From this page you can:
Home |
Available articles
Add the result to your basketการป้องกันและการจัดการภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม: บทบาทพยาบาล / มลฤดี เกษเพชร in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 ([07/24/2017])
[article]
Title : การป้องกันและการจัดการภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม: บทบาทพยาบาล Original title : Prevention and Management of Arm Lymphedema in Breast Cancer Survivors: Nurse’s Roles Material Type: printed text Authors: มลฤดี เกษเพชร, Author ; นิโรบล กนกสุนทรรัตน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.1-10 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.1-10Keywords: ภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่ง. ผู้เป็นมะเร็งเต้านม. การป้องกัน. การควบคุม. บทบาทพยาบาล. Abstract: แขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบมากกว่าร้อยละ 20 ของผู้เป็นมะเร็งเต้านม พบได้ตั้งแต่ช่วงแรกของการรักษาจนถึงภายหลังการรักษาหลายเดือนหรือหลายปีเกิดจากมีการขัดขวางการไหลเวียนน้ำเหลืองจากแขนไม่ให้ไหลกลับหัวใจ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจาก
การรักษา ทั้งการผ่าตัดเต้านม การตัดเลาะต่อมน้ำเหลือง การฉายรังสีบริเวณใกล้เคียง และยาเคมีบำบัดบางชนิด เมื่อเกิดขึ้นแล้วมักหายยาก ก่อให้เกิดอาการไม่สุขสบายและกระทบต่อการดำรงชีวิต ภาวะนี้สามารถป้องกันและควบคุมได้ พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการป้องกันการเกิดและลดอาการไม่ให้รุนแรงจนรักษายาก บทความนี้ทบทวนความรู้เกี่ยวกับภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม โดยมีเนื้อหาครอบคลุมอุบัติการณ์ พยาธิสรีระ ระดับความรุนแรง สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง ผลกระทบ การประเมิน การรักษา และเสนอแนะบทบาทพยาบาลในการป้องกันและการควบคุมภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านมLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26990 [article] การป้องกันและการจัดการภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม: บทบาทพยาบาล = Prevention and Management of Arm Lymphedema in Breast Cancer Survivors: Nurse’s Roles [printed text] / มลฤดี เกษเพชร, Author ; นิโรบล กนกสุนทรรัตน์, Author . - 2017 . - p.1-10.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.1-10Keywords: ภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่ง. ผู้เป็นมะเร็งเต้านม. การป้องกัน. การควบคุม. บทบาทพยาบาล. Abstract: แขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบมากกว่าร้อยละ 20 ของผู้เป็นมะเร็งเต้านม พบได้ตั้งแต่ช่วงแรกของการรักษาจนถึงภายหลังการรักษาหลายเดือนหรือหลายปีเกิดจากมีการขัดขวางการไหลเวียนน้ำเหลืองจากแขนไม่ให้ไหลกลับหัวใจ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจาก
การรักษา ทั้งการผ่าตัดเต้านม การตัดเลาะต่อมน้ำเหลือง การฉายรังสีบริเวณใกล้เคียง และยาเคมีบำบัดบางชนิด เมื่อเกิดขึ้นแล้วมักหายยาก ก่อให้เกิดอาการไม่สุขสบายและกระทบต่อการดำรงชีวิต ภาวะนี้สามารถป้องกันและควบคุมได้ พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการป้องกันการเกิดและลดอาการไม่ให้รุนแรงจนรักษายาก บทความนี้ทบทวนความรู้เกี่ยวกับภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม โดยมีเนื้อหาครอบคลุมอุบัติการณ์ พยาธิสรีระ ระดับความรุนแรง สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง ผลกระทบ การประเมิน การรักษา และเสนอแนะบทบาทพยาบาลในการป้องกันและการควบคุมภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านมLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26990 กรณีศึกษาการดูแลผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามแบบประคับประคอง: บทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง / ศิริพร เสมสาร in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 ([07/24/2017])
[article]
Title : กรณีศึกษาการดูแลผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามแบบประคับประคอง: บทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง Original title : A Case Study of Palliative Nursing Care for Persons with Advanced Lung Cancer: Roles of Advanced Practice Nurses Material Type: printed text Authors: ศิริพร เสมสาร, Author ; สุชิรา ชัยวิบูลย์ธรรม, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.11-26 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.11-26Keywords: มะเร็งปอดระยะลุกลาม. การดูแลแบบประคับประคอง บทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง Abstract: ผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามต้องเผชิญกับอาการ ผลกระทบจากการรักษาและความ
ก้าวหน้าของโรคอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แนวทางการดูแลรักษาจึงมุ่งหวังเพื่อประคับประคอง
ไม่ให้การดำเนินโรคลุกลามเร็ว หรือเพื่อบรรเทาอาการที่ก่อให้เกิดความทุกข์ทรมาน ช่วยให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีคุณภาพชีวิตที่ดีตามบริบท บทความนี้นLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26991 [article] กรณีศึกษาการดูแลผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามแบบประคับประคอง: บทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง = A Case Study of Palliative Nursing Care for Persons with Advanced Lung Cancer: Roles of Advanced Practice Nurses [printed text] / ศิริพร เสมสาร, Author ; สุชิรา ชัยวิบูลย์ธรรม, Author . - 2017 . - p.11-26.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.11-26Keywords: มะเร็งปอดระยะลุกลาม. การดูแลแบบประคับประคอง บทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง Abstract: ผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามต้องเผชิญกับอาการ ผลกระทบจากการรักษาและความ
ก้าวหน้าของโรคอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แนวทางการดูแลรักษาจึงมุ่งหวังเพื่อประคับประคอง
ไม่ให้การดำเนินโรคลุกลามเร็ว หรือเพื่อบรรเทาอาการที่ก่อให้เกิดความทุกข์ทรมาน ช่วยให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีคุณภาพชีวิตที่ดีตามบริบท บทความนี้นLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26991 บทบาทของพยาบาลในการจัดการดูแลกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับปฐมภูมิ ตามแนวคิดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน / ปวีณา นราศรี in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 ([07/24/2017])
[article]
Title : บทบาทของพยาบาลในการจัดการดูแลกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับปฐมภูมิ ตามแนวคิดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน Material Type: printed text Authors: ปวีณา นราศรี, Author ; กานต์ ฉลาดธัญญกิจ, Author ; นพวรรณ เปียซื่, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.27-43 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.27-43Keywords: เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน. โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง. บทบาทพยาบาลปฐมภูมิ. การควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง. Abstract: สถานการณ์ปัญหาสุขภาพของประชากรทั่วโลก มีแนวโน้มของอัตราการป่วยและตาย
จากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง องค์การสหประชาชาติได้ประกาศเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ในปี พ.ศ. 2558 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนางานด้านเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และนิเวศน์ของประชากรโลก ในประเทศไทยมีการพัฒนางานทุกด้านตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในด้านสุขภาพ สามารถประยุกต์แผนปฏิบัติสำคัญระดับปฐมภูมิในการดูแลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในชุมชนที่มีแหล่งประโยชน์จำกัด ที่พัฒนาโดยองค์การอนามัยโลก พยาบาลที่ปฏิบัติงานในระดับปฐมภูมิจึงมีบทบาทสำคัญในการดูแลประชากรทุกกลุ่มวัยอย่างเป็นองค์รวมเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก วัยผ้ใูหญ่และผ้สู ูงอายุ ผ่านบทบาทในการวางแผน การปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ การสร้างนวัตกรรม การจัดการรายกรณี และการประสานงาน โดยสร้างความร่วมมือและเครือข่ายในชุมชน รวมทั้งการบริการวิชาการ โดยการอบรมและการเป็นพี่เลี้ยงการวจิ ัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่และเผยแพร่สู่ประชาชน ทั้งนี้เพื่อขับเคลื่อนงานระดับปฐมภูมิในการลดอัตราการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังให้มีประสิทธิภาพ สู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26992 [article] บทบาทของพยาบาลในการจัดการดูแลกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับปฐมภูมิ ตามแนวคิดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน [printed text] / ปวีณา นราศรี, Author ; กานต์ ฉลาดธัญญกิจ, Author ; นพวรรณ เปียซื่, Author . - 2017 . - p.27-43.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.27-43Keywords: เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน. โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง. บทบาทพยาบาลปฐมภูมิ. การควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง. Abstract: สถานการณ์ปัญหาสุขภาพของประชากรทั่วโลก มีแนวโน้มของอัตราการป่วยและตาย
จากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง องค์การสหประชาชาติได้ประกาศเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ในปี พ.ศ. 2558 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนางานด้านเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และนิเวศน์ของประชากรโลก ในประเทศไทยมีการพัฒนางานทุกด้านตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในด้านสุขภาพ สามารถประยุกต์แผนปฏิบัติสำคัญระดับปฐมภูมิในการดูแลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในชุมชนที่มีแหล่งประโยชน์จำกัด ที่พัฒนาโดยองค์การอนามัยโลก พยาบาลที่ปฏิบัติงานในระดับปฐมภูมิจึงมีบทบาทสำคัญในการดูแลประชากรทุกกลุ่มวัยอย่างเป็นองค์รวมเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก วัยผ้ใูหญ่และผ้สู ูงอายุ ผ่านบทบาทในการวางแผน การปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ การสร้างนวัตกรรม การจัดการรายกรณี และการประสานงาน โดยสร้างความร่วมมือและเครือข่ายในชุมชน รวมทั้งการบริการวิชาการ โดยการอบรมและการเป็นพี่เลี้ยงการวจิ ัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่และเผยแพร่สู่ประชาชน ทั้งนี้เพื่อขับเคลื่อนงานระดับปฐมภูมิในการลดอัตราการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังให้มีประสิทธิภาพ สู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26992 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอของเด็กโรคลมชัก / ชุติมาภรณ์ กังวาฬ in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 ([07/24/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอของเด็กโรคลมชัก Original title : Factors Related to Medication Adherence among Children with Epilepsy Material Type: printed text Authors: ชุติมาภรณ์ กังวาฬ, Author ; ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล, Author ; วันทนา มณีศรีวงศ์กูล, Author ; อนันต์นิตย์ วิสุทธิพันธ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.44-59 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.44-59Keywords: การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ. เด็กโรคลมชัก. ผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก. Abstract: การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรับประทานยากันชักอย่างสม่ำเสมอและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยากันชักอย่างสม่ำเสมอของเด็กโรคลมชักกลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กและผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก จำนวน 109 คู่ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ตามเกณฑ์ที่กำหนด เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของเด็กและผู้ดูแลแบบประเมินความสม่ำเสมอในการรับประทานยา แบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้ยาบำบัดโรค และแบบสอบถามความรู้โรคลมชักของผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก ผลการศึกษา พบว่า เด็กโรคลมชักร้อยละ 92.70 มีการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ ความรู้เกี่ยวกับโรคลมชักของผู้ดูแล ชนิดของ
การรักษาด้วยยา และความถี่ในการรับประทานยาต่อวัน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอในเด็กโรคลมชักอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนระยะเวลาในการเจ็บป่วย ความพึงพอใจในการใช้ยาของผ้ดูแล ไม่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างสม่่ำเสมอในเด็กโรคลมชัก ข้อเสนอแนะจากการวิจัย คือควรมีการประเมินและส่งเสริมให้ผู้ดูแลมีความรู้เกี่ยวกับโรคลมชัก และควรหาวิธีส่งเสริมการรับประทานยาอย่างสมLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26993 [article] ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอของเด็กโรคลมชัก = Factors Related to Medication Adherence among Children with Epilepsy [printed text] / ชุติมาภรณ์ กังวาฬ, Author ; ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล, Author ; วันทนา มณีศรีวงศ์กูล, Author ; อนันต์นิตย์ วิสุทธิพันธ์, Author . - 2017 . - p.44-59.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.44-59Keywords: การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ. เด็กโรคลมชัก. ผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก. Abstract: การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรับประทานยากันชักอย่างสม่ำเสมอและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยากันชักอย่างสม่ำเสมอของเด็กโรคลมชักกลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กและผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก จำนวน 109 คู่ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ตามเกณฑ์ที่กำหนด เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของเด็กและผู้ดูแลแบบประเมินความสม่ำเสมอในการรับประทานยา แบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้ยาบำบัดโรค และแบบสอบถามความรู้โรคลมชักของผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก ผลการศึกษา พบว่า เด็กโรคลมชักร้อยละ 92.70 มีการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ ความรู้เกี่ยวกับโรคลมชักของผู้ดูแล ชนิดของ
การรักษาด้วยยา และความถี่ในการรับประทานยาต่อวัน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอในเด็กโรคลมชักอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนระยะเวลาในการเจ็บป่วย ความพึงพอใจในการใช้ยาของผ้ดูแล ไม่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างสม่่ำเสมอในเด็กโรคลมชัก ข้อเสนอแนะจากการวิจัย คือควรมีการประเมินและส่งเสริมให้ผู้ดูแลมีความรู้เกี่ยวกับโรคลมชัก และควรหาวิธีส่งเสริมการรับประทานยาอย่างสมLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26993 การรับรู้ภาระจากอาการ ภาระค่าใช้จ่ายกับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยไตเรื้อรัง / จุฑามาศ เทียนสอาด in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 ([07/24/2017])
[article]
Title : การรับรู้ภาระจากอาการ ภาระค่าใช้จ่ายกับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยไตเรื้อรัง : ระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม Original title : Perception of symptom burden financial burden and quality of life in patients with stage renal disease undergoing hemodialysis Material Type: printed text Authors: จุฑามาศ เทียนสอาด, Author ; สุชิรา ชัยวิบูลย์ธรรม, Author ; นพวรรณ พินิจขจรเดช, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.60-77 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.60-77Keywords: ภาระค่าใช้จ่าย.คุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง.ผู้ป่วยระยะสุดท้าย.การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรับรู้ภาระจากอาการ ภาระค่าใช้จ่าย และ
คุณภาพชีวิตในผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาระจากอาการกับคุณภาพชีวิต และการรับรู้ภาระค่าใช้จ่ายกับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
กลุ่มตัวอย่างเป็น ผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายจำนวน 101 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเลือกตามความสะดวกที่เข้ารับการรักษาที่หน่วยไตเทียม โรงพยาบาลรามาธิบดีและโรงพยาบาลสถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์ระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึง สิงหาคม 2558
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกอาการ แบบสอบถามภาระค่าใช้จ่าย และแบบสอบถามคุณภาพชีวิต EQ-5D และ SF-36 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสถิติ Pearson’s Product-Moment Correlation
ผลการวิจัย
พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีคุณภาพชีวิตปานกลาง มีการรับรู้ว่าค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมเป็นภาระค่าใช้จ่ายในระดับปานกลาง และพบว่าการรับรู้ภาระค่าใช้จ่ายมีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพชีวิต EQ-5D (VAS) ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนอาการที่พบบ่อยที่สุด คือ ผิวแห้ง อาการที่รุนแรงมากที่สุด คือ ปวดหลอดนำเลือด โดยพบว่า ภาระจากอาการมีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพชีวิต SF-36 ระดับสูงในมิติด้านร่างกายและคุณภาพชีวิตโดยรวม และระดับปานกลางในมิติด้านจิตใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ข้อค้นพบจากงานวิจัยนี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการประเมินผู้ป่วยทั้งในด้านภาระจากอาการและภาระค่าใช้จ่ายซึ่งมีความสำคัญและจำเป็นในการนำมาวางแผนการช่วยเหลือ และบรรเทาภาระจากอาการของผู้ป่วยและจัดหาแห่ล่งประโยชน์ ที่เป็นทั้งบทบาทอิสระของพยาบาลที่สามารถจัดการได้โดยตรงและบทบาทร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยที่จะส่งเสริมให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไปLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26994 [article] การรับรู้ภาระจากอาการ ภาระค่าใช้จ่ายกับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยไตเรื้อรัง = Perception of symptom burden financial burden and quality of life in patients with stage renal disease undergoing hemodialysis : ระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม [printed text] / จุฑามาศ เทียนสอาด, Author ; สุชิรา ชัยวิบูลย์ธรรม, Author ; นพวรรณ พินิจขจรเดช, Author . - 2017 . - p.60-77.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.60-77Keywords: ภาระค่าใช้จ่าย.คุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง.ผู้ป่วยระยะสุดท้าย.การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรับรู้ภาระจากอาการ ภาระค่าใช้จ่าย และ
คุณภาพชีวิตในผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาระจากอาการกับคุณภาพชีวิต และการรับรู้ภาระค่าใช้จ่ายกับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
กลุ่มตัวอย่างเป็น ผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายจำนวน 101 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเลือกตามความสะดวกที่เข้ารับการรักษาที่หน่วยไตเทียม โรงพยาบาลรามาธิบดีและโรงพยาบาลสถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์ระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึง สิงหาคม 2558
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกอาการ แบบสอบถามภาระค่าใช้จ่าย และแบบสอบถามคุณภาพชีวิต EQ-5D และ SF-36 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสถิติ Pearson’s Product-Moment Correlation
ผลการวิจัย
พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีคุณภาพชีวิตปานกลาง มีการรับรู้ว่าค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมเป็นภาระค่าใช้จ่ายในระดับปานกลาง และพบว่าการรับรู้ภาระค่าใช้จ่ายมีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพชีวิต EQ-5D (VAS) ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนอาการที่พบบ่อยที่สุด คือ ผิวแห้ง อาการที่รุนแรงมากที่สุด คือ ปวดหลอดนำเลือด โดยพบว่า ภาระจากอาการมีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพชีวิต SF-36 ระดับสูงในมิติด้านร่างกายและคุณภาพชีวิตโดยรวม และระดับปานกลางในมิติด้านจิตใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ข้อค้นพบจากงานวิจัยนี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการประเมินผู้ป่วยทั้งในด้านภาระจากอาการและภาระค่าใช้จ่ายซึ่งมีความสำคัญและจำเป็นในการนำมาวางแผนการช่วยเหลือ และบรรเทาภาระจากอาการของผู้ป่วยและจัดหาแห่ล่งประโยชน์ ที่เป็นทั้งบทบาทอิสระของพยาบาลที่สามารถจัดการได้โดยตรงและบทบาทร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยที่จะส่งเสริมให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไปLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26994 ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับประทานอาหารอย่างปลอดภัยในผู้ป่วยโรค หลอดเลือดสมองต่อความรู้ การรับรู้ความสามารถแห่งตน ความคาดหวังใน ผลลัพธ์จากการดูแล ความพึงพอใจของญาติผู้ดูแลต่อบริการที่ได้รับ / พิราลักษณ์ ลาภหลาย in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 ([07/24/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับประทานอาหารอย่างปลอดภัยในผู้ป่วยโรค หลอดเลือดสมองต่อความรู้ การรับรู้ความสามารถแห่งตน ความคาดหวังใน ผลลัพธ์จากการดูแล ความพึงพอใจของญาติผู้ดูแลต่อบริการที่ได้รับ : และความปลอดภัยในการรับประทานอาหารของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง Original title : The effects of the program to promote scale eating in stroke patients on family caregivers knowledge self-eccicacy outcome expectation family caregivers satisfaction and safe eating in stroke patients Material Type: printed text Authors: พิราลักษณ์ ลาภหลาย, Author ; ศุกร วงศ์วทัญญู, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.78-98 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.78-98Keywords: การรับประทานอาหารอย่างปลอดภัย.ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.ความพึงพอใจของญาติผู้ดูแลผู้ป่วย.การรับรู้ความสามารถแห่งตน. Abstract: งานวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับประทานอาหารอย่างปลอดภัยในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองต่อความรู้ การรับรู้ความสามารถแห่งตน ความคาดหวังในผลลัพธ์จากการดูแล ความพึงพอใจของญาติผู้ดูแลต่อบริการที่ได้รับ และความปลอดภัยในการรับประทานอาหารของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โดยใช้กรอบแนวคิดการรับรู้ความสามารถแห่งตนของแบนดูรา ในการพัฒนาโปรแกรมฯ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ญาติผู้ดูแลหลักและผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจำนวน 50 คู่ แบ่งเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 25 คู่ และกลุ่มควบคุมจำนวน 25 คู่ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง โดยใช้เวลาในการจัดโปรแกรมเป็นระยะเวลา 3 วัน ประเมินผลโปรแกรมฯ จากการตอบแบบสอบถามของญาติผู้ดูแลก่อนและในระยะ 48 ชั่วโมง และ 2 สัปดาห์หลัง ได้รับโปรแกรม ฯ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย และสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวน 2 ปัจจัย แบบวัดำ 1 ปัจจัย โดยประเมินก่อนการทดลอง หลังทดลองในระยะ 48 ชั่วโมง และ 2 สัปดาห์
ผลการวิจัย พบว่า ญาติผู้ดูแลกลุ่มทดลองมีความรู้และการรับรู้ความสามารถแห่งตนในระยะหลังสิ้นสุดโปรแกรม 48 ชั่วโมง และ 2 สัปดาห์สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ความคาดหวังในผลลัพธ์จากการดูแลและความพึงพอใจของญาติผู้ดูแลของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกัน จากการติดตาม 2 สัปดาห์ พบว่า ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2 รายในกลุ่มควบคุมกลับเข้ารักษาด้วยภาวะปอดติดเชื้อจากการสูดสำลัก ในขณะที่ไม่พบในกลุ่มทดลอง ซึ่งแสดงถึงความปลอดภัยในการรับประทานอาหารของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27067 [article] ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับประทานอาหารอย่างปลอดภัยในผู้ป่วยโรค หลอดเลือดสมองต่อความรู้ การรับรู้ความสามารถแห่งตน ความคาดหวังใน ผลลัพธ์จากการดูแล ความพึงพอใจของญาติผู้ดูแลต่อบริการที่ได้รับ = The effects of the program to promote scale eating in stroke patients on family caregivers knowledge self-eccicacy outcome expectation family caregivers satisfaction and safe eating in stroke patients : และความปลอดภัยในการรับประทานอาหารของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง [printed text] / พิราลักษณ์ ลาภหลาย, Author ; ศุกร วงศ์วทัญญู, Author . - 2017 . - p.78-98.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.78-98Keywords: การรับประทานอาหารอย่างปลอดภัย.ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.ความพึงพอใจของญาติผู้ดูแลผู้ป่วย.การรับรู้ความสามารถแห่งตน. Abstract: งานวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับประทานอาหารอย่างปลอดภัยในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองต่อความรู้ การรับรู้ความสามารถแห่งตน ความคาดหวังในผลลัพธ์จากการดูแล ความพึงพอใจของญาติผู้ดูแลต่อบริการที่ได้รับ และความปลอดภัยในการรับประทานอาหารของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โดยใช้กรอบแนวคิดการรับรู้ความสามารถแห่งตนของแบนดูรา ในการพัฒนาโปรแกรมฯ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ญาติผู้ดูแลหลักและผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจำนวน 50 คู่ แบ่งเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 25 คู่ และกลุ่มควบคุมจำนวน 25 คู่ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง โดยใช้เวลาในการจัดโปรแกรมเป็นระยะเวลา 3 วัน ประเมินผลโปรแกรมฯ จากการตอบแบบสอบถามของญาติผู้ดูแลก่อนและในระยะ 48 ชั่วโมง และ 2 สัปดาห์หลัง ได้รับโปรแกรม ฯ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย และสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวน 2 ปัจจัย แบบวัดำ 1 ปัจจัย โดยประเมินก่อนการทดลอง หลังทดลองในระยะ 48 ชั่วโมง และ 2 สัปดาห์
ผลการวิจัย พบว่า ญาติผู้ดูแลกลุ่มทดลองมีความรู้และการรับรู้ความสามารถแห่งตนในระยะหลังสิ้นสุดโปรแกรม 48 ชั่วโมง และ 2 สัปดาห์สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ความคาดหวังในผลลัพธ์จากการดูแลและความพึงพอใจของญาติผู้ดูแลของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกัน จากการติดตาม 2 สัปดาห์ พบว่า ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2 รายในกลุ่มควบคุมกลับเข้ารักษาด้วยภาวะปอดติดเชื้อจากการสูดสำลัก ในขณะที่ไม่พบในกลุ่มทดลอง ซึ่งแสดงถึงความปลอดภัยในการรับประทานอาหารของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27067 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพร้อมในการจำหน่ายจากฏรงพยาบาล / ชมพูนุท ศรีรัตน์ in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 ([07/24/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพร้อมในการจำหน่ายจากฏรงพยาบาล : ในผู้ป่วยที่เจ้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตติยภูมิ Material Type: printed text Authors: ชมพูนุท ศรีรัตน์, Author ; ศิริรัตน์ ปานอุทัย, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.99-112 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.99-112Keywords: การเปลี่ยนผ่าน. ความพร้อมในการจำหน่าย. การสอนก่อนจำหน่าย. การประสานการดูแลอย่างต่อเนื่อง. โรงพยาบาลตติยภูมิ. Abstract: การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาลของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตติยภูมิโดยใช้กรอบแนวคิดการเปลี่ยนผ่านของเมลลิส
คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในแผนกอายุรกรรมและศัลยกรรมในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ 2 แห่งในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 267 ราย
เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินคุณภาพการสอนก่อนจำหน่าย แบบสอบถามประสานการดูแลอย่างต่อเนื่องก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาล และแบบสอบถามความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาล
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพร้อมในการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ได้รับการสอนที่มีคุณภาพก่อนจำหน่าย และมีการประสานการดูแลอย่างต่อเนื่องก่อนจำหน่ายอยู่ในระดับสูง ในด้านความสัมพันธ์ พบว่า คุณภาพการสอนก่อนจำหน่ายโดยรวมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และการประสานการดูแลอย่างต่อเนื่องมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ผลการศึกษาครั้งนี้ สามารถใช้เป็นข้อมูลสำหรับพยาบาลในการวางแผนเพื่อพัฒนาโปรแกรมการเตรียมความพร้อมก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาลสำหรับผู้ป่วยและครอบครัวให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและมีทักษะการดูแลตนเองที่เหมาะสม รวมทั้งมีการประสานการดูแลอย่างต่อเนื่องร่วมกับหน่วยงานสุขภาพในชุมชน เพื่อให้การดูแลอย่างต่อเนื่องเมื่อผู้ป่วยกลับไปอยู่ที่บ้านภายหลังจำหน่ายจากโรงพยาบาล
ดูแลLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27068 [article] ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพร้อมในการจำหน่ายจากฏรงพยาบาล : ในผู้ป่วยที่เจ้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตติยภูมิ [printed text] / ชมพูนุท ศรีรัตน์, Author ; ศิริรัตน์ ปานอุทัย, Author . - 2017 . - p.99-112.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.99-112Keywords: การเปลี่ยนผ่าน. ความพร้อมในการจำหน่าย. การสอนก่อนจำหน่าย. การประสานการดูแลอย่างต่อเนื่อง. โรงพยาบาลตติยภูมิ. Abstract: การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาลของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตติยภูมิโดยใช้กรอบแนวคิดการเปลี่ยนผ่านของเมลลิส
คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในแผนกอายุรกรรมและศัลยกรรมในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ 2 แห่งในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 267 ราย
เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินคุณภาพการสอนก่อนจำหน่าย แบบสอบถามประสานการดูแลอย่างต่อเนื่องก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาล และแบบสอบถามความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาล
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพร้อมในการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ได้รับการสอนที่มีคุณภาพก่อนจำหน่าย และมีการประสานการดูแลอย่างต่อเนื่องก่อนจำหน่ายอยู่ในระดับสูง ในด้านความสัมพันธ์ พบว่า คุณภาพการสอนก่อนจำหน่ายโดยรวมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และการประสานการดูแลอย่างต่อเนื่องมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ผลการศึกษาครั้งนี้ สามารถใช้เป็นข้อมูลสำหรับพยาบาลในการวางแผนเพื่อพัฒนาโปรแกรมการเตรียมความพร้อมก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาลสำหรับผู้ป่วยและครอบครัวให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและมีทักษะการดูแลตนเองที่เหมาะสม รวมทั้งมีการประสานการดูแลอย่างต่อเนื่องร่วมกับหน่วยงานสุขภาพในชุมชน เพื่อให้การดูแลอย่างต่อเนื่องเมื่อผู้ป่วยกลับไปอยู่ที่บ้านภายหลังจำหน่ายจากโรงพยาบาล
ดูแลLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27068 ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงต่อความรู้ / สมจิตต์ สินธุชัย in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 ([07/24/2017])
[article]
Title : ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงต่อความรู้ : ความพึงพอใจและความมั่นใจในตนเองของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 ในการฝึกปฏิบัติรายวิชาฝึกทักษะทางวิชาชีพก่อนสำเร็จการศึกษา Material Type: printed text Authors: สมจิตต์ สินธุชัย, Author ; กันยารัตน์ อุบลวรรณ, Author ; สุนีย์รัตน์ บุญศิลป์, (2520-), Author Publication Date: 2017 Article on page: p.113-127 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.113-127Keywords: การจัดการเรียนรู้.สถานการณ์จำลองเสมือนจริง.ความรู้ของนักศึกษาพยาบาล ปีที่ 4ความพึงพอใจในตนเองนักศึกษาพยาบาล ปีที่ 4.ความมั่นใจในตนเองของนักศึกษาพยาบาล ปีที่ 4.ทักษะทางวิชาชีพ. Abstract: เพื่อศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงต่อความรู้ ความพึงพอใจในตนเองของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี จำนวน 69 ราย สุ่มตัวอย่างแบบง่าย ได้กลุ่มทดลองจำนวน 34 ราย และกลุ่มควบคุม 35 ราย ดำเนินการสอนกลุ่มทดลองโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง จำนวน 4 สถานการณ์ครั้งละ 60 นาที ส่วนกลุ่มควบคุมสอนปกติตามหลักสูตร
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดความรู้ ความพึงพอใจ ความมั่นใจในตนเอง
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติบรรยายและการทดสอบค่าที
ผลการวิจัย พบว่า
1. นศ.พยาบาลที่ได้รับการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงมีค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ และความมั่นใจในตนเองหลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ
2. นศ.พยาบาลที่ได้รับการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงมีคะแนนเฉลียความรู้ ความพึงพอใจ และความมั่นใจในตนเองหลังทดลองสูงกว่านักศึกษาที่เรียนโดยวิธีปกติตามหลักสูตรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ผลการสนทนากลุ่ม พบว่า นศ.ที่เรียนรู้โดยสถานการณ์จำลองเสมือนจริงได้รับความรู้จากการเรียนเรื่องหลักการประเเมินสภาพผู้ป่วย การรักษา และการพยาบาล ซึ่งความรู้เหล่านี้สามารถจดจำได้นาน ประสบการณ์จากการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงทำให้ผู้เรียนพึงพอใจในเรื่องการคิด และการตัดสินใจที่เร็วขึ้น และนักศึกษาส่วนใหญ่มีึความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลมากขึ้น โดยเฉพาะในเรื่องการประเมินสภาพผู้ป่วย และการลำดับความสำคับของการพยาบาล
ผลการวิจัยนี้ เป็นข้อมูลสนับสนุนในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองชนิดเสมือนจริงสำหรับนักศึกษาพยาบาลLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27069 [article] ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงต่อความรู้ : ความพึงพอใจและความมั่นใจในตนเองของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 ในการฝึกปฏิบัติรายวิชาฝึกทักษะทางวิชาชีพก่อนสำเร็จการศึกษา [printed text] / สมจิตต์ สินธุชัย, Author ; กันยารัตน์ อุบลวรรณ, Author ; สุนีย์รัตน์ บุญศิลป์, (2520-), Author . - 2017 . - p.113-127.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.113-127Keywords: การจัดการเรียนรู้.สถานการณ์จำลองเสมือนจริง.ความรู้ของนักศึกษาพยาบาล ปีที่ 4ความพึงพอใจในตนเองนักศึกษาพยาบาล ปีที่ 4.ความมั่นใจในตนเองของนักศึกษาพยาบาล ปีที่ 4.ทักษะทางวิชาชีพ. Abstract: เพื่อศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงต่อความรู้ ความพึงพอใจในตนเองของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี จำนวน 69 ราย สุ่มตัวอย่างแบบง่าย ได้กลุ่มทดลองจำนวน 34 ราย และกลุ่มควบคุม 35 ราย ดำเนินการสอนกลุ่มทดลองโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง จำนวน 4 สถานการณ์ครั้งละ 60 นาที ส่วนกลุ่มควบคุมสอนปกติตามหลักสูตร
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดความรู้ ความพึงพอใจ ความมั่นใจในตนเอง
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติบรรยายและการทดสอบค่าที
ผลการวิจัย พบว่า
1. นศ.พยาบาลที่ได้รับการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงมีค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ และความมั่นใจในตนเองหลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ
2. นศ.พยาบาลที่ได้รับการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงมีคะแนนเฉลียความรู้ ความพึงพอใจ และความมั่นใจในตนเองหลังทดลองสูงกว่านักศึกษาที่เรียนโดยวิธีปกติตามหลักสูตรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ผลการสนทนากลุ่ม พบว่า นศ.ที่เรียนรู้โดยสถานการณ์จำลองเสมือนจริงได้รับความรู้จากการเรียนเรื่องหลักการประเเมินสภาพผู้ป่วย การรักษา และการพยาบาล ซึ่งความรู้เหล่านี้สามารถจดจำได้นาน ประสบการณ์จากการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงทำให้ผู้เรียนพึงพอใจในเรื่องการคิด และการตัดสินใจที่เร็วขึ้น และนักศึกษาส่วนใหญ่มีึความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลมากขึ้น โดยเฉพาะในเรื่องการประเมินสภาพผู้ป่วย และการลำดับความสำคับของการพยาบาล
ผลการวิจัยนี้ เป็นข้อมูลสนับสนุนในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองชนิดเสมือนจริงสำหรับนักศึกษาพยาบาลLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27069