From this page you can:
Home |
วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต / สมาคมพยาบาลจิตเวชแห่งประเทศไทย . Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560Published date : 11/08/2017 |
Available articles
Add the result to your basketการส่งเสริมความร่วมมือในการรับประทานยาสำหรับผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน / วัชรินทร์ วุฒิรณฤทธิ์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : การส่งเสริมความร่วมมือในการรับประทานยาสำหรับผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน Original title : Promoting medication Adherence in persons with Schizophrenia in community Material Type: printed text Authors: วัชรินทร์ วุฒิรณฤทธิ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.1-12 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.1-12Keywords: การส่งเสริม. ความร่วมมือในการ. รับประทานยา. ผู้ป่วยจิตเภท. ชุมชน.promoting. medication adherence. persons with schizophrenia. community. Abstract: การดูแลเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยจิตเภท สามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับครอบครัวและสามารถใช้ชีวิตอย่างปกติสุขเป็นส่วนหนึ่งของสมาชิกในชุมชนเป็นเป้าหมายสำคัญของการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน หากพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชนให้ความสำคัญกับเรื่องนี้และมีระบบการดูแลเพื่อส่งเสริมความร่วมมือในการรับประทานยาสำหรับผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนร่วมกับการดูแลด้านจิตสังคมที่เหมาะสม จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถคงภาวะสุขภาพจิตและอยู่ในชุมชนได้อย่างต่อเนื่องส่งผลให้มีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กับสมาชิกอื่นในชุมชน การได้รับโอกาสต่างๆ ในฐานะสมาชิกก็จะเป็นไปได้มากขึ้น ภาพของการประทับตรา (stigma) และการมองด้านลบต่อกันระหว่างผู้ป่วยและสมาชิกในชุมชนย่อมลดลงหรือหมดไป อันจะนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและความผาสุกของครอบครัวตามไปด้วย.
Caring for promoting persons with schizophrenia to live with their families and happy to stay as a member in communities is one of our community mental health and psychiatric nursing goals. If we concern about this goal and we have good system to promote medication adherence in persons with Schizophrenia in community together with appropriately psychosocial nursing implementations, these nursing actions would help to maintain well-being of the persons with Schizophrenia. There stable mental health would be supported their opportunities in daily living as a member in the community less or without negative stigma. In addition, this good living will let them having quality of life and also their families’ well-being.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27468 [article] การส่งเสริมความร่วมมือในการรับประทานยาสำหรับผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน = Promoting medication Adherence in persons with Schizophrenia in community [printed text] / วัชรินทร์ วุฒิรณฤทธิ์, Author . - 2017 . - p.1-12.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.1-12Keywords: การส่งเสริม. ความร่วมมือในการ. รับประทานยา. ผู้ป่วยจิตเภท. ชุมชน.promoting. medication adherence. persons with schizophrenia. community. Abstract: การดูแลเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยจิตเภท สามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับครอบครัวและสามารถใช้ชีวิตอย่างปกติสุขเป็นส่วนหนึ่งของสมาชิกในชุมชนเป็นเป้าหมายสำคัญของการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน หากพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชนให้ความสำคัญกับเรื่องนี้และมีระบบการดูแลเพื่อส่งเสริมความร่วมมือในการรับประทานยาสำหรับผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนร่วมกับการดูแลด้านจิตสังคมที่เหมาะสม จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถคงภาวะสุขภาพจิตและอยู่ในชุมชนได้อย่างต่อเนื่องส่งผลให้มีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กับสมาชิกอื่นในชุมชน การได้รับโอกาสต่างๆ ในฐานะสมาชิกก็จะเป็นไปได้มากขึ้น ภาพของการประทับตรา (stigma) และการมองด้านลบต่อกันระหว่างผู้ป่วยและสมาชิกในชุมชนย่อมลดลงหรือหมดไป อันจะนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและความผาสุกของครอบครัวตามไปด้วย.
Caring for promoting persons with schizophrenia to live with their families and happy to stay as a member in communities is one of our community mental health and psychiatric nursing goals. If we concern about this goal and we have good system to promote medication adherence in persons with Schizophrenia in community together with appropriately psychosocial nursing implementations, these nursing actions would help to maintain well-being of the persons with Schizophrenia. There stable mental health would be supported their opportunities in daily living as a member in the community less or without negative stigma. In addition, this good living will let them having quality of life and also their families’ well-being.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27468 ปัจจัยทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส / พัชรินทร์ นินทจันทร์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส Original title : Factors predicting resilience in underprivieleged adolescents Material Type: printed text Authors: พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author ; วารีรัตน์ ถาน้อย, Author ; โสภิณ แสงอ่อน, Author ; มาณวิภา พัฒนมาศ, Author ; ช่อทิพย์ อินทรักษา, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.13-28. Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.13-28.Keywords: ความแข็งแกร่งในชีวิต. ความเครียด. เหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ. วัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส.Resilience. Stress. Negative events. Underprivileged adolescents. Abstract:
วัตถุประสงค์: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนที่กำลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แห่งหนึ่งในประเทศไทย จำนวน 224 คน เลือกตัวอย่างโดยใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดความเครียด แบบประเมินความแข็งแกร่งในชีวิตและแบบวัดเหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน
ผลการศึกษา: ผลการศึกษาพบว่า อายุ สถานะทางการเงิน ความเครียด และเหตุการณ์ ที่สร้างความยุ่งยากใจ (ปัญหากับเพื่อน ปัญหากับแฟน ปัญหากับครู/ อาจารย์ ปัญหากับบิดา/ มารดา ปัญหากับนักศึกษาอื่น ปัญหากับญาติ/พี่น้องปัญหาการเงิน ปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการเรียน ปัญหาด้านสุขภาพ และปัญหาด้านข้อจำกัดในการเรียนและความสนใจในวิชาเรียน) มีความสัมพันธ์กับความแข็งแกร่งในชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ และอายุสามารถร่วมกันทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตได้ร้อยละ 17.30 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
สรุป: ผลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาการปฏิบัติการพยาบาลในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตให้แก่วัยรุ่น เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่นด้อยโอกาสต่อไป
Objective: The purpose of this study was to investigate factors predicting resilience in underprivileged adolescents.
Methods: A simple random sampling technique was used to select 224 secondary school students from a school for underprivileged adolescents in Thailand. Data were collected by a set of self-report questionnaires including a demographic questionnaire, the Thai Stress Test, the Resilience Inventory, and the Negative Events Scale. Descriptive statistics, correlation coefficient, and stepwise multiple regression were employed for data analyses.
Results: The results revealed that age, economic status, stress, and negative events (problems with friends, problems with boy/ girlfriend, problems with teachers, problems with parents, problems with other students, problems with relatives, financial problems, problems with academic courses, health problems and problems with academic limitations and course interest) had significant relationship with resilience. The negative events and age could collectively explain variance of resilience at 17.30 percentages.
Conclusion: The findings of this study can be used as basic information to develop a nursing intervention to prevent psychological problems and also enhance resilience of the underprivileged adolescents.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27469 [article] ปัจจัยทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส = Factors predicting resilience in underprivieleged adolescents [printed text] / พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author ; วารีรัตน์ ถาน้อย, Author ; โสภิณ แสงอ่อน, Author ; มาณวิภา พัฒนมาศ, Author ; ช่อทิพย์ อินทรักษา, Author . - 2017 . - p.13-28.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.13-28.Keywords: ความแข็งแกร่งในชีวิต. ความเครียด. เหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ. วัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส.Resilience. Stress. Negative events. Underprivileged adolescents. Abstract:
วัตถุประสงค์: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนที่กำลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แห่งหนึ่งในประเทศไทย จำนวน 224 คน เลือกตัวอย่างโดยใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดความเครียด แบบประเมินความแข็งแกร่งในชีวิตและแบบวัดเหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน
ผลการศึกษา: ผลการศึกษาพบว่า อายุ สถานะทางการเงิน ความเครียด และเหตุการณ์ ที่สร้างความยุ่งยากใจ (ปัญหากับเพื่อน ปัญหากับแฟน ปัญหากับครู/ อาจารย์ ปัญหากับบิดา/ มารดา ปัญหากับนักศึกษาอื่น ปัญหากับญาติ/พี่น้องปัญหาการเงิน ปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการเรียน ปัญหาด้านสุขภาพ และปัญหาด้านข้อจำกัดในการเรียนและความสนใจในวิชาเรียน) มีความสัมพันธ์กับความแข็งแกร่งในชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ และอายุสามารถร่วมกันทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตได้ร้อยละ 17.30 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
สรุป: ผลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาการปฏิบัติการพยาบาลในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตให้แก่วัยรุ่น เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่นด้อยโอกาสต่อไป
Objective: The purpose of this study was to investigate factors predicting resilience in underprivileged adolescents.
Methods: A simple random sampling technique was used to select 224 secondary school students from a school for underprivileged adolescents in Thailand. Data were collected by a set of self-report questionnaires including a demographic questionnaire, the Thai Stress Test, the Resilience Inventory, and the Negative Events Scale. Descriptive statistics, correlation coefficient, and stepwise multiple regression were employed for data analyses.
Results: The results revealed that age, economic status, stress, and negative events (problems with friends, problems with boy/ girlfriend, problems with teachers, problems with parents, problems with other students, problems with relatives, financial problems, problems with academic courses, health problems and problems with academic limitations and course interest) had significant relationship with resilience. The negative events and age could collectively explain variance of resilience at 17.30 percentages.
Conclusion: The findings of this study can be used as basic information to develop a nursing intervention to prevent psychological problems and also enhance resilience of the underprivileged adolescents.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27469 ลยุทธ์การพัฒนาพยาบาลวิชาชีพ ในการจัดการพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง ของผู้ป่วยจิตเวชในโรงพยาบาลเขตสุขภาพที่ 10 / อัครเดช กลิ่นพิบูลย์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ลยุทธ์การพัฒนาพยาบาลวิชาชีพ ในการจัดการพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง ของผู้ป่วยจิตเวชในโรงพยาบาลเขตสุขภาพที่ 10 Original title : The Stretegy to develop registered nurse for nanaging for managing aggressive and violenceEHAVIORS OF PSYCHIATRIC PATIENTS IN HOSPITALS, THE AREA HEALTH 10 Material Type: printed text Authors: อัครเดช กลิ่นพิบูลย์, Author ; ชมพูนุท โมราชาติ, Author ; กชพงศ์ สารการ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.29-40 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.29-40Keywords: การจัดการพฤติกรรมก้าวร้าว. การจัดการพฤติกรรมรุนแรง. กลยุทธ์การพัฒนา.management. aggressive behavior. violent behavior. development strategy. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนาและประเมินกลยุทธ์การพัฒนาพยาบาลวิชาชีพ ในการจัดการพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงของผู้ป่วยจิตเวช ในโรงพยาบาลเขตสุขภาพที่ 10
วิธีการศึกษา: เป็นการวิจัยและพัฒนา 3 ขั้นตอน 1) การพัฒนากลยุทธ์โดยการสนทนา กลุ่มในกลุ่มเป้าหมาย 120 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม 6 ประเด็น 2) ประเมินกลยุทธ์โดยผู้ทรงคุณวุฒิและ 3) ทดลองใช้กลยุทธ์กับกลุ่มตัวอย่าง 30 คน
ผลการศึกษา: 1) กลยุทธ์ฯ มีเป้าประสงค์ 5 ประการ คือ (1) มีความเหมาะสมกับบริบท (2) พยาบาลวิชาชีพมีสมรรถนะในการจัดการกับพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง (3) พยาบาลวิชาชีพพึงพอใจในกลยุทธ์ฯ (4) พยาบาลวิชาชีพมีการเปลี่ยนแปลงใน 4 ด้าน ได้แก่ (4.1) ความรู้เพิ่มขึ้น(4.2) ทัศนคติที่ดีขึ้น (4.3) ความเชื่อมั่นมากขึ้น(4.4) มีทักษะ และ (5) มีการพัฒนาสมรรถนะตามกลยุทธ์ 2) ผลการประเมินกลยุทธ์ฯ ด้านความเหมาะสม การยอมรับได้และความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก 3) ผลการทดลองใช้กลยุทธ์ฯ พบว่าคะแนนความรู้ ทัศนคติ ความเชื่อมั่นหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 การฝึกทักษะผ่านตามเกณฑ์ร้อยละ 100
Objectives: To develop and evaluate the strategy for the registered nurses in managing aggressive and violent behaviors of psychiatric patients in hospitals, the Area health 10.
Methods: The research and development was conducted 3 phase. 1) Developed the strategy data were collected through focus group discussions of 120 target populations. The research tools were in6aspects of focus-group discussions records. 2) Evaluated the developed strategy conducted by 9 experts and 3) by experimentation of the strategy with 30 sampled subjects.
Results: 1) The developed strategy for developing the registered nurses aimed to achieve 5 aspects;(1) being appropriate in particular contexts; (2) the registered nurses gaining capacity in aggressive and violent behavior management of psychiatric patients; (3) the registered nurses being satisfied with the strategy; (4) changes in the registered nurses in 4 aspects; (4.1) knowledge increase (4.2) better attitude (4.3) more confident (4.4) more skillful and (5) capacity being developed as required in the strategy. 2) The suitability of the developed strategy showed its acceptable level whereas the possibility was found to be at a higher level. 3) After developing the nurses through the developed strategy, their mean scores of knowledge, attitude, and confidence were found to be different at .05 level of significance that were higher than before.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27470 [article] ลยุทธ์การพัฒนาพยาบาลวิชาชีพ ในการจัดการพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง ของผู้ป่วยจิตเวชในโรงพยาบาลเขตสุขภาพที่ 10 = The Stretegy to develop registered nurse for nanaging for managing aggressive and violenceEHAVIORS OF PSYCHIATRIC PATIENTS IN HOSPITALS, THE AREA HEALTH 10 [printed text] / อัครเดช กลิ่นพิบูลย์, Author ; ชมพูนุท โมราชาติ, Author ; กชพงศ์ สารการ, Author . - 2017 . - p.29-40.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.29-40Keywords: การจัดการพฤติกรรมก้าวร้าว. การจัดการพฤติกรรมรุนแรง. กลยุทธ์การพัฒนา.management. aggressive behavior. violent behavior. development strategy. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนาและประเมินกลยุทธ์การพัฒนาพยาบาลวิชาชีพ ในการจัดการพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงของผู้ป่วยจิตเวช ในโรงพยาบาลเขตสุขภาพที่ 10
วิธีการศึกษา: เป็นการวิจัยและพัฒนา 3 ขั้นตอน 1) การพัฒนากลยุทธ์โดยการสนทนา กลุ่มในกลุ่มเป้าหมาย 120 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม 6 ประเด็น 2) ประเมินกลยุทธ์โดยผู้ทรงคุณวุฒิและ 3) ทดลองใช้กลยุทธ์กับกลุ่มตัวอย่าง 30 คน
ผลการศึกษา: 1) กลยุทธ์ฯ มีเป้าประสงค์ 5 ประการ คือ (1) มีความเหมาะสมกับบริบท (2) พยาบาลวิชาชีพมีสมรรถนะในการจัดการกับพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง (3) พยาบาลวิชาชีพพึงพอใจในกลยุทธ์ฯ (4) พยาบาลวิชาชีพมีการเปลี่ยนแปลงใน 4 ด้าน ได้แก่ (4.1) ความรู้เพิ่มขึ้น(4.2) ทัศนคติที่ดีขึ้น (4.3) ความเชื่อมั่นมากขึ้น(4.4) มีทักษะ และ (5) มีการพัฒนาสมรรถนะตามกลยุทธ์ 2) ผลการประเมินกลยุทธ์ฯ ด้านความเหมาะสม การยอมรับได้และความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก 3) ผลการทดลองใช้กลยุทธ์ฯ พบว่าคะแนนความรู้ ทัศนคติ ความเชื่อมั่นหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 การฝึกทักษะผ่านตามเกณฑ์ร้อยละ 100
Objectives: To develop and evaluate the strategy for the registered nurses in managing aggressive and violent behaviors of psychiatric patients in hospitals, the Area health 10.
Methods: The research and development was conducted 3 phase. 1) Developed the strategy data were collected through focus group discussions of 120 target populations. The research tools were in6aspects of focus-group discussions records. 2) Evaluated the developed strategy conducted by 9 experts and 3) by experimentation of the strategy with 30 sampled subjects.
Results: 1) The developed strategy for developing the registered nurses aimed to achieve 5 aspects;(1) being appropriate in particular contexts; (2) the registered nurses gaining capacity in aggressive and violent behavior management of psychiatric patients; (3) the registered nurses being satisfied with the strategy; (4) changes in the registered nurses in 4 aspects; (4.1) knowledge increase (4.2) better attitude (4.3) more confident (4.4) more skillful and (5) capacity being developed as required in the strategy. 2) The suitability of the developed strategy showed its acceptable level whereas the possibility was found to be at a higher level. 3) After developing the nurses through the developed strategy, their mean scores of knowledge, attitude, and confidence were found to be different at .05 level of significance that were higher than before.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27470 การศึกษาการปฏิบัติงานด้านจิตเวชและ สุขภาพจิตชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน / ศิริลักษณ์ ช่วยดี in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : การศึกษาการปฏิบัติงานด้านจิตเวชและ สุขภาพจิตชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน : The Study of community psychiatric and mental health practice among villange health volunteers Material Type: printed text Authors: ศิริลักษณ์ ช่วยดี, Author ; โสภิณ แสงอ่อน, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.41-59 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.41-59Keywords: จิตเวชและสุขภาพจิตชุมชน. อาสาสมัคร. สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน.Community psychiatric and mental health. village health volunteer. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการปฏิบัติงานด้านจิตเวชและสุขภาพจิตชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตามปัจจัยคัดสรร ได้แก่ อายุ ระดับ การศึกษา สถานภาพสมรส รายได้ ระยะเวลา ในการปฏิบัติงานตำแหน่ง อสม. ความรู้ของ อสม.เกี่ยวกับโรคจิตเวชและการดูแลผู้ป่วยจิตเวช และทัศนคติของ อสม. ที่มีต่อโรคจิตเวชและการดูแลผู้ป่วยจิตเวช
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างเป็น อสม. ที่ขึ้นทะเบียนและปฏิบัติงานให้กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในอำเภอหนึ่ง ของจังหวัดกาญจนบุรี จำนวน 361 คน เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิตและการดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิต/ ผู้ป่วยจิตเวช แบบวัดทัศนคติของอสม.ต่อผู้มีปัญหาสุขภาพจิต/ ผู้ป่วยจิตเวชและการดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิต/ ผู้ป่วยจิตเวช และแบบสอบถามเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามบทบาทของ อสม. ในงานจิตเวชและสุขภาพจิตชุมชน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และการวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบมี 1 ตัวแปร
ผลการศึกษา: อสม. ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน, ระยะเวลาในการปฏิบัติงานตำแหน่ง อสม. ต่างกัน และระดับความรู้ของ อสม. เกี่ยวกับโรคจิตเวชและการดูแลผู้ป่วยจิตเวชต่างกัน มีค่าเฉลี่ยการปฏิบัติงานด้านจิตเวชและสุขภาพจิตชุมชนแตกต่างกัน ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถใช้เป็นพื้นฐานในการพัฒนาการดำเนินงานด้านจิตเวชและสุขภาพจิตชุมชนของ อสม. รวมถึงพัฒนาโปรแกรมการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานด้านจิตเวชและสุขภาพจิตชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านได้
Objective: To compare mean scores of community psychiatric and mental health practices of village health volunteer according to selected factors which were: age, educational level, marital status and income, duration of working as village health volunteer, knowledge of psychiatric illnesses and psychiatric patients care, and attitude toward psychiatric illnesses and psychiatric patients care.
Methods: The participants consisted of 361 village health volunteers who were registered and have worked for the District Health Promoting Hospital in a district of Kanchanaburi province. The research instruments included Demographic Data Questionnaire, Knowledge of Psychiatric Illnesses and Psychiatric Patients Care Questionnaire, Attitude toward psychiatric Illnesses and Psychiatric Patients Care Questionnaire and Community Mental Health Practices of Village Health Volunteer Questionnaire. The data were analyzed using descriptive statistics and One-way Analysis of Variance.
Results: The results revealed that there are statistically and significantly different in mean scores of community psychiatric and mental health practices of village health volunteer according to educational level, duration of working as village health volunteer and knowledge of psychiatric illnesses and psychiatric patients care. Results from this study would be utilized to improve community psychiatric and mental health practices of village health volunteer as well as to develop program for enhancing the efficiency of community psychiatric and mental health practices of village health volunteer.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27471 [article] การศึกษาการปฏิบัติงานด้านจิตเวชและ สุขภาพจิตชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน : The Study of community psychiatric and mental health practice among villange health volunteers [printed text] / ศิริลักษณ์ ช่วยดี, Author ; โสภิณ แสงอ่อน, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author . - 2017 . - p.41-59.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.41-59Keywords: จิตเวชและสุขภาพจิตชุมชน. อาสาสมัคร. สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน.Community psychiatric and mental health. village health volunteer. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการปฏิบัติงานด้านจิตเวชและสุขภาพจิตชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตามปัจจัยคัดสรร ได้แก่ อายุ ระดับ การศึกษา สถานภาพสมรส รายได้ ระยะเวลา ในการปฏิบัติงานตำแหน่ง อสม. ความรู้ของ อสม.เกี่ยวกับโรคจิตเวชและการดูแลผู้ป่วยจิตเวช และทัศนคติของ อสม. ที่มีต่อโรคจิตเวชและการดูแลผู้ป่วยจิตเวช
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างเป็น อสม. ที่ขึ้นทะเบียนและปฏิบัติงานให้กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในอำเภอหนึ่ง ของจังหวัดกาญจนบุรี จำนวน 361 คน เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิตและการดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิต/ ผู้ป่วยจิตเวช แบบวัดทัศนคติของอสม.ต่อผู้มีปัญหาสุขภาพจิต/ ผู้ป่วยจิตเวชและการดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิต/ ผู้ป่วยจิตเวช และแบบสอบถามเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามบทบาทของ อสม. ในงานจิตเวชและสุขภาพจิตชุมชน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และการวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบมี 1 ตัวแปร
ผลการศึกษา: อสม. ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน, ระยะเวลาในการปฏิบัติงานตำแหน่ง อสม. ต่างกัน และระดับความรู้ของ อสม. เกี่ยวกับโรคจิตเวชและการดูแลผู้ป่วยจิตเวชต่างกัน มีค่าเฉลี่ยการปฏิบัติงานด้านจิตเวชและสุขภาพจิตชุมชนแตกต่างกัน ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถใช้เป็นพื้นฐานในการพัฒนาการดำเนินงานด้านจิตเวชและสุขภาพจิตชุมชนของ อสม. รวมถึงพัฒนาโปรแกรมการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานด้านจิตเวชและสุขภาพจิตชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านได้
Objective: To compare mean scores of community psychiatric and mental health practices of village health volunteer according to selected factors which were: age, educational level, marital status and income, duration of working as village health volunteer, knowledge of psychiatric illnesses and psychiatric patients care, and attitude toward psychiatric illnesses and psychiatric patients care.
Methods: The participants consisted of 361 village health volunteers who were registered and have worked for the District Health Promoting Hospital in a district of Kanchanaburi province. The research instruments included Demographic Data Questionnaire, Knowledge of Psychiatric Illnesses and Psychiatric Patients Care Questionnaire, Attitude toward psychiatric Illnesses and Psychiatric Patients Care Questionnaire and Community Mental Health Practices of Village Health Volunteer Questionnaire. The data were analyzed using descriptive statistics and One-way Analysis of Variance.
Results: The results revealed that there are statistically and significantly different in mean scores of community psychiatric and mental health practices of village health volunteer according to educational level, duration of working as village health volunteer and knowledge of psychiatric illnesses and psychiatric patients care. Results from this study would be utilized to improve community psychiatric and mental health practices of village health volunteer as well as to develop program for enhancing the efficiency of community psychiatric and mental health practices of village health volunteer.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27471 ผลของโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า / ธวัชชัย พละศักดิ์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า Original title : The effect of the problem solving therapy program on depression of patients with major depressivedioo Material Type: printed text Authors: ธวัชชัย พละศักดิ์, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author ; รัชนีกร อุปเสน, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.60-74 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.60-74Keywords: การบำบัดโดยการแก้ปัญหา. ภาวะซึมเศร้า. โรคซึมเศร้า.roblem solving therapy. Depression. Major Depressive Disorder. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าก่อนและหลังการได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา และเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหากับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่มารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ จำนวน 40 คน จับคู่ตามลักษณะที่คล้ายกัน ได้แก่ เพศ รายได้ และระดับภาวะซึมเศร้า แล้วสุ่มแยกเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) โปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา 2) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 3)แบบประเมินภาวะซึมเศร้า 4) แบบสำรวจการแก้ปัญหา ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ค่าความเที่ยงของแบบประเมินภาวะซึมเศร้า และแบบสำรวจการแก้ปัญหา เท่ากับ .75 และ .78 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที (t-test)
ผลการศึกษา:
1. ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา น้อยกว่าผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่ได้รับการพยาบาลปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
สรุป: โปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาสามารถทำให้ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าลดลงได้ในผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้าน้อยและปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
Objective: The purpose of this experimental research were to compare depression of patient with major depressive disorder before and after receiving the problem solving therapy program; and to compare depression between the patients who received the problem solving therapy program and who received the routine nursing care.
Methods: A sample of 40 patients with major depressive disorder was received treatment at the out patients of Prasrimahabhodi Psychiatric Hospital. Matched pair characteristics of gender personal and levels of depression income were randomly assigned into the experimental and the control group. The research instruments were 1) Problem Solving Therapy Program 2) Personal data questionnaire 3) Beck Depression Inventory 4) Problem Solving Inventory. These instruments were tested for content validity by five professional experts. The reliability of Beck Depression Inventory and Problem Solving Inventoy was .75 and .78. Data were analyzed by using mean, standard deviation and t - test.
Results:
1. Depression of the patients with major depressive disorder after receive the problem solving therapy program was statistically significantly less than before at the level of .05.
2. Depression of the patients with major depressive disorder after receive the problem solving therapy program was statistically significantly less than those who received routine nursing care at the level of .05.
Conclusion: Problem Solving Therapy Program can reduce level of depression in patients with mild and moderate major depressive disorder.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27472 [article] ผลของโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า = The effect of the problem solving therapy program on depression of patients with major depressivedioo [printed text] / ธวัชชัย พละศักดิ์, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author ; รัชนีกร อุปเสน, Author . - 2017 . - p.60-74.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.60-74Keywords: การบำบัดโดยการแก้ปัญหา. ภาวะซึมเศร้า. โรคซึมเศร้า.roblem solving therapy. Depression. Major Depressive Disorder. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าก่อนและหลังการได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา และเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหากับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่มารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ จำนวน 40 คน จับคู่ตามลักษณะที่คล้ายกัน ได้แก่ เพศ รายได้ และระดับภาวะซึมเศร้า แล้วสุ่มแยกเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) โปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา 2) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 3)แบบประเมินภาวะซึมเศร้า 4) แบบสำรวจการแก้ปัญหา ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ค่าความเที่ยงของแบบประเมินภาวะซึมเศร้า และแบบสำรวจการแก้ปัญหา เท่ากับ .75 และ .78 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที (t-test)
ผลการศึกษา:
1. ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา น้อยกว่าผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่ได้รับการพยาบาลปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
สรุป: โปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาสามารถทำให้ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าลดลงได้ในผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้าน้อยและปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
Objective: The purpose of this experimental research were to compare depression of patient with major depressive disorder before and after receiving the problem solving therapy program; and to compare depression between the patients who received the problem solving therapy program and who received the routine nursing care.
Methods: A sample of 40 patients with major depressive disorder was received treatment at the out patients of Prasrimahabhodi Psychiatric Hospital. Matched pair characteristics of gender personal and levels of depression income were randomly assigned into the experimental and the control group. The research instruments were 1) Problem Solving Therapy Program 2) Personal data questionnaire 3) Beck Depression Inventory 4) Problem Solving Inventory. These instruments were tested for content validity by five professional experts. The reliability of Beck Depression Inventory and Problem Solving Inventoy was .75 and .78. Data were analyzed by using mean, standard deviation and t - test.
Results:
1. Depression of the patients with major depressive disorder after receive the problem solving therapy program was statistically significantly less than before at the level of .05.
2. Depression of the patients with major depressive disorder after receive the problem solving therapy program was statistically significantly less than those who received routine nursing care at the level of .05.
Conclusion: Problem Solving Therapy Program can reduce level of depression in patients with mild and moderate major depressive disorder.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27472 ผลของโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพต่อพฤติกรรม ความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภท / ชุติมา ทองอยู่ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพต่อพฤติกรรม ความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภท Original title : The effect of health belief enhancement program on medication compliance behavior of schizophrenic patients Material Type: printed text Authors: ชุติมา ทองอยู่, Author ; เพ็ญนภา แดงด้อมยุทธ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.75-87 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.75-87Keywords: โปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพ. พฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยา. ผู้ป่วยจิตเภท.Health Belief Enhancement Program. Medication Compliance Behavior. Schizophrenic Patients. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภท
วิธีการวิจัย: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยจิตเภทที่มีพฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาระดับต่ำถึงปานกลางและเข้ารับการรักษาแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลจิตเวช จำนวน 36 คน ได้รับการจับคู่ โดยใช้ระดับคะแนนอาการทางจิตและเพศ สุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 18 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพ และ 2) แบบประเมินพฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยา เครื่องมือทุกชุดผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน เครื่องมือชุดที่ 2 มีค่าความเที่ยงของครอนบาคอัลฟา เท่ากับ .80 วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละและสถิติทดสอบที
ผลการวิจัย: 1) พฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภทภายหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมส่งเสริมเชื่อด้านสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) พฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภทกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
สรุป: โปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพช่วยให้ผู้ป่วยได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจอย่างถูกต้องด้วยตัวผู้ป่วยเองและความเชื่อที่เป็นสิ่งจูงใจอย่างหนึ่งที่ก่อให้เกิดการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพที่ดีช่วยพัฒนาสู่ความร่วมมือในการรักษาด้วยยาได้Objective: To examine the effect of Health Belief Enhancement Program on medication compliance behavior of schizophrenic patients.
Methods: This study was a quasiexperimental research. The sample composed of 36 schizophrenic patients who had lower to moderate score of medication compliance behavior and followed up in outpatient department at Psychiatric Hospital. They were matched pair by score of Brief Psychiatric Rating Scale and gender then randomly assigned to experimental groups and control groups with 18 subjects in each group. The experimental group received Health Belief Enhancement Program. The control group received regular nursing care activities. The research instruments were:1) Health Belief Enhancement Program, and 2) the Compliance Behavior Assessment Scale. All instruments were examined for content validity by 5 professional experts. The 2nd instrument had Chronbach’s Alpha coefficient reliability of .80. Data were analyzed using descriptive statistics and t-test.
Results: 1) The medication compliance behavior of schizophrenic patients after received Health Belief Enhancement Program was significantly higher than before at .05 level.
2) The medication compliance behavior of schizophrenic patients who received Health Belief Enhancement Program was significantly higher than those who received regular nursing care activities at .05 level.
Conclusion: Health Belief Enhancement Program can help patients make informed decisions about their own health which beliefs as a stimulus for good health behaviors and develop to medication compliance behavior.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27473 [article] ผลของโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพต่อพฤติกรรม ความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภท = The effect of health belief enhancement program on medication compliance behavior of schizophrenic patients [printed text] / ชุติมา ทองอยู่, Author ; เพ็ญนภา แดงด้อมยุทธ์, Author . - 2017 . - p.75-87.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.75-87Keywords: โปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพ. พฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยา. ผู้ป่วยจิตเภท.Health Belief Enhancement Program. Medication Compliance Behavior. Schizophrenic Patients. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภท
วิธีการวิจัย: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยจิตเภทที่มีพฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาระดับต่ำถึงปานกลางและเข้ารับการรักษาแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลจิตเวช จำนวน 36 คน ได้รับการจับคู่ โดยใช้ระดับคะแนนอาการทางจิตและเพศ สุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 18 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพ และ 2) แบบประเมินพฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยา เครื่องมือทุกชุดผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน เครื่องมือชุดที่ 2 มีค่าความเที่ยงของครอนบาคอัลฟา เท่ากับ .80 วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละและสถิติทดสอบที
ผลการวิจัย: 1) พฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภทภายหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมส่งเสริมเชื่อด้านสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) พฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภทกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
สรุป: โปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพช่วยให้ผู้ป่วยได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจอย่างถูกต้องด้วยตัวผู้ป่วยเองและความเชื่อที่เป็นสิ่งจูงใจอย่างหนึ่งที่ก่อให้เกิดการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพที่ดีช่วยพัฒนาสู่ความร่วมมือในการรักษาด้วยยาได้Objective: To examine the effect of Health Belief Enhancement Program on medication compliance behavior of schizophrenic patients.
Methods: This study was a quasiexperimental research. The sample composed of 36 schizophrenic patients who had lower to moderate score of medication compliance behavior and followed up in outpatient department at Psychiatric Hospital. They were matched pair by score of Brief Psychiatric Rating Scale and gender then randomly assigned to experimental groups and control groups with 18 subjects in each group. The experimental group received Health Belief Enhancement Program. The control group received regular nursing care activities. The research instruments were:1) Health Belief Enhancement Program, and 2) the Compliance Behavior Assessment Scale. All instruments were examined for content validity by 5 professional experts. The 2nd instrument had Chronbach’s Alpha coefficient reliability of .80. Data were analyzed using descriptive statistics and t-test.
Results: 1) The medication compliance behavior of schizophrenic patients after received Health Belief Enhancement Program was significantly higher than before at .05 level.
2) The medication compliance behavior of schizophrenic patients who received Health Belief Enhancement Program was significantly higher than those who received regular nursing care activities at .05 level.
Conclusion: Health Belief Enhancement Program can help patients make informed decisions about their own health which beliefs as a stimulus for good health behaviors and develop to medication compliance behavior.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27473 ผลของกลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมต่อการบริโภคแอลกอฮอล์ ของผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์ / พุฒิชาดา จันทะคุณ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ผลของกลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมต่อการบริโภคแอลกอฮอล์ ของผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์ : The effect of group behavioral intervention on alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse HOL ABUSE Material Type: printed text Authors: พุฒิชาดา จันทะคุณ, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.88-103 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.88-103Keywords: การบริโภคแอลกอฮอล์. การบำบัดทาง. พฤติกรรมผู้ป่วยจิตเภท. ผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์.Alcohol consumption. Behavioral intervention. Schizophrenic Patients.Schizophrenic Patients with alcohol abuse. Abstract: Objectives: The purpose of this quasi –experimental research using the pretest – posttest
randomized control group design were: 1) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse before and after received the group behavioral intervention, and 2) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse who received the group behavioral intervention and those who received regular caring activities.
Methods: The sample composed of 40 schizophrenic patients with alcohol abuse, residing in community, who sought for services at outpatient department of one psychiatric hospital. They were matched pairs according to alcohol consumption scores and length of diagnosis with schizophrenia and then randomly assigned into either experimental or control group, 20 subjects in each group. The experimental group received the group behavioral intervention program developed by the researcher. The control group received regular caring activities. The research instruments consisted of: 1) the group behavioral intervention program, 2) Demographic questionnaire, 3) the AUDIT scale, and 4) The coping scale. All instruments were validated for content validity by 5 professional experts. The reliability of the 3rd and 4th instruments were reported by Chronbach Alpha as of 0.82 and 0.86 respectively. The t-test was use in data analysis.
Results:
1. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral intervention was lower than that before (t= 33.818, p < .05).
2. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral treatment was lower than those who received the regular caring activities
(t =-7.185, p < .05).Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27474 [article] ผลของกลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมต่อการบริโภคแอลกอฮอล์ ของผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์ : The effect of group behavioral intervention on alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse HOL ABUSE [printed text] / พุฒิชาดา จันทะคุณ, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author . - 2017 . - p.88-103.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.88-103Keywords: การบริโภคแอลกอฮอล์. การบำบัดทาง. พฤติกรรมผู้ป่วยจิตเภท. ผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์.Alcohol consumption. Behavioral intervention. Schizophrenic Patients.Schizophrenic Patients with alcohol abuse. Abstract: Objectives: The purpose of this quasi –experimental research using the pretest – posttest
randomized control group design were: 1) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse before and after received the group behavioral intervention, and 2) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse who received the group behavioral intervention and those who received regular caring activities.
Methods: The sample composed of 40 schizophrenic patients with alcohol abuse, residing in community, who sought for services at outpatient department of one psychiatric hospital. They were matched pairs according to alcohol consumption scores and length of diagnosis with schizophrenia and then randomly assigned into either experimental or control group, 20 subjects in each group. The experimental group received the group behavioral intervention program developed by the researcher. The control group received regular caring activities. The research instruments consisted of: 1) the group behavioral intervention program, 2) Demographic questionnaire, 3) the AUDIT scale, and 4) The coping scale. All instruments were validated for content validity by 5 professional experts. The reliability of the 3rd and 4th instruments were reported by Chronbach Alpha as of 0.82 and 0.86 respectively. The t-test was use in data analysis.
Results:
1. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral intervention was lower than that before (t= 33.818, p < .05).
2. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral treatment was lower than those who received the regular caring activities
(t =-7.185, p < .05).Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27474 ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มต่อพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้า / พิสิฐ รุ่งโรจน์วัฒนศิริ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มต่อพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้า Original title : The effect of group social support program on medication adherence of elderly patients with major depressive disorder WITH MAJOR DEPRESSIVE DISORDER Material Type: printed text Authors: พิสิฐ รุ่งโรจน์วัฒนศิริ, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author ; รัชนีกร อุปเสน, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.119-132. Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.119-132.Keywords: ผู้ป่วยสูงอายุ. โรคซึมเศร้า. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษา. การสนับสนุนทางสังคม.Elderly patient. Major depressive disorder. Medication adherence. Social support. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้าที่ได้รับการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่ม
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอายุ 60 ปีขึ้นไป แผนกผู้ป่วยนอกจำนวน 40 คน ได้รับการจับคู่แล้วสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 20 คน ผู้วิจัยพัฒนาเนื้อหาการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มจากแนวคิดการสนับสนุนทางสังคมของ House (1981) โดยมีองค์ประกอบ 4 ด้านได้แก่ 1) การสนับสนุนด้านอารมณ์ 2) การสนับสนุนด้านการประเมินค่า 3) การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร และ 4) การสนับสนุนด้านทรัพยากรในการพัฒนาเนื้อหา/สาระของแต่ละกิจกรรมและกระบวนการดำเนินกลุ่มของMarram (1978) เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย 3) แบบประเมินพฤติกรรมการรับประทานยาและ 4) แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคมวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติที
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าหลังได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. หลังการทดลองพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้ากลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27475 [article] ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มต่อพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้า = The effect of group social support program on medication adherence of elderly patients with major depressive disorder WITH MAJOR DEPRESSIVE DISORDER [printed text] / พิสิฐ รุ่งโรจน์วัฒนศิริ, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author ; รัชนีกร อุปเสน, Author . - 2017 . - p.119-132.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.119-132.Keywords: ผู้ป่วยสูงอายุ. โรคซึมเศร้า. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษา. การสนับสนุนทางสังคม.Elderly patient. Major depressive disorder. Medication adherence. Social support. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้าที่ได้รับการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่ม
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอายุ 60 ปีขึ้นไป แผนกผู้ป่วยนอกจำนวน 40 คน ได้รับการจับคู่แล้วสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 20 คน ผู้วิจัยพัฒนาเนื้อหาการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มจากแนวคิดการสนับสนุนทางสังคมของ House (1981) โดยมีองค์ประกอบ 4 ด้านได้แก่ 1) การสนับสนุนด้านอารมณ์ 2) การสนับสนุนด้านการประเมินค่า 3) การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร และ 4) การสนับสนุนด้านทรัพยากรในการพัฒนาเนื้อหา/สาระของแต่ละกิจกรรมและกระบวนการดำเนินกลุ่มของMarram (1978) เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย 3) แบบประเมินพฤติกรรมการรับประทานยาและ 4) แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคมวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติที
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าหลังได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. หลังการทดลองพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้ากลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27475 ผลของโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสานต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชน / โสภา ตั้งทีฆกูล in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสานต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชน Original title : The effect of integrated perceived stressful life event management program on depression of depressive disorder patients in community Material Type: printed text Authors: โสภา ตั้งทีฆกูล, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.133-147 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.133-147Keywords: การรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิต ภาวะซึมเศร้า โรคซึมเศร้า.Perceived stressful life event. Depression. Depressive disorder. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน ต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชน
วิธีดำเนินการ: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอายุ 20-59 ปี ซึ่งเข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยนอกที่คลินิกจิตเวช โรงพยาบาลชุมชน จำนวน 40 คน ได้รับการจับคู่ให้มีคุณลักษณะที่ใกล้เคียงกันในเรื่อง อายุ เพศ และคะแนนภาวะซึมเศร้า จากนั้นได้รับการสุ่มเข้าเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) โปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน 2) แบบสอบถามเหตุการณ์เครียดในชีวิต และ 3) แบบประเมินภาวะซึมเศร้า ซึ่งโปรแกรมฯ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน เครื่องมือแบบสอบถามเหตุการณ์เครียดในชีวิต และแบบประเมินภาวะซึมเศร้า มีค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ .91 และ .82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติที
ผลการศึกษา: 1) ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า หลังได้รับโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน มีระดับภาวะซึมเศร้าต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 29.442, p < .05) 2) ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ มีระดับภาวะซึมเศร้าต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 12.668, p <.05).
Objective: The purpose of this quasiexperimental pretest-posttest with control group research design was to determine the effect of the integrated perceived stressful life event management program on depression of depressive disorder patients in the community.
Method: The subjects were 40 patients diagnosed with depressive disorder, aged of 20-59 years, at the psychiatric clinic, out-patient department of a community hospital. They were matched pairs by sex, similar age and depression scores and then randomly assigned into the experimental and control groups, 20 subjects in each group. The experimental group received the integrated perceived stressful life event management program whereas the control group received routine nursing care. Research instruments consisted of the integrated perceived stressful life event management program, life stress event questionnaire and the Thai Hamilton Rating Scale for Depression. The integrated perceived stressful life event management program was validated for content validity by 5 professional experts. Reliability of the life stress event and the Thai Hamilton Rating Scale for Depression were reported by Cronbach,s Alpha coefficient as of .91 and .82, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics, dependent and independent t-tests.
Results:1) The depression of patients with depressive disorder in the community after receiving the integrated perceived stressful life event management program was significantly lower than that before (t = 29.442, p < .05) 2) The depression of depressive disorder patients in the community after received integrated perceived stressful life event management program was significantly lower than that of those who receiving routine nursing care (t = 12.668, p < .05).Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27476 [article] ผลของโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสานต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชน = The effect of integrated perceived stressful life event management program on depression of depressive disorder patients in community [printed text] / โสภา ตั้งทีฆกูล, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author . - 2017 . - p.133-147.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.133-147Keywords: การรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิต ภาวะซึมเศร้า โรคซึมเศร้า.Perceived stressful life event. Depression. Depressive disorder. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน ต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชน
วิธีดำเนินการ: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอายุ 20-59 ปี ซึ่งเข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยนอกที่คลินิกจิตเวช โรงพยาบาลชุมชน จำนวน 40 คน ได้รับการจับคู่ให้มีคุณลักษณะที่ใกล้เคียงกันในเรื่อง อายุ เพศ และคะแนนภาวะซึมเศร้า จากนั้นได้รับการสุ่มเข้าเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) โปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน 2) แบบสอบถามเหตุการณ์เครียดในชีวิต และ 3) แบบประเมินภาวะซึมเศร้า ซึ่งโปรแกรมฯ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน เครื่องมือแบบสอบถามเหตุการณ์เครียดในชีวิต และแบบประเมินภาวะซึมเศร้า มีค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ .91 และ .82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติที
ผลการศึกษา: 1) ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า หลังได้รับโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน มีระดับภาวะซึมเศร้าต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 29.442, p < .05) 2) ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ มีระดับภาวะซึมเศร้าต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 12.668, p <.05).
Objective: The purpose of this quasiexperimental pretest-posttest with control group research design was to determine the effect of the integrated perceived stressful life event management program on depression of depressive disorder patients in the community.
Method: The subjects were 40 patients diagnosed with depressive disorder, aged of 20-59 years, at the psychiatric clinic, out-patient department of a community hospital. They were matched pairs by sex, similar age and depression scores and then randomly assigned into the experimental and control groups, 20 subjects in each group. The experimental group received the integrated perceived stressful life event management program whereas the control group received routine nursing care. Research instruments consisted of the integrated perceived stressful life event management program, life stress event questionnaire and the Thai Hamilton Rating Scale for Depression. The integrated perceived stressful life event management program was validated for content validity by 5 professional experts. Reliability of the life stress event and the Thai Hamilton Rating Scale for Depression were reported by Cronbach,s Alpha coefficient as of .91 and .82, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics, dependent and independent t-tests.
Results:1) The depression of patients with depressive disorder in the community after receiving the integrated perceived stressful life event management program was significantly lower than that before (t = 29.442, p < .05) 2) The depression of depressive disorder patients in the community after received integrated perceived stressful life event management program was significantly lower than that of those who receiving routine nursing care (t = 12.668, p < .05).Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27476