From this page you can:
Home |
Class number details
BC177 ก248ต 2561
Library items with class number BC177 ก248ต 2561
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesตรรกศาสตร์ / โกเมนทร์ ชินวงศ์ / กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - 2561
Title : ตรรกศาสตร์ : กาคิด และการตัดสินใจ Material Type: printed text Authors: โกเมนทร์ ชินวงศ์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Publication Date: 2561 Pagination: 251 หน้า : Layout: ภาพประกอบ Size: 24 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-556229-4 Price: 210.00 General note: มีเนื้อหาเกี่ยวกับการศึกษารูปแบบ และกฎเกณฑ์ของวิธีการอ้างเหตุผลแบบนิรนัย (Deductive Logic) จากความรู้ความเชื่อที่แน่นอน และวิธีการอ้างเหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Logic) จากประสบการณ์ที่แน่ใจได้ รวมทั้งลักษณะของการอ้างเหตุผลบกพร่อง (Fallacy) เพื่อที่จะทำการวิเคราะห์ตรวจสอบหารูปแบบความสมเหตุสมผล (Validity) และความน่าจะเป็น (Possibility) ของข้ออ้างและข้อสรุป (Premises and Conclusion) เพื่อที่จะมาประเมินหาค่าความจริง - เท็จ (True-False) และความน่าเชื่อถือ (Reliable) ของการใช้เหตุผล (Reasoning) ของมนุษย์ ที่ได้ทำการอ้างเหตุผล (Arguments) โดยการแสดงความคิด (Thought) จากการรับรู้ออกมาเป็นข้อมูลที่มีค่าจริง - เท็จ เป็นประโยคที่ประกอบด้วยคำพูดที่กำหนดความหมาย (Term) ในรูปประโยคบอกเล่าข้อเท็จจริงหรือข้อความที่เรียกว่า ประพจน์ (Proposition) ตามรูปแบบของภาษาสื่อสารกันในชีวิตประจำวัน ซึ่งมีอิทธิพลต่อการกำหนดรูปแบบวิถีชีวิตอันเป็นผลลัพธ์ที่มาจากการเลือกคิด และตัดสินใจตามข้อมูลที่มีในตนเอง มนุษย์ใช้การคิดเพื่อแก้ปัญหาชีวิต ความคิดคือสินทรัพย์ การคิดคือแผนการ ชีวิตคือการลงทุน ตรรกศาสตร์เพื่อชีวิตคือปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วิวัฒนาการของการใช้เหตุผลเพื่อแสวงหาความรู้ เริ่มมาตั้งแต่ยุคประวัติศาสตร์โบราณจนมาถึงปัจจุบันนี้ Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การอ้างเหตุผล
[LCSH]ความคิดและการคิด
[LCSH]ตรรกวิทยาClass number: BC177 ก248ต 2561 Curricular : BALA/BBA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28357 ตรรกศาสตร์ : กาคิด และการตัดสินใจ [printed text] / โกเมนทร์ ชินวงศ์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - [S.l.] : กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2561 . - 251 หน้า : : ภาพประกอบ ; 24 ซม.
ISBN : 978-6-16-556229-4 : 210.00
มีเนื้อหาเกี่ยวกับการศึกษารูปแบบ และกฎเกณฑ์ของวิธีการอ้างเหตุผลแบบนิรนัย (Deductive Logic) จากความรู้ความเชื่อที่แน่นอน และวิธีการอ้างเหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Logic) จากประสบการณ์ที่แน่ใจได้ รวมทั้งลักษณะของการอ้างเหตุผลบกพร่อง (Fallacy) เพื่อที่จะทำการวิเคราะห์ตรวจสอบหารูปแบบความสมเหตุสมผล (Validity) และความน่าจะเป็น (Possibility) ของข้ออ้างและข้อสรุป (Premises and Conclusion) เพื่อที่จะมาประเมินหาค่าความจริง - เท็จ (True-False) และความน่าเชื่อถือ (Reliable) ของการใช้เหตุผล (Reasoning) ของมนุษย์ ที่ได้ทำการอ้างเหตุผล (Arguments) โดยการแสดงความคิด (Thought) จากการรับรู้ออกมาเป็นข้อมูลที่มีค่าจริง - เท็จ เป็นประโยคที่ประกอบด้วยคำพูดที่กำหนดความหมาย (Term) ในรูปประโยคบอกเล่าข้อเท็จจริงหรือข้อความที่เรียกว่า ประพจน์ (Proposition) ตามรูปแบบของภาษาสื่อสารกันในชีวิตประจำวัน ซึ่งมีอิทธิพลต่อการกำหนดรูปแบบวิถีชีวิตอันเป็นผลลัพธ์ที่มาจากการเลือกคิด และตัดสินใจตามข้อมูลที่มีในตนเอง มนุษย์ใช้การคิดเพื่อแก้ปัญหาชีวิต ความคิดคือสินทรัพย์ การคิดคือแผนการ ชีวิตคือการลงทุน ตรรกศาสตร์เพื่อชีวิตคือปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วิวัฒนาการของการใช้เหตุผลเพื่อแสวงหาความรู้ เริ่มมาตั้งแต่ยุคประวัติศาสตร์โบราณจนมาถึงปัจจุบันนี้
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การอ้างเหตุผล
[LCSH]ความคิดและการคิด
[LCSH]ตรรกวิทยาClass number: BC177 ก248ต 2561 Curricular : BALA/BBA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28357 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000584795 BC177 ก248ต 2561 Book Main Library General Shelf Available