Collection Title: | SIU THE-T | Title : | แนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต | Original title : | Guidelines for School Administration according to Good Governance Principles under Phuket Primary Educational Service Area Office, Phuket Province | Material Type: | printed text | Authors: | วิภาวรรณ หอมหวลดี, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name | Publisher: | กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร | Publication Date: | 2020 | Pagination: | x, 161 น. | Layout: | ตาราง, ภาพประกอบ | Size: | 30 ซม. | Price: | 500.00 บาท | General note: | SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 | Languages : | Thai (tha) | Descriptors: | [LCSH]ธรรมาภิบาล [LCSH]สถานศึกษา -- ภูเก็ต -- การศึกษาขั้นประถม
| Keywords: | หลักธรรมาภิบาล, สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต | Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษากับแนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต และ 3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต
การวิจัยเป็นการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed-Method Research) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยผู้วิจัยได้อาศัยวิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การวิจัยภาคสนามจากการสัมภาษณ์เชิงลึก จาก 3 อำเภอของจังหวัดภูเก็ต ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอถลาง อำเภอกะทู้ รวมจำนวน 30 คน ประกอบกับการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร และกลุ่มตัวอย่างข้าราชการครูในเขตพื้นที่ศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 269 คน จากจำนวนข้าราชการครู 866 คน โดยการใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson product-moment correlation coefficient) ควบคู่กับการสำรวจข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้าทางเอกสาร
ผลการวิจัยพบว่า
1) แนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ =3.99, S.D=0.90)
2) ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษากับแนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ พบว่า การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษามีความสัมพันธ์กับแนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต โดยมีค่า r=0.865 (p<0.01) ซึ่งแสดงว่ามีความสัมพันธ์กันในระดับสูงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
3) ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต พบว่า ส่วนใหญ่ประสบปัญหาด้านการปรับปรุง รวบรวมข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาอย่างเป็นปัจจุบัน ร้อยละ 25.3 รองลงมาคือ ด้านผู้บริหารสถานศึกษาไม่มีการรับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ในการตัดสินใจแก้ปัญหาสำคัญร่วมกันจากบุคคลทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ร้อยละ 17.8 ซึ่งข้อมูลและข้อค้นพบที่ได้จากการศึกษาจะนำไปใช้เป็นแนวทางสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้องทุกระดับที่รับผิดชอบในการจัดการศึกษานำหลักธรรมาภิบาลไปใช้ให้มีประสิทธิภาพสูงสุดต่อไป | Curricular : | GE | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28042 |
SIU THE-T. แนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต = Guidelines for School Administration according to Good Governance Principles under Phuket Primary Educational Service Area Office, Phuket Province [printed text] / วิภาวรรณ หอมหวลดี, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - x, 161 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม. 500.00 บาท SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 Languages : Thai ( tha) Descriptors: | [LCSH]ธรรมาภิบาล [LCSH]สถานศึกษา -- ภูเก็ต -- การศึกษาขั้นประถม
| Keywords: | หลักธรรมาภิบาล, สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต | Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษากับแนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต และ 3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต
การวิจัยเป็นการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed-Method Research) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยผู้วิจัยได้อาศัยวิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การวิจัยภาคสนามจากการสัมภาษณ์เชิงลึก จาก 3 อำเภอของจังหวัดภูเก็ต ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอถลาง อำเภอกะทู้ รวมจำนวน 30 คน ประกอบกับการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร และกลุ่มตัวอย่างข้าราชการครูในเขตพื้นที่ศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 269 คน จากจำนวนข้าราชการครู 866 คน โดยการใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson product-moment correlation coefficient) ควบคู่กับการสำรวจข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้าทางเอกสาร
ผลการวิจัยพบว่า
1) แนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ =3.99, S.D=0.90)
2) ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษากับแนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ พบว่า การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษามีความสัมพันธ์กับแนวทางการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต โดยมีค่า r=0.865 (p<0.01) ซึ่งแสดงว่ามีความสัมพันธ์กันในระดับสูงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
3) ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต พบว่า ส่วนใหญ่ประสบปัญหาด้านการปรับปรุง รวบรวมข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาอย่างเป็นปัจจุบัน ร้อยละ 25.3 รองลงมาคือ ด้านผู้บริหารสถานศึกษาไม่มีการรับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ในการตัดสินใจแก้ปัญหาสำคัญร่วมกันจากบุคคลทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ร้อยละ 17.8 ซึ่งข้อมูลและข้อค้นพบที่ได้จากการศึกษาจะนำไปใช้เป็นแนวทางสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้องทุกระดับที่รับผิดชอบในการจัดการศึกษานำหลักธรรมาภิบาลไปใช้ให้มีประสิทธิภาพสูงสุดต่อไป | Curricular : | GE | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28042 |
|