From this page you can:
Home |
วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต / สมาคมพยาบาลจิตเวชแห่งประเทศไทย . Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016Published date : 10/17/2017 |
Available articles
Add the result to your basketการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชน / วริยา จันทร์ขำ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 ([10/17/2017])
[article]
Title : การพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชน : บทบาทพยาบาลจิตเวช Original title : The development of psychiatric and mental health care systme in the community roles of psychaitric nurses Material Type: printed text Authors: วริยา จันทร์ขำ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.1-9 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.1-9Keywords: Psychiatric and mental health care syste. Community. Psychiatric nurses. ระบบการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวช. ชุมชน. พยาบาลจิตเวช. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อนำเสนอแนวคิด หลักการ และหลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฏิบัติการพยาบาลจิตเวชในการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตในชุมชน เนื้อหาประกอบด้วยพื้นฐานความรู้ความเชี่ยวชาญทางสุขภาพจิตและจิตเวช การประเมินคัดกรองการเจ็บป่วยทางจิต การส่งเสริมสุขภาพ การบำบัดฟื้นฟูสุขภาพจิต ความเข้าใจในนโยบายกรมสุขภาพจิตด้านการดูแลผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช และการจัดการสุขภาพตามลักษณะเฉพาะของพื้นที่ โดยใช้สมรรถนะที่มีของพยาบาลจิตเวชในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชน ในการจัดการข้อมูล สร้างทีม พัฒนาคน สร้างเครือข่ายในการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชนและดำเนินการประเมินผลเพื่อให้ชุมชนสามารถดูแลผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตในชุมชนได้ มีกระบวนการให้ผู้เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่ด้านสุขภาพ สามารถให้การดูแลผู้ป่วยจิตเวชได้ตามศักยภาพ ครอบครัวและผู้ป่วยจิตเวชสามารถดูแลตนเองได้ นอกจากนี้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ให้การสนับสนุนด้านทรัพยากรและงบประมาณในการพัฒนาระบบการพยาบาลสุขภาพจิตชุมชน
สรุป: ผู้ป่วยจิตเวชสามารถอยู่ในชุมชนได้ยาวนานขึ้น ลดการกลับเป็นซ้ำของผู้ป่วยจิตเวช ลดภาระการดูแลของครอบครัว รวมทั้งผู้ป่วยครอบครัวและชุมชน จะมีความผาสุกมากขึ้น
Abstract
Objectives: To present the concepts, principles, and evidence based nursing practice
in developing psychiatric and mental health care system. Content included basic knowledge of psychiatric nursing, mental health assessment, health promotion, mental health rehabilitation, understanding the system of health policies of Department of Mental Health and health management in the specific characteristics of the area by using the performance of psychiatric nurses to manage the data, team works, develop social network in community, and evaluation so that the community can take care of people with mental health problems in the community. The networking systems for the relevant personnel and health care personnel are in place to facilitate the provision of mental health care in order that families and psychiatric patients can take care of themselves. Moreover, the local administrative organizations and stakeholders provide relevant resources and budget for the development of community mental health nursing system.
Conclusion: The psychiatric patients can stay longer in their community.The relapse rate and the burden of family care can be reduced, and well-being of individuals, families and
communities also will be increased.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27365 [article] การพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชน = The development of psychiatric and mental health care systme in the community roles of psychaitric nurses : บทบาทพยาบาลจิตเวช [printed text] / วริยา จันทร์ขำ, Author . - 2017 . - p.1-9.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.1-9Keywords: Psychiatric and mental health care syste. Community. Psychiatric nurses. ระบบการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวช. ชุมชน. พยาบาลจิตเวช. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อนำเสนอแนวคิด หลักการ และหลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฏิบัติการพยาบาลจิตเวชในการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตในชุมชน เนื้อหาประกอบด้วยพื้นฐานความรู้ความเชี่ยวชาญทางสุขภาพจิตและจิตเวช การประเมินคัดกรองการเจ็บป่วยทางจิต การส่งเสริมสุขภาพ การบำบัดฟื้นฟูสุขภาพจิต ความเข้าใจในนโยบายกรมสุขภาพจิตด้านการดูแลผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช และการจัดการสุขภาพตามลักษณะเฉพาะของพื้นที่ โดยใช้สมรรถนะที่มีของพยาบาลจิตเวชในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชน ในการจัดการข้อมูล สร้างทีม พัฒนาคน สร้างเครือข่ายในการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชนและดำเนินการประเมินผลเพื่อให้ชุมชนสามารถดูแลผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตในชุมชนได้ มีกระบวนการให้ผู้เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่ด้านสุขภาพ สามารถให้การดูแลผู้ป่วยจิตเวชได้ตามศักยภาพ ครอบครัวและผู้ป่วยจิตเวชสามารถดูแลตนเองได้ นอกจากนี้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ให้การสนับสนุนด้านทรัพยากรและงบประมาณในการพัฒนาระบบการพยาบาลสุขภาพจิตชุมชน
สรุป: ผู้ป่วยจิตเวชสามารถอยู่ในชุมชนได้ยาวนานขึ้น ลดการกลับเป็นซ้ำของผู้ป่วยจิตเวช ลดภาระการดูแลของครอบครัว รวมทั้งผู้ป่วยครอบครัวและชุมชน จะมีความผาสุกมากขึ้น
Abstract
Objectives: To present the concepts, principles, and evidence based nursing practice
in developing psychiatric and mental health care system. Content included basic knowledge of psychiatric nursing, mental health assessment, health promotion, mental health rehabilitation, understanding the system of health policies of Department of Mental Health and health management in the specific characteristics of the area by using the performance of psychiatric nurses to manage the data, team works, develop social network in community, and evaluation so that the community can take care of people with mental health problems in the community. The networking systems for the relevant personnel and health care personnel are in place to facilitate the provision of mental health care in order that families and psychiatric patients can take care of themselves. Moreover, the local administrative organizations and stakeholders provide relevant resources and budget for the development of community mental health nursing system.
Conclusion: The psychiatric patients can stay longer in their community.The relapse rate and the burden of family care can be reduced, and well-being of individuals, families and
communities also will be increased.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27365 เครื่องมือการคัดกรองความรุนแรงในครอบครัวต่อสตรีตั้งครรภ์ / ณัฐพัชร์ บัวบุญ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 ([10/17/2017])
[article]
Title : เครื่องมือการคัดกรองความรุนแรงในครอบครัวต่อสตรีตั้งครรภ์ Original title : Domestic violence against pregnant women screening tools Material Type: printed text Authors: ณัฐพัชร์ บัวบุญ, Author ; จีราภรณ์ กรรมบุตร, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.10-20 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.10-20Keywords: Violence screening tool. Domestic violence. Pregnant women. เครื่องมือการคัดกรองความรุนแรง. ความรุนแรงในครอบครัว. สตรีตั้งครรภ์. Abstract: ความรุนแรงในครอบครัวเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมพบได้ทุกเชื้อชาติ ชนชั้น เศรษฐานะ ระดับการศึกษาและภาวะสุขภาพ ความรุนแรงในครอบครัวที่เกิดกับสตรีตั้งครรภ์ก่อให้เกิดการบาดเจ็บทางร่างกายและความทุกข์ทรมานทางจิตใจทั้งต่อสตรีที่ตั้งครรภ์และบุตรในครรภ์ การคัดกรองความรุนแรงในครอบครัวและให้การช่วยเหลืออย่างทันท่วงทีจะคงไว้ซึ่งสุขภาวะทางร่างกายและจิตใจของสตรีตั้งครรภ์และบุตรในครรภ์ พยาบาลเป็นบุคลากรทางสุขภาพด่านแรกที่จะต้องประเมินสภาพสตรีตั้งครรภ์ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวม วิเคราะห์ และนำเสนอเครื่องมือคัดกรองความรุนแรงในครอบครัวที่เกิดกับสตรีตั้งครรภ์ เพื่อให้พยาบาลสามารถเลือกใช้เครื่องมือประเมินความรุนแรงในครอบครัวได้อย่างเหมาะสม เพื่อค้นหาและช่วยเหลือสตรีตั้งครรภ์ที่ตกเป็นเหยื่อของภัยคุกคามในครอบครัว.
Abstract
Domestic violence is a phenomenon that occurs in all races, social classes,socioeconomic status, education level, and health status. Domestic violence against women causes physical injury and mental suffering to both pregnant women and the unborn infants. Screening for domestic violence and providing assistance in a timely manner will maintain physical and mental health wellbeing of pregnant women and the unborn infants. Nurses are the first person to assess patients for violent screening. This article aims to gather, analyze, and present the screening tools for domestic violence against pregnant women, so nurses can select the assessment tools of domestic violence appropriately in order to investigate and rescue pregnant women who were victims of threats from their families.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27366 [article] เครื่องมือการคัดกรองความรุนแรงในครอบครัวต่อสตรีตั้งครรภ์ = Domestic violence against pregnant women screening tools [printed text] / ณัฐพัชร์ บัวบุญ, Author ; จีราภรณ์ กรรมบุตร, Author . - 2017 . - p.10-20.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.10-20Keywords: Violence screening tool. Domestic violence. Pregnant women. เครื่องมือการคัดกรองความรุนแรง. ความรุนแรงในครอบครัว. สตรีตั้งครรภ์. Abstract: ความรุนแรงในครอบครัวเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมพบได้ทุกเชื้อชาติ ชนชั้น เศรษฐานะ ระดับการศึกษาและภาวะสุขภาพ ความรุนแรงในครอบครัวที่เกิดกับสตรีตั้งครรภ์ก่อให้เกิดการบาดเจ็บทางร่างกายและความทุกข์ทรมานทางจิตใจทั้งต่อสตรีที่ตั้งครรภ์และบุตรในครรภ์ การคัดกรองความรุนแรงในครอบครัวและให้การช่วยเหลืออย่างทันท่วงทีจะคงไว้ซึ่งสุขภาวะทางร่างกายและจิตใจของสตรีตั้งครรภ์และบุตรในครรภ์ พยาบาลเป็นบุคลากรทางสุขภาพด่านแรกที่จะต้องประเมินสภาพสตรีตั้งครรภ์ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวม วิเคราะห์ และนำเสนอเครื่องมือคัดกรองความรุนแรงในครอบครัวที่เกิดกับสตรีตั้งครรภ์ เพื่อให้พยาบาลสามารถเลือกใช้เครื่องมือประเมินความรุนแรงในครอบครัวได้อย่างเหมาะสม เพื่อค้นหาและช่วยเหลือสตรีตั้งครรภ์ที่ตกเป็นเหยื่อของภัยคุกคามในครอบครัว.
Abstract
Domestic violence is a phenomenon that occurs in all races, social classes,socioeconomic status, education level, and health status. Domestic violence against women causes physical injury and mental suffering to both pregnant women and the unborn infants. Screening for domestic violence and providing assistance in a timely manner will maintain physical and mental health wellbeing of pregnant women and the unborn infants. Nurses are the first person to assess patients for violent screening. This article aims to gather, analyze, and present the screening tools for domestic violence against pregnant women, so nurses can select the assessment tools of domestic violence appropriately in order to investigate and rescue pregnant women who were victims of threats from their families.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27366 ผลของโปรแกรมกลุ่มสุขภาพจิตศึกษาโดยใช้ซาเทียร์โมเดลเป็นฐาน / อรนลิน สิงขรณ์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 ([10/17/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมกลุ่มสุขภาพจิตศึกษาโดยใช้ซาเทียร์โมเดลเป็นฐาน : ต่ออาการซึมเศร้าในผู้หญิงไทยโรคซึมเศร้า Material Type: printed text Authors: อรนลิน สิงขรณ์, Author ; อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์, Author ; วิภากรณ์ ปัญญาดี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.21-35 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.21-35Keywords: Psycho-educatio., Satir’s Model. Women. Major Depressive Disorders. โปรแกรมกลุ่มสุขภาพจิตศึกษา. ซาเทียร์โมเดล. ผู้หญิง. โรคซึมเศร้า. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมกลุ่มสุขภาพจิตศึกษาโดยใช้ซาเทียร์โมเดลเป็นฐานต่ออาการซึมเศร้าในผู้หญิงไทยโรคซึมเศร้าระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมกลุ่มสุขภาพจิตศึกษาโดยใช้ซาเทียร์โมเดลเป็นฐาน และกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติหลังสิ้นสุดโปรแกรมทันที และหลังการทดลอง 2 สัปดาห์
วิธีการศึกษา: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยหญิงไทยที่มารับบริการ ณ คลินิกจิตเวช โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ จำนวน 24 ราย สุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่มทดลอง 11 ราย มีอายุเฉลี่ย 46.9 (SD = 9.2) ปี ได้รับโปรแกรมกลุ่มสุขภาพจิตศึกษาโดยใช้ซาเทียร์โมเดลเป็นฐาน จำนวน 6 ครั้ง (1 ครั้งต่อสัปดาห์) และกลุ่มควบคุม 13 ราย มีอายุเฉลี่ย 42.5 (SD = 7.2) ปี ได้รับการดูแลตามปกติของหน่วยงาน ผู้วิจัยรวบรวมข้อมูลระดับอาการซึมเศร้า ระหว่าง 13 ถึง 29 คะแนน ตามเกณฑ์การเลือกตัวอย่างเข้าศึกษา โดยใช้แบบประเมินอาการซึมเศร้า (The Hamilton Rating Scale for depression / HAM-D) และใช้เป็นข้อมูลระดับอาการซึมเศร้าระยะก่อนได้รับโปรแกรม(Pre-test) หลังเสร็จสิ้นโปรแกรมทันที (Post-test 1)และหลังการทดลอง 2 สัปดาห์ (Post-test 2) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ 1 ปัจจัย
ผลการศึกษา: อาการซึมเศร้าในผู้หญิงไทยโรคซึมเศร้าระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมกลุ่มสุขภาพจิตศึกษาโดยใช้ซาเทียร์โมเดลเป็นฐานและกลุ่มที่ได้รับการให้การดูแลตามปกติแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (F1, 22 = 12.786, p = .002) โดยกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมกลุ่มสุขภาพจิตศึกษาโดยใช้ซาเทียร์โมเดลเป็นฐานมีค่าเฉลี่ยอาการซึมเศร้า
น้อยกว่ากลุ่มควบคุม และระดับอาการซึมเศร้าในผู้หญิงไทยโรคซึมเศร้าในช่วงเวลาหลังเสร็จสิ้นโปรแกรมทันที (Post-test 1) และหลังการทดลอง 2 สัปดาห์ (Post-test 2) แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (F 1, 22 = 13.801, p = .001) โดยระดับอาการซึมเศร้าหลังเสร็จสิ้นโปรแกรมทันที สูงกว่าหลังการทดลอง 2 สัปดาห์ ส่วนปฏิสัมพันธ์ระหว่างโปรแกรมกลุ่มสุขภาพจิตศึกษาโดยใช้ซาเทียร์โมเดลเป็นฐานกับช่วงเวลาที่วัดต่อระดับอาการซึมเศร้าไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P > .05)
สรุปผลการศึกษา: โปรแกรมกลุ่มสุขภาพจิตศึกษาโดยใช้ซาเทียร์โมเดลเป็นฐานมีผลต่อการลดอาการซึมเศร้าในผู้หญิงไทยโรคซึมเศร้าระหว่างกลุ่มที่ศึกษาและภายในกลุ่มทดลอง
Abstract
Objective: To compare the effects of psycho-educational group program based on Satir’s model on depressive symptoms in Thai women with Major Depressive Disorders between standard treatments.
Methods: The samples of this quasi experimental research were 24 Thai women with major depressive disorder in Chiangrai Prachanukroh hospital. With random assignment, 11 participants (M = 46.9, SD = 9.2 years old) underwent to 6-weekly-session psycho-education program while 13 samples (M = 42.5, SD = 7.2 years old) experienced routine care. The researcher measured the severity of depressive symptoms by using the Hamilton Rating Scale at the pre-test, post-test 1 (6-weekly-sessions ended), post-test 2 (2 weeks after intervention). One factor repeated measure ANOVA was used to analyze the data.
Results: Mean depressive symptom differed statistically significant between groups (F1, 22 = 12.786, p = .002). The result revealed reductions of the depressive symptom mean between experiment and control groups. Also, Mean depressive symptom differed statistically significant between time periods (F1, 22 = 13.801, p = .001). The mean of depressive symptom at 6-weekly-sessions ended was higher than those 2 weeks after intervention. However, their interaction effect was not statistically significant (P > .05). The result revealed reductions of the mean.
Conclusion:The psycho-educational group program based on Satir’s model significantly elicited decreases in depressive symptoms across time periods.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27367 [article] ผลของโปรแกรมกลุ่มสุขภาพจิตศึกษาโดยใช้ซาเทียร์โมเดลเป็นฐาน : ต่ออาการซึมเศร้าในผู้หญิงไทยโรคซึมเศร้า [printed text] / อรนลิน สิงขรณ์, Author ; อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์, Author ; วิภากรณ์ ปัญญาดี, Author . - 2017 . - p.21-35.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.21-35Keywords: Psycho-educatio., Satir’s Model. Women. Major Depressive Disorders. โปรแกรมกลุ่มสุขภาพจิตศึกษา. ซาเทียร์โมเดล. ผู้หญิง. โรคซึมเศร้า. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมกลุ่มสุขภาพจิตศึกษาโดยใช้ซาเทียร์โมเดลเป็นฐานต่ออาการซึมเศร้าในผู้หญิงไทยโรคซึมเศร้าระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมกลุ่มสุขภาพจิตศึกษาโดยใช้ซาเทียร์โมเดลเป็นฐาน และกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติหลังสิ้นสุดโปรแกรมทันที และหลังการทดลอง 2 สัปดาห์
วิธีการศึกษา: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยหญิงไทยที่มารับบริการ ณ คลินิกจิตเวช โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ จำนวน 24 ราย สุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่มทดลอง 11 ราย มีอายุเฉลี่ย 46.9 (SD = 9.2) ปี ได้รับโปรแกรมกลุ่มสุขภาพจิตศึกษาโดยใช้ซาเทียร์โมเดลเป็นฐาน จำนวน 6 ครั้ง (1 ครั้งต่อสัปดาห์) และกลุ่มควบคุม 13 ราย มีอายุเฉลี่ย 42.5 (SD = 7.2) ปี ได้รับการดูแลตามปกติของหน่วยงาน ผู้วิจัยรวบรวมข้อมูลระดับอาการซึมเศร้า ระหว่าง 13 ถึง 29 คะแนน ตามเกณฑ์การเลือกตัวอย่างเข้าศึกษา โดยใช้แบบประเมินอาการซึมเศร้า (The Hamilton Rating Scale for depression / HAM-D) และใช้เป็นข้อมูลระดับอาการซึมเศร้าระยะก่อนได้รับโปรแกรม(Pre-test) หลังเสร็จสิ้นโปรแกรมทันที (Post-test 1)และหลังการทดลอง 2 สัปดาห์ (Post-test 2) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ 1 ปัจจัย
ผลการศึกษา: อาการซึมเศร้าในผู้หญิงไทยโรคซึมเศร้าระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมกลุ่มสุขภาพจิตศึกษาโดยใช้ซาเทียร์โมเดลเป็นฐานและกลุ่มที่ได้รับการให้การดูแลตามปกติแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (F1, 22 = 12.786, p = .002) โดยกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมกลุ่มสุขภาพจิตศึกษาโดยใช้ซาเทียร์โมเดลเป็นฐานมีค่าเฉลี่ยอาการซึมเศร้า
น้อยกว่ากลุ่มควบคุม และระดับอาการซึมเศร้าในผู้หญิงไทยโรคซึมเศร้าในช่วงเวลาหลังเสร็จสิ้นโปรแกรมทันที (Post-test 1) และหลังการทดลอง 2 สัปดาห์ (Post-test 2) แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (F 1, 22 = 13.801, p = .001) โดยระดับอาการซึมเศร้าหลังเสร็จสิ้นโปรแกรมทันที สูงกว่าหลังการทดลอง 2 สัปดาห์ ส่วนปฏิสัมพันธ์ระหว่างโปรแกรมกลุ่มสุขภาพจิตศึกษาโดยใช้ซาเทียร์โมเดลเป็นฐานกับช่วงเวลาที่วัดต่อระดับอาการซึมเศร้าไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P > .05)
สรุปผลการศึกษา: โปรแกรมกลุ่มสุขภาพจิตศึกษาโดยใช้ซาเทียร์โมเดลเป็นฐานมีผลต่อการลดอาการซึมเศร้าในผู้หญิงไทยโรคซึมเศร้าระหว่างกลุ่มที่ศึกษาและภายในกลุ่มทดลอง
Abstract
Objective: To compare the effects of psycho-educational group program based on Satir’s model on depressive symptoms in Thai women with Major Depressive Disorders between standard treatments.
Methods: The samples of this quasi experimental research were 24 Thai women with major depressive disorder in Chiangrai Prachanukroh hospital. With random assignment, 11 participants (M = 46.9, SD = 9.2 years old) underwent to 6-weekly-session psycho-education program while 13 samples (M = 42.5, SD = 7.2 years old) experienced routine care. The researcher measured the severity of depressive symptoms by using the Hamilton Rating Scale at the pre-test, post-test 1 (6-weekly-sessions ended), post-test 2 (2 weeks after intervention). One factor repeated measure ANOVA was used to analyze the data.
Results: Mean depressive symptom differed statistically significant between groups (F1, 22 = 12.786, p = .002). The result revealed reductions of the depressive symptom mean between experiment and control groups. Also, Mean depressive symptom differed statistically significant between time periods (F1, 22 = 13.801, p = .001). The mean of depressive symptom at 6-weekly-sessions ended was higher than those 2 weeks after intervention. However, their interaction effect was not statistically significant (P > .05). The result revealed reductions of the mean.
Conclusion:The psycho-educational group program based on Satir’s model significantly elicited decreases in depressive symptoms across time periods.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27367 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดื่มสุราในนักเรียนจ่าทหารเรือ / มรกต เขียวอ่อน in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 ([10/17/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดื่มสุราในนักเรียนจ่าทหารเรือ Original title : Factors relating to drinking behavior in navy non-commisoned officer students Material Type: printed text Authors: มรกต เขียวอ่อน, Author ; โสภิณ แสงอ่อน, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.36-51 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.36-51Keywords: Drinking behavior. Factors. Navy students. Non-Commissioned Officer. พฤติกรรมการดื่มสุรา. นักเรียนจ่าทหารเรือ. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยนำ [ปัจจัยส่วนบุคคล (ประวัติการสูบบุหรี่ รายได้) และทัศนคติต่อการดื่มสุรา] ปัจจัยเอื้อ (การเข้าถึงแหล่งซื้อขายสุรา) และปัจจัยเสริม(การรับอิทธิพลจากสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์แรงสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อนในการดื่มสุรา และพฤติกรรมการดื่มสุราของบุคคลในครอบครัว) กับพฤติกรรมการดื่มสุรา
วิธีการศึกษา: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบบรรยายความสัมพันธ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนจ่าทหารเรือ กรมยุทธศึกษาทหารเรือปีการศึกษา 2558 จำนวน 836 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 7 ส่วน ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินพฤติกรรมการดื่มสุรา แบบสอบถามทัศนคติต่อการดื่มสุรา แบบสอบถามการเข้าถึงแหล่งซื้อขายสุรา แบบสอบถามการได้รับอิทธิพลจากสื่อโฆษณา ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับสุรา แบบสอบถามแรงสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อนในการดื่มสุรา และแบบสอบถามพฤติกรรมการดื่มสุราของบุคคลในครอบครัว วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สถิติสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน และสถิติไคสแควร์
ผลการศึกษา: ทัศนคติต่อการดื่มสุรา การเข้าถึงแหล่งซื้อขายสุรา การรับอิทธิพลจากสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ แรงสนับสนุนจากกล่มเพื่อนในการดื่มสุรา และพฤติกรรมการดื่มสุราของบุคคลในครอบครัว มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดื่มสุราอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .000) รวมทั้งพบว่าการสูบบุหรี่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดื่มสุราอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .000) อย่างไรก็ตามไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างรายได้กับพฤติกรรมการดื่มสุรา (p = .792) ผลการศึกษาครั้งนี้ให้ข้อมูลที่สำคัญในการนำไปวางแผนลดพฤติกรรมการดื่มสุราในนักเรียนจ่าทหารเรือต่อไป
Abstract
Objective: This descriptive correlational research was aimed at investigating relationships between predisposing factors [personal factors (smoking history, income) and attitudes towards drinking behaviors], enabling factors (accessibility to alcohol selling stores) and reinforcing factors (influence of advertising media and public relations, the support from group of friends in drinking behaviors and drinking behaviors of the family) with drinking behaviors.
Methods: The participants consisted of 836 navy non-commissioned officer students, naval education department, in the academic year 2015. Data were collected by seven questionnaires comprising of the Personal data questionnaire, Alcohol Use Identification Test (AUDIT), Attitudes towards drinking behavior questionnaire, Accessibility to alcohol selling store questionnaire, Influence of advertising media and public relations questionnaire, The support from groups of friends in the drinking behavior questionnaire and Drinking behavior of the family questionnaire. Descriptive statistics, Spearman’s rank-order correlation and Chi-square were used for data analysis.
Results: The study results revealed that attitudes towards drinking behaviors, accessibility
to alcohol selling stores, influence of advertising media and public relations, support from groups of friends in drinking behaviors and drinking behaviors of the family were positively and significantly related to drinking behaviors (p = .000). In addition, smoking was significantly related to drinking behaviors (p = .000). However, income was not related to drinking behaviors (p = .792). Results from this study provided important information in order to plan for reducing drinking behaviors in navy non-commissioned officer students.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27368 [article] ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดื่มสุราในนักเรียนจ่าทหารเรือ = Factors relating to drinking behavior in navy non-commisoned officer students [printed text] / มรกต เขียวอ่อน, Author ; โสภิณ แสงอ่อน, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author . - 2017 . - p.36-51.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.36-51Keywords: Drinking behavior. Factors. Navy students. Non-Commissioned Officer. พฤติกรรมการดื่มสุรา. นักเรียนจ่าทหารเรือ. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยนำ [ปัจจัยส่วนบุคคล (ประวัติการสูบบุหรี่ รายได้) และทัศนคติต่อการดื่มสุรา] ปัจจัยเอื้อ (การเข้าถึงแหล่งซื้อขายสุรา) และปัจจัยเสริม(การรับอิทธิพลจากสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์แรงสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อนในการดื่มสุรา และพฤติกรรมการดื่มสุราของบุคคลในครอบครัว) กับพฤติกรรมการดื่มสุรา
วิธีการศึกษา: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบบรรยายความสัมพันธ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนจ่าทหารเรือ กรมยุทธศึกษาทหารเรือปีการศึกษา 2558 จำนวน 836 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 7 ส่วน ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินพฤติกรรมการดื่มสุรา แบบสอบถามทัศนคติต่อการดื่มสุรา แบบสอบถามการเข้าถึงแหล่งซื้อขายสุรา แบบสอบถามการได้รับอิทธิพลจากสื่อโฆษณา ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับสุรา แบบสอบถามแรงสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อนในการดื่มสุรา และแบบสอบถามพฤติกรรมการดื่มสุราของบุคคลในครอบครัว วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สถิติสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน และสถิติไคสแควร์
ผลการศึกษา: ทัศนคติต่อการดื่มสุรา การเข้าถึงแหล่งซื้อขายสุรา การรับอิทธิพลจากสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ แรงสนับสนุนจากกล่มเพื่อนในการดื่มสุรา และพฤติกรรมการดื่มสุราของบุคคลในครอบครัว มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดื่มสุราอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .000) รวมทั้งพบว่าการสูบบุหรี่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดื่มสุราอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .000) อย่างไรก็ตามไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างรายได้กับพฤติกรรมการดื่มสุรา (p = .792) ผลการศึกษาครั้งนี้ให้ข้อมูลที่สำคัญในการนำไปวางแผนลดพฤติกรรมการดื่มสุราในนักเรียนจ่าทหารเรือต่อไป
Abstract
Objective: This descriptive correlational research was aimed at investigating relationships between predisposing factors [personal factors (smoking history, income) and attitudes towards drinking behaviors], enabling factors (accessibility to alcohol selling stores) and reinforcing factors (influence of advertising media and public relations, the support from group of friends in drinking behaviors and drinking behaviors of the family) with drinking behaviors.
Methods: The participants consisted of 836 navy non-commissioned officer students, naval education department, in the academic year 2015. Data were collected by seven questionnaires comprising of the Personal data questionnaire, Alcohol Use Identification Test (AUDIT), Attitudes towards drinking behavior questionnaire, Accessibility to alcohol selling store questionnaire, Influence of advertising media and public relations questionnaire, The support from groups of friends in the drinking behavior questionnaire and Drinking behavior of the family questionnaire. Descriptive statistics, Spearman’s rank-order correlation and Chi-square were used for data analysis.
Results: The study results revealed that attitudes towards drinking behaviors, accessibility
to alcohol selling stores, influence of advertising media and public relations, support from groups of friends in drinking behaviors and drinking behaviors of the family were positively and significantly related to drinking behaviors (p = .000). In addition, smoking was significantly related to drinking behaviors (p = .000). However, income was not related to drinking behaviors (p = .792). Results from this study provided important information in order to plan for reducing drinking behaviors in navy non-commissioned officer students.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27368 ผลของโปรแกรมการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม / ขุมทรัพย์ ก้อนทอง in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 ([10/17/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม : ต่ออาการด้านลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน Original title : Cognitive behavior therapy program on the negative symtoms of schizophrenic patients in Material Type: printed text Authors: ขุมทรัพย์ ก้อนทอง, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.36-51 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.36-51Keywords: negative symptoms. cognitive behavioral therapy. Schizophrenic patients in community. อาการทางลบ. บำบัดทางพฤติกรรม. ความคิด. ผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน ก่อนและหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรม ความคิด และอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน ระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรม ความคิดกับกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยจิตเภทอายุ 20-59 ปี ที่เข้ารับการรักษาแบบผู่ป่วยนอกที่สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์กรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ20 คน โดยจับคู่โดยจับคู่ระยะเวลาการเจ็บป่วยทางจิตและคะแนนอาการทางจิตเหมือนกัน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการบำบัดการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ1)โปรแกรมการบำบัดทางความคิดพฤติกรรม 2) แบบประเมินอาการทางลบ และ 3) แบบประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาค่าความเที่ยงของแบบประเมินอาการทางลบและแบบประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบ เท่ากับ .86 และ .82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณาและสถิติทดสอบที
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยพบ ดังนี้
1. อาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด ต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรม ฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05 )
2. อาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด ต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05 )
สรุป: โปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด มีประสิทธิผลในการลดอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภท โปรแกรมส่งเสริมทักษะของผู้ป่วยในการบ่งชี้อาการทางลบ ปรับการคิดที่ถูกต้องและนำไปสู่การปรับพฤติกรรมและแสดงออกที่เหมาะสมต่อสถานการณ์
Abstract
Objectives: The purpose of this quasiexperimental pretest-posttest with control group research design was to examine the effect of cognitive behavioral therapy program on negative symptoms of schizophrenic patients in community.
Methods: Subjects were 40 schizophrenic patients, aged 20-59 years, at the out-patient department in a psychiatric hospital, Ministry of Public Health. They were matched pair with illness duration and score of psychiatric symptom and then randomly assigned to the experimental and control groups, 20 in each group. The experimental group received cognitive behavioral therapy. The control group received routine nursing care. Research instruments consisted of the cognitive behavioral therapy program, negative symptoms test and automatic negative thought test. All instruments were tested for content validity. Reliability of the negative symptom test and automatic negative thought test were .82 and .82, respectively. Data were analyzed by descriptive statistics, and t-tests.
Results: Findings were as follows:
1. The negative symptoms of schizophrenic patients in community after receiving the cognitive behavioral therapy program was significantly lower than that before (p < .05).
2. The negative symptoms of schizophrenic patients in community after received cognitive behavioral therapy program was significantly lower than that of those who receiving routine
nursing care (p < .05).
Conclusions: The results suggest that the cognitive behavioral therapy program is effective in reducing negative symptoms of schizophrenic patients. The program promotes patients’ new skill to identify negative thoughts, form adaptive thoughts, and alter maladaptive behavior patterns to adjust to particular situations.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27369 [article] ผลของโปรแกรมการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม = Cognitive behavior therapy program on the negative symtoms of schizophrenic patients in : ต่ออาการด้านลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน [printed text] / ขุมทรัพย์ ก้อนทอง, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author . - 2017 . - p.36-51.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.36-51Keywords: negative symptoms. cognitive behavioral therapy. Schizophrenic patients in community. อาการทางลบ. บำบัดทางพฤติกรรม. ความคิด. ผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน ก่อนและหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรม ความคิด และอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน ระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรม ความคิดกับกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยจิตเภทอายุ 20-59 ปี ที่เข้ารับการรักษาแบบผู่ป่วยนอกที่สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์กรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ20 คน โดยจับคู่โดยจับคู่ระยะเวลาการเจ็บป่วยทางจิตและคะแนนอาการทางจิตเหมือนกัน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการบำบัดการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ1)โปรแกรมการบำบัดทางความคิดพฤติกรรม 2) แบบประเมินอาการทางลบ และ 3) แบบประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาค่าความเที่ยงของแบบประเมินอาการทางลบและแบบประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบ เท่ากับ .86 และ .82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณาและสถิติทดสอบที
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยพบ ดังนี้
1. อาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด ต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรม ฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05 )
2. อาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด ต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05 )
สรุป: โปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด มีประสิทธิผลในการลดอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภท โปรแกรมส่งเสริมทักษะของผู้ป่วยในการบ่งชี้อาการทางลบ ปรับการคิดที่ถูกต้องและนำไปสู่การปรับพฤติกรรมและแสดงออกที่เหมาะสมต่อสถานการณ์
Abstract
Objectives: The purpose of this quasiexperimental pretest-posttest with control group research design was to examine the effect of cognitive behavioral therapy program on negative symptoms of schizophrenic patients in community.
Methods: Subjects were 40 schizophrenic patients, aged 20-59 years, at the out-patient department in a psychiatric hospital, Ministry of Public Health. They were matched pair with illness duration and score of psychiatric symptom and then randomly assigned to the experimental and control groups, 20 in each group. The experimental group received cognitive behavioral therapy. The control group received routine nursing care. Research instruments consisted of the cognitive behavioral therapy program, negative symptoms test and automatic negative thought test. All instruments were tested for content validity. Reliability of the negative symptom test and automatic negative thought test were .82 and .82, respectively. Data were analyzed by descriptive statistics, and t-tests.
Results: Findings were as follows:
1. The negative symptoms of schizophrenic patients in community after receiving the cognitive behavioral therapy program was significantly lower than that before (p < .05).
2. The negative symptoms of schizophrenic patients in community after received cognitive behavioral therapy program was significantly lower than that of those who receiving routine
nursing care (p < .05).
Conclusions: The results suggest that the cognitive behavioral therapy program is effective in reducing negative symptoms of schizophrenic patients. The program promotes patients’ new skill to identify negative thoughts, form adaptive thoughts, and alter maladaptive behavior patterns to adjust to particular situations.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27369 การพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคซึมเศร้า / สุริยะ จงแพ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 ([10/17/2017])
[article]
Title : การพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคซึมเศร้า : ด้วยการให้การปรึกษาแบบกลุ่มแนวพุทธธรรมและโยค Original title : Development of prevention model for depressive disorder by buddhist group conseling an yoga Material Type: printed text Authors: สุริยะ จงแพ, Author ; สุณี ฉิมพิบูลย์, Author ; นภสร แก้วนิลกุล, Author ; มุนา วงศาโรจน์, Author ; พัชรี รัตนาพรพิทักษ์, Author ; ศิริเพ็ญ แก้วประดิษฐ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.66-79 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.66-79Keywords: Group counseling. Buddhism. yoga. depressive disorder. การให้การปรึกษาแบบกลุ่ม. พุทธศาสนา. โยคะ. โรคซึมเศร้า. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคซึมเศร้าด้วยการให้การปรึกษาแบบกลุ่มแนวพุทธธรรมและโยคะ และประเมินผลการนำรูปแบบไปใช้
วิธีการศึกษา:ดำเนินการตามรูปแบบของโครงการพัฒนาการวิจัยสู่การปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพการบริการ และการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย ผลการพัฒนาพบว่ามีงานวิจัยที่นำมาศึกษา 12 เรื่อง สรุปได้เป็นรูปแบบการให้การปรึกษาแนวพุทธธรรมแบบกลุ่มปิด ร่วมกับอาสนะโยคะใช้เวลาบำบัด 3 ครั้งๆ ละ 120 นาที ผู้บำบัดเป็นพยาบาลและจิตอาสา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้มีภาวะซึมเศร้า และผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชนจำนวน 10 คน วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยการแจกแจงความถี่ และค่าร้อยละ
ผลการศึกษา: หลังได้รับการบำบัดกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยของภาวะซึมเศร้าต่ำกว่าก่อนได้รับการบำบัด
สรุป: ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่ารูปแบบการป้องกันโรคซึมเศร้าด้วยการให้การปรึกษาแบบกลุ่มแนวพุทธธรรมและโยคะสามารถลดภาวะซึมเศร้าของผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าและผู้ป่วยโรคซึมเศร้าได้
Abstract
Objectives: To develop the model of prevention for depressive disorder by Buddhist group counseling and yoga and evaluate the model implementation.
Methods: The model based on capstone project and routine to research. A total of 12 research studies were selected in this study. Major findings regarding developed Buddhist close group counseling and yoga. There are three activities, each lasting 120 minutes by nurses and volunteer. The sample included ten persons with depression and depressive disorder in the community. Data were analyzed by descriptive statistics.
Results: The score of Beck Depression Inventory (BDI) decreased after receiving intervention.
Conclusion: Results from this study revealed that the model of prevention for depressive disorder by Buddhist group counseling and yoga can decrease depression of persons with depression and depressive disorder.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27373 [article] การพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคซึมเศร้า = Development of prevention model for depressive disorder by buddhist group conseling an yoga : ด้วยการให้การปรึกษาแบบกลุ่มแนวพุทธธรรมและโยค [printed text] / สุริยะ จงแพ, Author ; สุณี ฉิมพิบูลย์, Author ; นภสร แก้วนิลกุล, Author ; มุนา วงศาโรจน์, Author ; พัชรี รัตนาพรพิทักษ์, Author ; ศิริเพ็ญ แก้วประดิษฐ์, Author . - 2017 . - p.66-79.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.66-79Keywords: Group counseling. Buddhism. yoga. depressive disorder. การให้การปรึกษาแบบกลุ่ม. พุทธศาสนา. โยคะ. โรคซึมเศร้า. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคซึมเศร้าด้วยการให้การปรึกษาแบบกลุ่มแนวพุทธธรรมและโยคะ และประเมินผลการนำรูปแบบไปใช้
วิธีการศึกษา:ดำเนินการตามรูปแบบของโครงการพัฒนาการวิจัยสู่การปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพการบริการ และการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย ผลการพัฒนาพบว่ามีงานวิจัยที่นำมาศึกษา 12 เรื่อง สรุปได้เป็นรูปแบบการให้การปรึกษาแนวพุทธธรรมแบบกลุ่มปิด ร่วมกับอาสนะโยคะใช้เวลาบำบัด 3 ครั้งๆ ละ 120 นาที ผู้บำบัดเป็นพยาบาลและจิตอาสา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้มีภาวะซึมเศร้า และผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชนจำนวน 10 คน วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยการแจกแจงความถี่ และค่าร้อยละ
ผลการศึกษา: หลังได้รับการบำบัดกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยของภาวะซึมเศร้าต่ำกว่าก่อนได้รับการบำบัด
สรุป: ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่ารูปแบบการป้องกันโรคซึมเศร้าด้วยการให้การปรึกษาแบบกลุ่มแนวพุทธธรรมและโยคะสามารถลดภาวะซึมเศร้าของผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าและผู้ป่วยโรคซึมเศร้าได้
Abstract
Objectives: To develop the model of prevention for depressive disorder by Buddhist group counseling and yoga and evaluate the model implementation.
Methods: The model based on capstone project and routine to research. A total of 12 research studies were selected in this study. Major findings regarding developed Buddhist close group counseling and yoga. There are three activities, each lasting 120 minutes by nurses and volunteer. The sample included ten persons with depression and depressive disorder in the community. Data were analyzed by descriptive statistics.
Results: The score of Beck Depression Inventory (BDI) decreased after receiving intervention.
Conclusion: Results from this study revealed that the model of prevention for depressive disorder by Buddhist group counseling and yoga can decrease depression of persons with depression and depressive disorder.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27373 ผลของโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่มต่อภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล / ณิชาภัทร มณีพันธ์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 ([10/17/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่มต่อภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล Original title : The effects of group psychoeducation program of nursing students Material Type: printed text Authors: ณิชาภัทร มณีพันธ์, Author ; สุวนีย์ เกี่ยวกิ่งแก้ว, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.80-91 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.80-91Keywords: group psychoeducation program. depression. nursing students. โปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาภาวะซึมเศร้า. นักศึกษาพยาบาล. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่มต่อภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล
วิธีการศึกษา: การศึกษาครั้งนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลเพศหญิงอายุระหว่าง 18-20 ปี มีคะแนนภาวะซึมเศร้าที่วัดโดยแบบประเมินภาวะซึมเศร้า อยู่ระหว่าง 21-34คะแนน จัดเป็นภาวะซึมเศร้าในระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง จำนวน 60 คน แบ่งเข้ากลุ่มทดลองและกล่มุ ควบคุม กล่มุ ละ 30 คน กล่มุ ทดลองได้รับโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษา เป็นเวลา 4 สัปดาห์ในขณะที่กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติของมหาวิทยาลัยเครื่องมือรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และแบบประเมินภาวะซึมเศร้าฉบับภาษาไทยวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าภายในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ก่อนและหลังการทดลองด้วยสถิติ pair t-test และเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศรา้ ระหว่างกลมุ่ทดลองและกลมุ่ ควบคุมก่อนและหลังการทดลองด้วยสถิติ independent t-test
ผลการศึกษา: ภายหลังการให้โปรแกรมสุขภาพจิตศึกษา นักศึกษากลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้า ต่ำกว่าก่อนการให้สุขภาพจิตศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 9.68, p < .05) ในขณะที่คะแนนภาวะซึมเศร้าของกลุ่มควบคุมไม่มีความแตกต่างกัน (t = 1.96, p > .05) ส่วนคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าในกลุ่มที่ได้รับโปรแกรม
สุขภาพจิตศึกษาภายหลังการทดลองต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(t = 9.68, p < .05)
สรุปผลการศึกษา: โปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่ม สามารถลดภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล
Abstract
Objective: To determine the effect of a group psychoeducation program on depression among nursing students.
Methods: This was a quasi- experimental research design. Samples consisted of 60 nursing
students whose depression scores, assessed by the Thai Depressive Inventory (TDI), were ranged between 21 and 34, mild to moderate level of depression. Sixty of them, all female, age between 18-20, were selected according to the study criteria and were assigned to the study group and the control group, 30 in each group. The subjects in the study group participated in the 4-weeks, group psychoeducation program, while the control group was treated normally. The instruments employed in the study were a 4 - week group psychoeducation program, a personal data sheet, and Thai Depression Inventory (TDI).
Four weeks after finishing the psychoeducation program both the study and control groups
were asked to complete the TDI again, and the scores were analyzed, using a paired t-test within the groups and an independent t-test between groups.
Results: After participating in the group psychoeducation program, the depression score for
the study group was significantly lower than the depression score before joining the psychoeducation program (t = 9.68, p < .05), while the depression score for the control group remained the same (t = 1.96, p >.05). The depression score for the study group was significantly lower than the depression score for the routine care (t = 9.68, p < .05).
Conclusion: The study suggests that the group psychoeducation program was effective in
helping reduce the depression level among nursing students.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27374 [article] ผลของโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่มต่อภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล = The effects of group psychoeducation program of nursing students [printed text] / ณิชาภัทร มณีพันธ์, Author ; สุวนีย์ เกี่ยวกิ่งแก้ว, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author . - 2017 . - p.80-91.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.80-91Keywords: group psychoeducation program. depression. nursing students. โปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาภาวะซึมเศร้า. นักศึกษาพยาบาล. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่มต่อภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล
วิธีการศึกษา: การศึกษาครั้งนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลเพศหญิงอายุระหว่าง 18-20 ปี มีคะแนนภาวะซึมเศร้าที่วัดโดยแบบประเมินภาวะซึมเศร้า อยู่ระหว่าง 21-34คะแนน จัดเป็นภาวะซึมเศร้าในระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง จำนวน 60 คน แบ่งเข้ากลุ่มทดลองและกล่มุ ควบคุม กล่มุ ละ 30 คน กล่มุ ทดลองได้รับโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษา เป็นเวลา 4 สัปดาห์ในขณะที่กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติของมหาวิทยาลัยเครื่องมือรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และแบบประเมินภาวะซึมเศร้าฉบับภาษาไทยวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าภายในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ก่อนและหลังการทดลองด้วยสถิติ pair t-test และเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศรา้ ระหว่างกลมุ่ทดลองและกลมุ่ ควบคุมก่อนและหลังการทดลองด้วยสถิติ independent t-test
ผลการศึกษา: ภายหลังการให้โปรแกรมสุขภาพจิตศึกษา นักศึกษากลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้า ต่ำกว่าก่อนการให้สุขภาพจิตศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 9.68, p < .05) ในขณะที่คะแนนภาวะซึมเศร้าของกลุ่มควบคุมไม่มีความแตกต่างกัน (t = 1.96, p > .05) ส่วนคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าในกลุ่มที่ได้รับโปรแกรม
สุขภาพจิตศึกษาภายหลังการทดลองต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(t = 9.68, p < .05)
สรุปผลการศึกษา: โปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่ม สามารถลดภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล
Abstract
Objective: To determine the effect of a group psychoeducation program on depression among nursing students.
Methods: This was a quasi- experimental research design. Samples consisted of 60 nursing
students whose depression scores, assessed by the Thai Depressive Inventory (TDI), were ranged between 21 and 34, mild to moderate level of depression. Sixty of them, all female, age between 18-20, were selected according to the study criteria and were assigned to the study group and the control group, 30 in each group. The subjects in the study group participated in the 4-weeks, group psychoeducation program, while the control group was treated normally. The instruments employed in the study were a 4 - week group psychoeducation program, a personal data sheet, and Thai Depression Inventory (TDI).
Four weeks after finishing the psychoeducation program both the study and control groups
were asked to complete the TDI again, and the scores were analyzed, using a paired t-test within the groups and an independent t-test between groups.
Results: After participating in the group psychoeducation program, the depression score for
the study group was significantly lower than the depression score before joining the psychoeducation program (t = 9.68, p < .05), while the depression score for the control group remained the same (t = 1.96, p >.05). The depression score for the study group was significantly lower than the depression score for the routine care (t = 9.68, p < .05).
Conclusion: The study suggests that the group psychoeducation program was effective in
helping reduce the depression level among nursing students.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27374 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชน in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 ([10/17/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชน : ของอาสาสมัครสาธารณสุขเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร Original title : Factors related to the implementing mental health promotion by health volunteers in laksi community bangkokKOK Material Type: printed text Publication Date: 2017 Article on page: 92-108 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - 92-108Keywords: Mental health promotion. Health volunteers. Community. การสร้างเสริมสุขภาพ.จิตอาสาสมัคร. สาธารณสุข. ชุมชน. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุข ปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยสิ่งแวดล้อม ที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชน
วิธีการศึกษา: ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคืออาสาสมัครสาธารณสุขเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ได้จากการส่มุ แบบชั้นภูมิตามชุมชน จำนวน 163 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม ประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคล ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน การปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชน การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา การทดสอบไคสแคว์และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยพบว่าการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขส่วนใหญ่มีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์ในทิศทางบวก กับการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01)
สรุป: การสนับสนุนปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานให้ครอบคลุม ได้แก่ การฝึกอบรมและพัฒนาความรู้เรื่องสุขภาพจิต มีการติดตามนิเทศงานในพื้นที่ การสนับสนุนงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ จะช่วยให้การปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขมีประสิทธิภาพมากขึ้น
Objectives: This research aimed to study the implementation of health volunteers in promoting mental health, personal factors, and environmental factors in relation with job performance of health volunteers working in a community.
Methods: The population included 302 health volunteers in Laksi community, Bangkok; however, a participating sample of 163 health volunteers was selected using Stratified Random Sampling. The main instruments for data collection were the demographic characteristics questionnaire, environmental factors, and the implementation mental health promotion questionnaire. The data collected were analyzed using Descriptive Statistics, the Chi Square Test, and the Pearson’s Correlation Coefficients.
Results: The results indicated that the implementing mental health promotion by health volunteers was at a moderate level. The relationship among personal factors, and attitude and awareness of mental health community, were found to be insignificantly significant in relation to the implementation of mental health promotion by health volunteers. However, the environmental factors in the implementation correlated with a positive direction in the implementation of mental health promotion with a statistic significance (p<.01).
Conclusions: There is a strong support for environmental factors in the implementation of all factors. For example, health volunteers should receive training and increase community’s mental health knowledge, supervision and monitoring in the area. Funding and materials should also be sufficiently supported. These can accelerate the implementation in promoting mental health in the community more effectively.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27375 [article] ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชน = Factors related to the implementing mental health promotion by health volunteers in laksi community bangkokKOK : ของอาสาสมัครสาธารณสุขเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร [printed text] . - 2017 . - 92-108.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - 92-108Keywords: Mental health promotion. Health volunteers. Community. การสร้างเสริมสุขภาพ.จิตอาสาสมัคร. สาธารณสุข. ชุมชน. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุข ปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยสิ่งแวดล้อม ที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชน
วิธีการศึกษา: ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคืออาสาสมัครสาธารณสุขเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ได้จากการส่มุ แบบชั้นภูมิตามชุมชน จำนวน 163 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม ประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคล ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน การปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชน การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา การทดสอบไคสแคว์และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยพบว่าการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขส่วนใหญ่มีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์ในทิศทางบวก กับการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01)
สรุป: การสนับสนุนปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานให้ครอบคลุม ได้แก่ การฝึกอบรมและพัฒนาความรู้เรื่องสุขภาพจิต มีการติดตามนิเทศงานในพื้นที่ การสนับสนุนงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ จะช่วยให้การปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขมีประสิทธิภาพมากขึ้น
Objectives: This research aimed to study the implementation of health volunteers in promoting mental health, personal factors, and environmental factors in relation with job performance of health volunteers working in a community.
Methods: The population included 302 health volunteers in Laksi community, Bangkok; however, a participating sample of 163 health volunteers was selected using Stratified Random Sampling. The main instruments for data collection were the demographic characteristics questionnaire, environmental factors, and the implementation mental health promotion questionnaire. The data collected were analyzed using Descriptive Statistics, the Chi Square Test, and the Pearson’s Correlation Coefficients.
Results: The results indicated that the implementing mental health promotion by health volunteers was at a moderate level. The relationship among personal factors, and attitude and awareness of mental health community, were found to be insignificantly significant in relation to the implementation of mental health promotion by health volunteers. However, the environmental factors in the implementation correlated with a positive direction in the implementation of mental health promotion with a statistic significance (p<.01).
Conclusions: There is a strong support for environmental factors in the implementation of all factors. For example, health volunteers should receive training and increase community’s mental health knowledge, supervision and monitoring in the area. Funding and materials should also be sufficiently supported. These can accelerate the implementation in promoting mental health in the community more effectively.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27375 ผลของโปรแกรมการบำบัดด้วยการแก้ปัญหาแบบกลุ่มต่อภาวะซึมเศร้าของผู้รับบริการ / สมบัติ สกุลพรรณ์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 ([10/17/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการบำบัดด้วยการแก้ปัญหาแบบกลุ่มต่อภาวะซึมเศร้าของผู้รับบริการ : ที่มีภาวะซึมเศร้าที่มารับบริการในสถานพยาบาลระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิ Original title : The effect of problem solving group Therapy program on depression among G CLIENTS WITH DEPRESSION RECEIVED Material Type: printed text Authors: สมบัติ สกุลพรรณ์ ; สุพิศ กุลชัย, Author ; ดาราวรรณ ต๊ะปินตา, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.109-120 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.109-120Keywords: Problem Solving. Group Therapy Program. Depression. Clients with Depression. โปรแกรมการบำบัดด้วยการแก้ปัญหา. ภาวะซึมเศร้า. ผู้รับบริการที่มีภาวะซึมเศร้า. Abstract: บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์:เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการบำบัดด้วยการแก้ปัญหาแบบกลุ่มต่อภาวะซึมเศร้าของผู้รับบริการที่มีภาวะซึมเศร้าที่มารับบริการในสถานพยาบาลระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิ
วิธีการศึกษา: เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลองกลุ่มตัวอย่างคือผู้รับบริการที่มีภาวะซึมเศร้าระดับเล็กน้อยถึงปานกลางที่เข้ารับการบำบัดรักษาตามปกติในสถานพยาบาลระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิ อำเภอหนึ่ง ของจังหวัดสุโขทัย จำนวน 89 คน ที่คัดเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด เครื่องมือประกอบด้วย 1) โปรแกรมการบำบัดด้วยการแก้ปัญหาแบบกลุ่ม 2) แบบประเมินโรคซึมเศร้า 9 คำถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ความแปรปรวนเมื่อมีการวัดซ้ำ (repeated measures ANOVA)
ผลการศึกษา: คะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าของกลุ่มตัวอย่างระหว่างก่อนการได้รับโปรแกรมฯ กับหลังได้รับโปรแกรมฯ ทันที และระยะติดตามผล3 เดือน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001)
สรุป: โปรแกรมการบำบัดด้วยการแก้ปัญหาแบบกลุ่ม สามารถลดภาวะซึมเศร้าของผู้รับบริการที่มีภาวะซึมเศร้าได้ และพบว่าผลของการบำบัดมีความคงทนเมื่อติดตามผล 3 เดือน โดยพบว่าคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าสูงขึ้นเพียงเล็กน้อย
อย่างไรก็ตามควรมีการติดตามผลระยะยาวอย่างน้อย 6 เดือนหลังสิ้นสุดโปรแกรม เพื่อดูประสิทธิผลของโปรแกรมต่อไป.
Abstract
Objective: To investigate the effect of problem solving group therapy program on depression among clients with depression received services at primary and secondary care unit.
Methods: This study was quasi-experimental research, 89 clients with depression were purposively selected based on the inclusion criteria. The research instruments were 1) Problem Solving Group Therapy Program developed by researcher team, 2) 9 Q Depressive Screening Form. Descriptive statistics and repeated measures ANOVA were used for data analyses.
Result: The result of this study revealed that the depression means score of clients with depression at the end of program and 3 months after receiving Problem Solving Group Therapy Program were significantly different from that before (p < .001).
Conclusion: Problem Solving Group Therapy Program could decline depression among clients who have depressive mood, as well. We found that it had sustainable effect when follow up 3 months, with a little bit higher means score; however, to confirm the effectiveness of this program, long term follow up should be done at least 6 months after program finished.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27376 [article] ผลของโปรแกรมการบำบัดด้วยการแก้ปัญหาแบบกลุ่มต่อภาวะซึมเศร้าของผู้รับบริการ = The effect of problem solving group Therapy program on depression among G CLIENTS WITH DEPRESSION RECEIVED : ที่มีภาวะซึมเศร้าที่มารับบริการในสถานพยาบาลระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิ [printed text] / สมบัติ สกุลพรรณ์ ; สุพิศ กุลชัย, Author ; ดาราวรรณ ต๊ะปินตา, Author . - 2017 . - p.109-120.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.109-120Keywords: Problem Solving. Group Therapy Program. Depression. Clients with Depression. โปรแกรมการบำบัดด้วยการแก้ปัญหา. ภาวะซึมเศร้า. ผู้รับบริการที่มีภาวะซึมเศร้า. Abstract: บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์:เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการบำบัดด้วยการแก้ปัญหาแบบกลุ่มต่อภาวะซึมเศร้าของผู้รับบริการที่มีภาวะซึมเศร้าที่มารับบริการในสถานพยาบาลระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิ
วิธีการศึกษา: เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลองกลุ่มตัวอย่างคือผู้รับบริการที่มีภาวะซึมเศร้าระดับเล็กน้อยถึงปานกลางที่เข้ารับการบำบัดรักษาตามปกติในสถานพยาบาลระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิ อำเภอหนึ่ง ของจังหวัดสุโขทัย จำนวน 89 คน ที่คัดเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด เครื่องมือประกอบด้วย 1) โปรแกรมการบำบัดด้วยการแก้ปัญหาแบบกลุ่ม 2) แบบประเมินโรคซึมเศร้า 9 คำถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ความแปรปรวนเมื่อมีการวัดซ้ำ (repeated measures ANOVA)
ผลการศึกษา: คะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าของกลุ่มตัวอย่างระหว่างก่อนการได้รับโปรแกรมฯ กับหลังได้รับโปรแกรมฯ ทันที และระยะติดตามผล3 เดือน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001)
สรุป: โปรแกรมการบำบัดด้วยการแก้ปัญหาแบบกลุ่ม สามารถลดภาวะซึมเศร้าของผู้รับบริการที่มีภาวะซึมเศร้าได้ และพบว่าผลของการบำบัดมีความคงทนเมื่อติดตามผล 3 เดือน โดยพบว่าคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าสูงขึ้นเพียงเล็กน้อย
อย่างไรก็ตามควรมีการติดตามผลระยะยาวอย่างน้อย 6 เดือนหลังสิ้นสุดโปรแกรม เพื่อดูประสิทธิผลของโปรแกรมต่อไป.
Abstract
Objective: To investigate the effect of problem solving group therapy program on depression among clients with depression received services at primary and secondary care unit.
Methods: This study was quasi-experimental research, 89 clients with depression were purposively selected based on the inclusion criteria. The research instruments were 1) Problem Solving Group Therapy Program developed by researcher team, 2) 9 Q Depressive Screening Form. Descriptive statistics and repeated measures ANOVA were used for data analyses.
Result: The result of this study revealed that the depression means score of clients with depression at the end of program and 3 months after receiving Problem Solving Group Therapy Program were significantly different from that before (p < .001).
Conclusion: Problem Solving Group Therapy Program could decline depression among clients who have depressive mood, as well. We found that it had sustainable effect when follow up 3 months, with a little bit higher means score; however, to confirm the effectiveness of this program, long term follow up should be done at least 6 months after program finished.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27376 ผลของโปรแกรมกลุ่มจิตบำบัดแบบประคับประคอง / ปรียนันท์ สละสวัสดิ์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 ([10/17/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมกลุ่มจิตบำบัดแบบประคับประคอง : ต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคจิตเภท Original title : Effects of group supportive pschotherapy programon depression in patients with schizophrenia Material Type: printed text Authors: ปรียนันท์ สละสวัสดิ์, Author ; รัชภร สุนทราเดชากิจ, Author ; ปิยะวรรณ กลางประพันธ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.121-134 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.121-134Keywords: โปรแกรมกลุ่มจิตบำบัด. การรักษาแบบประคับประคอง. ภาวะซึมเศร้า. ผู้ป่วยโรคจิตเภท. แผนกผู้ป่วยใน. สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา. schizophrenia. psychizophrenia. Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมกลุ่มจิตบำบัดแบบประคับประคองต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคจิตเภทวิธีการศึกษา: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบทดลอง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคจิตเภทที่ได้รับการรักษาแผนกผู้ป่วยในสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา ระหว่างวันที่ 1-31 มกราคม 2557 เกณฑ์การคัดเข้าคือ ผู้ป่วยอายุระหว่าง 20-59 ปี สามารถอ่านออกเขียนได้ ไม่มีปัญหาการพูดการได้ยินและการมองเห็น ไม่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านเศร้า ไม่ได้รับการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้ามาก่อน 3 เดือน ไม่ใช้สารเสพติด คะแนน Brief Psychiatric Rating Scale อยู่ระหว่าง 0-30 คะแนน และคะแนน Beck Depression Inventory-II ≥ 20 คะแนน ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 44 คน เป็นเพศชาย 20 คน เพศหญิง 24 คน สุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบง่ายโดยการจับฉลากเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองเท่ากัน คือ เพศชายกลุ่มละ 10 คน และเพศหญิง กลุ่มละ 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินอาการทางจิต(Brief Psychiatric Rating Scale: BPRS) แบบประเมินภาวะซึมเศร้าของเบค (Beck Depression Inventory-II) และโปรแกรมกลุ่มจิตบำบัดแบบประคับประคอง สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและt-testผลการศึกษา: ผลการวิจัยนี้บ่งชี้ว่า ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคจิตเภทในกลุ่มทดลองลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติสรุป: โปรแกรมกลุ่มจิตบำบัดแบบประคับป.ระคองมีประสิทธิภาพในการช่วยลดภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคจิตเภท.Objective: To study the effects of group supportive psychotherapy program on depression in patients with schizophrenia.Methods: This is an experimental research. Samples were patients with schizophrenia admitted at Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry during January 1-31, 2014. Inclusion criteria were age of 20-59 years, could read and write, no speech, nohearing and vision problems, did not take antidepressant drugs, did not receive electroconvulsive therapy within previous 3 months, did not use narcotics, had BPRS score 0-30, had Beck Depression Inventory-II score from 20 and upward and voluntarily entered the experiment. Theexperimental group with simple random sampling using lottery method consisted of 10 male patients and 12 female patients. The control group consisted of equal number of male and female patients who received regular nursing. The research tools were demographic data, Brief Psychiatric Rating Scale, Beck Depression Inventory-II: BDI - II and group supportive psychotherapy Program. We used percentage, mean, standard deviation and t-test for statistical analysis.Results: The results of the study indicate that depression of patients with schizophrenia in the experimental group was decreased statistical significantly.Conclusion: Group supportive psychotherapy Program has efficiency to decreasing depression in schizophrenic patients. Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27377 [article] ผลของโปรแกรมกลุ่มจิตบำบัดแบบประคับประคอง = Effects of group supportive pschotherapy programon depression in patients with schizophrenia : ต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคจิตเภท [printed text] / ปรียนันท์ สละสวัสดิ์, Author ; รัชภร สุนทราเดชากิจ, Author ; ปิยะวรรณ กลางประพันธ์, Author . - 2017 . - p.121-134.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.121-134Keywords: โปรแกรมกลุ่มจิตบำบัด. การรักษาแบบประคับประคอง. ภาวะซึมเศร้า. ผู้ป่วยโรคจิตเภท. แผนกผู้ป่วยใน. สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา. schizophrenia. psychizophrenia. Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมกลุ่มจิตบำบัดแบบประคับประคองต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคจิตเภทวิธีการศึกษา: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบทดลอง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคจิตเภทที่ได้รับการรักษาแผนกผู้ป่วยในสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา ระหว่างวันที่ 1-31 มกราคม 2557 เกณฑ์การคัดเข้าคือ ผู้ป่วยอายุระหว่าง 20-59 ปี สามารถอ่านออกเขียนได้ ไม่มีปัญหาการพูดการได้ยินและการมองเห็น ไม่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านเศร้า ไม่ได้รับการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้ามาก่อน 3 เดือน ไม่ใช้สารเสพติด คะแนน Brief Psychiatric Rating Scale อยู่ระหว่าง 0-30 คะแนน และคะแนน Beck Depression Inventory-II ≥ 20 คะแนน ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 44 คน เป็นเพศชาย 20 คน เพศหญิง 24 คน สุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบง่ายโดยการจับฉลากเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองเท่ากัน คือ เพศชายกลุ่มละ 10 คน และเพศหญิง กลุ่มละ 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินอาการทางจิต(Brief Psychiatric Rating Scale: BPRS) แบบประเมินภาวะซึมเศร้าของเบค (Beck Depression Inventory-II) และโปรแกรมกลุ่มจิตบำบัดแบบประคับประคอง สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและt-testผลการศึกษา: ผลการวิจัยนี้บ่งชี้ว่า ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคจิตเภทในกลุ่มทดลองลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติสรุป: โปรแกรมกลุ่มจิตบำบัดแบบประคับป.ระคองมีประสิทธิภาพในการช่วยลดภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคจิตเภท.Objective: To study the effects of group supportive psychotherapy program on depression in patients with schizophrenia.Methods: This is an experimental research. Samples were patients with schizophrenia admitted at Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry during January 1-31, 2014. Inclusion criteria were age of 20-59 years, could read and write, no speech, nohearing and vision problems, did not take antidepressant drugs, did not receive electroconvulsive therapy within previous 3 months, did not use narcotics, had BPRS score 0-30, had Beck Depression Inventory-II score from 20 and upward and voluntarily entered the experiment. Theexperimental group with simple random sampling using lottery method consisted of 10 male patients and 12 female patients. The control group consisted of equal number of male and female patients who received regular nursing. The research tools were demographic data, Brief Psychiatric Rating Scale, Beck Depression Inventory-II: BDI - II and group supportive psychotherapy Program. We used percentage, mean, standard deviation and t-test for statistical analysis.Results: The results of the study indicate that depression of patients with schizophrenia in the experimental group was decreased statistical significantly.Conclusion: Group supportive psychotherapy Program has efficiency to decreasing depression in schizophrenic patients. Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27377