทยาลัยนเรศวร 2548
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาลศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]พฤติกรรมการช่วยเหลือ
[LCSH]สภาพแวดล้อมการทำงานKeywords: พยาบาล.
การศึกษา.
การสอน.Class number: WY100 จ249 2548 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพ จุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฏิบัติทางคลินิกตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาล ผู้ให้ข้อมูลเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีทีื4 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ในโครงการร่วมผลิตระหว่างมหาวิทยาลัยนเรศวร และวิทยาลัียพยาบาลบรมราชชนนี สังกัดกระทรวงสาํธารณสุข จำนวน 16 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และการบันทึกเทป วิเคราห์ข้อมูลโดยใช้การตีความ
ผลการศึกษาพบว่า สัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฎิบัติิทางคลินิกแบ่งเป็น 2 ด้าน คือ 1. สัมพันธภาพที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัติทางคลินิก และ 2. สัมพันธภาพที่ไม่ส่งเสริมการฝึกปฎิบัติทางคลินิก ของนักศึกษาประกอบด้วย 1. สัมพันธภาพที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัติทางคลินิก มี 4 ปัจจัย คือ 1.1 บรรยากาศการต้อนรับที่ดีและเป็นกันเองของพยาบาลวิชาชีพ 1.2 การให้ความเาใจใส่ดูแลในการสอนและนิเทศงาน 1.3 การแสดงความชื่นชมให้กำลังใจ และให้ความสำคัญ 1.4 การเรียนรู้และหาคำตอบด้วยตนเอง ปัจจัยทั้ง 4 ประการนี้ นักศึกษาระบุว่า ทำให้นักศึกษาได้รับประโยชน์จากประสบการณ์ในการฝึกภาคปฎิบัติอย่างเต็มที่ ช่วยให้นักศึกษามีความมั่นใจ และมีความสุขในการเรียนภาคปฎิบัติ 2. ส่วนสัีมพัีนธภาพที่เป็นอุปสรรคและไม่ส่งเสริมการฝึกปฎิบัติงานทางด้านคลินิก ประกอบด้วย 2.1 บรรยากาศทางคลินิกที่ตึงเครียด 2.2 การสูญเสียในความเป็นบุคคล 2.3 การไม่ได้รับโอกาสในการทดลองฝึกปฎิบัติื และ 2.4 การปฎิบัติการพยาบาลที่ไม่สอดคล้องกัน ทำให้นักศึกษาไม่อย่ากขึ้นฝึกปฎิบัติงาน ทำให้การเรียนรู้ของนักศึกษาถูกจำกัด และไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร ผลการวิจัยครั้งนี้ได้ข้อมูลที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฎิบัติทางคลินิก สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการเสนอแนะเพิ่มการส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลและพยาบาลวิชาชีพเพื่อให้บรรลุเ้ป้าหมายของการฝึกภาคปฎิบัติในคลินิกCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23152 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354595 WY100 จ249 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคลินิกในห้องคลอด / นิภาวรรณ เนินเพิ่มพิสุทธิ์ / บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร - 2548
Title : สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคลินิกในห้องคลอด : ตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาล Original title : Nursing students perceptions of environment enhancing clinical learning in labour room Material Type: printed text Authors: นิภาวรรณ เนินเพิ่มพิสุทธิ์, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร Publication Date: 2548 Pagination: 108 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลศึกษา]]-- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2548. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การฝึกอบรม
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- การดูแลKeywords: การคลอด.
การรับรู้.Class number: WQ200 น536 2548 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคลินิกในห้องคลอดตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาล ผู้ให้ข้อมูลเป็นนักศึกษาพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขแห่งหนึ่งทางภาคเหนือ จำนวน 16 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีวิเคราะห์เนื้อหาและการตีความ ผลการวิจัยพบว่า
สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคลินิกในห้องคลอดตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลมี 2 องค์ประกอบ คือ สัมพันธภาพที่ดีระหว่างบุคคลและปัจจัยที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัิตของนักศึกษา สัมพันธภาพที่ดีระหว่างบุคคลมี 4 ประการ คือ 1 สัมพันธภาพที่ดีระหว่างนักศึกษากับบุคลากรห้องคลอด 2 นักศึกษากับอาจารย์พยาบาล 3 ระหว่างเพื่อนนักศึกษาด้วยกัน และการยอมรับจากผู้คลิด ส่วนปัจจัยที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัติของนักศึกษามี 4 ประการ คือ 1. การปฐมนิเทศก่อนขึ้นฝึกปฎิบัติงาน 2. ความช่วยเหลือและแนะนำในการฝึกปฏิบัติอย่างใกล้ชิด 3. โอกาสฝึกปฏิบัติกับผู้คลอดโดยตรง และ 4. ความพร้อมของเครื่องมืออุปกรณ์ จากผลการวิจัยครั้งนี้ พบว่าสัมพันธภาพที่ดีและปัจจัย 4 ประการ เป็นสภาพแวดล้อมสำคัญที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคลินิกในห้องคลอด ดังนั้นแหล่งฝึกกับสถาบันการศึกษาควรร่วมมือกันส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดี และร่วมสร้างปัจจัยที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษา
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23194 สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคลินิกในห้องคลอด = Nursing students perceptions of environment enhancing clinical learning in labour room : ตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาล [printed text] / นิภาวรรณ เนินเพิ่มพิสุทธิ์, Author . - [S.l.] : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2548 . - 108 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลศึกษา]]-- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2548.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การฝึกอบรม
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- การดูแลKeywords: การคลอด.
การรับรู้.Class number: WQ200 น536 2548 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคลินิกในห้องคลอดตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาล ผู้ให้ข้อมูลเป็นนักศึกษาพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขแห่งหนึ่งทางภาคเหนือ จำนวน 16 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีวิเคราะห์เนื้อหาและการตีความ ผลการวิจัยพบว่า
สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคลินิกในห้องคลอดตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลมี 2 องค์ประกอบ คือ สัมพันธภาพที่ดีระหว่างบุคคลและปัจจัยที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัิตของนักศึกษา สัมพันธภาพที่ดีระหว่างบุคคลมี 4 ประการ คือ 1 สัมพันธภาพที่ดีระหว่างนักศึกษากับบุคลากรห้องคลอด 2 นักศึกษากับอาจารย์พยาบาล 3 ระหว่างเพื่อนนักศึกษาด้วยกัน และการยอมรับจากผู้คลิด ส่วนปัจจัยที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัติของนักศึกษามี 4 ประการ คือ 1. การปฐมนิเทศก่อนขึ้นฝึกปฎิบัติงาน 2. ความช่วยเหลือและแนะนำในการฝึกปฏิบัติอย่างใกล้ชิด 3. โอกาสฝึกปฏิบัติกับผู้คลอดโดยตรง และ 4. ความพร้อมของเครื่องมืออุปกรณ์ จากผลการวิจัยครั้งนี้ พบว่าสัมพันธภาพที่ดีและปัจจัย 4 ประการ เป็นสภาพแวดล้อมสำคัญที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคลินิกในห้องคลอด ดังนั้นแหล่งฝึกกับสถาบันการศึกษาควรร่วมมือกันส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดี และร่วมสร้างปัจจัยที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษา
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23194 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354611 WQ200 น536 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available การจัดการความเจ็บป่วยของตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง / กันยารัตน์ มาเกตุ / บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร - 2552
Title : การจัดการความเจ็บป่วยของตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง : ที่มีการฟื้นความสามารถ Original title : Self management on illness among the recovery stroke patients Material Type: printed text Authors: กันยารัตน์ มาเกตุ, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร Publication Date: 2552 Pagination: 126 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความเจ็บปวด -- การบำบัด
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]หลอดเลือดสมอง -- โรคKeywords: โรคหลอดเลือดสมอง.
ผู้ป่วย.
การดูแลตนเอง.Class number: WL355 ก156 2552 Abstract: ศึกษาความหมายและวิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยตามมุมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดทีี่มีการฟื้นความสามารถ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมองที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลวัดโบสถ์จังหวัดพิษณุโลก และมีการฟื้นความสามารถโดยการผ่านการประเมินระดับความสามารถในการปฎิบัติกิจวัตรประจำวันอยู่ในเกณฑ์ 75-100 คะแนน จำนวน 13 คน ใช้วิธีการสัมภาษณ์ระดับลึก เครื่องมือที่ใช้คือ แนวคำถามปลายเปิด เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2551 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content anlysis) ตามแนวคิดของ Burnard ผลการศึกษาพบว่า
1. ผู้ให้ข้อมูลได้ให้ความหมายต่อภาวะเจ็บป่วย 3 ความหมาย คือ เป็นโรคที่ตายทั้งเป็น หรือเหมือนคนที่ตายแล้ว โรคเวรโรคกรรมและโรคที่ต้องพึ่งพาเป็นภาระให้กับผู้อื่น 2. ความรู้สึกต่อการเจ็บป่วยนั้นผู้ให้ข้อมูลมีความรู้สึกว่า เป็นชั่วคราวมีความหวังจะหาย เครียด อารมณ์หงุดหงิดที่ดูแลตัวเองไม่ได้และไม่อยากให้เป็นภาระกับผู้อื่น อยากเอาชนะคำสบประมาท 3. วิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยนั้นพบว่า ได้จัีดการกับความทุกข์ทั้งทางร่างกายและจิตใจด้วยการทำใจให้ยอมรับ คิดให้ชีวิตมีความหวัง หาวิธีผ่อนคลายความเครียด คิดเชิงบวกต่อความเจ็บป่วย พยายามช่วยเหลือตนเอง และออกกำลังกายฟื้นฟูร่างกายอย่างต่อเนื่อง ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตให้สอดคล้องกัีบสภาพร่างกายอันได้แก่ การเลือกและจำกัดอาหาร นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ ใช้การแพทย์แผยไทย แสวงหาวิธีการรักษาต่าง ๆ มาทดลองใช้ รับการรักษษกับแพทย์แผนปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง และเมื่อฟื้นหาย ได้คงวิถีชีวิตที่ดี การปฎิบัติงานช่วยเหลือชุมชนด้วยจิตอาสาCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23201 การจัดการความเจ็บป่วยของตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง = Self management on illness among the recovery stroke patients : ที่มีการฟื้นความสามารถ [printed text] / กันยารัตน์ มาเกตุ, Author . - [S.l.] : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552 . - 126 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความเจ็บปวด -- การบำบัด
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]หลอดเลือดสมอง -- โรคKeywords: โรคหลอดเลือดสมอง.
ผู้ป่วย.
การดูแลตนเอง.Class number: WL355 ก156 2552 Abstract: ศึกษาความหมายและวิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยตามมุมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดทีี่มีการฟื้นความสามารถ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมองที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลวัดโบสถ์จังหวัดพิษณุโลก และมีการฟื้นความสามารถโดยการผ่านการประเมินระดับความสามารถในการปฎิบัติกิจวัตรประจำวันอยู่ในเกณฑ์ 75-100 คะแนน จำนวน 13 คน ใช้วิธีการสัมภาษณ์ระดับลึก เครื่องมือที่ใช้คือ แนวคำถามปลายเปิด เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2551 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content anlysis) ตามแนวคิดของ Burnard ผลการศึกษาพบว่า
1. ผู้ให้ข้อมูลได้ให้ความหมายต่อภาวะเจ็บป่วย 3 ความหมาย คือ เป็นโรคที่ตายทั้งเป็น หรือเหมือนคนที่ตายแล้ว โรคเวรโรคกรรมและโรคที่ต้องพึ่งพาเป็นภาระให้กับผู้อื่น 2. ความรู้สึกต่อการเจ็บป่วยนั้นผู้ให้ข้อมูลมีความรู้สึกว่า เป็นชั่วคราวมีความหวังจะหาย เครียด อารมณ์หงุดหงิดที่ดูแลตัวเองไม่ได้และไม่อยากให้เป็นภาระกับผู้อื่น อยากเอาชนะคำสบประมาท 3. วิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยนั้นพบว่า ได้จัีดการกับความทุกข์ทั้งทางร่างกายและจิตใจด้วยการทำใจให้ยอมรับ คิดให้ชีวิตมีความหวัง หาวิธีผ่อนคลายความเครียด คิดเชิงบวกต่อความเจ็บป่วย พยายามช่วยเหลือตนเอง และออกกำลังกายฟื้นฟูร่างกายอย่างต่อเนื่อง ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตให้สอดคล้องกัีบสภาพร่างกายอันได้แก่ การเลือกและจำกัดอาหาร นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ ใช้การแพทย์แผยไทย แสวงหาวิธีการรักษาต่าง ๆ มาทดลองใช้ รับการรักษษกับแพทย์แผนปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง และเมื่อฟื้นหาย ได้คงวิถีชีวิตที่ดี การปฎิบัติงานช่วยเหลือชุมชนด้วยจิตอาสาCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23201 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354785 WL355 ก156 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available