From this page you can:
Home |
Author details
Author อินนาค นริดา
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง / นริดา อินนาค
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง Original title : Quality of Life Development of the Elderly at Lampang Province Material Type: printed text Authors: นริดา อินนาค, Author Pagination: xi, 154 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-12
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]คุณภาพชีวิต -- ผู้สูงอายุ -- ลำปางKeywords: การพัฒนา, คุณภาพชีวิต, ผู้สูงอายุ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง และ 4) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบผสานวิธี ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากผู้สูงอายุที่อาศัยในจังหวัดลำปาง จำนวน 400 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม เป็นคำถามปลายปิด สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และค่าการถดถอยเชิงพหุคูณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 20 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณา
ผลการวิจัยพบว่า
1) ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิต มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านสุขภาพและอนามัยผู้สูงอายุ และด้านส่งเสริมการมีงานทำและความมั่นคงทางรายได้ ตามลำดับ 2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง พบว่า ตัวแปรอิสระทั้ง 4 มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุ มีความสัมพันธ์ในระดับมาก รองลงมาปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความสัมพันธ์ในระดับมาก อันดับที่สามปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง และปัจจัยการสนับสุนจากชุมชนและสังคมมีความสัมพันธ์ระดับต่ำ ตามลำดับ
3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ประกอบด้วย 4 ปัจจัย คือ ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง และปัจจัยการสนับสนุนจากชุมชนและสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้รัอยละ 72.70 ในเชิงบวก
4) ปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง คือ การสนับสนุนให้ผู้สูงอายุระยะต้น ให้ทำงานตามความถนัดของตนเอง การปรับปรุงนโยบายด้านสาธารณสุข การบริการทางการแพทย์ การอำนวยความสะดวกด้านต่างๆ สำหรับผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุต้องการได้รับเบี้ยยังชีพเพิ่มขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตนเองให้ดีขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27949 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง = Quality of Life Development of the Elderly at Lampang Province [printed text] / นริดา อินนาค, Author . - [s.d.] . - xi, 154 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-12
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]คุณภาพชีวิต -- ผู้สูงอายุ -- ลำปางKeywords: การพัฒนา, คุณภาพชีวิต, ผู้สูงอายุ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง และ 4) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบผสานวิธี ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากผู้สูงอายุที่อาศัยในจังหวัดลำปาง จำนวน 400 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม เป็นคำถามปลายปิด สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และค่าการถดถอยเชิงพหุคูณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 20 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณา
ผลการวิจัยพบว่า
1) ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิต มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านสุขภาพและอนามัยผู้สูงอายุ และด้านส่งเสริมการมีงานทำและความมั่นคงทางรายได้ ตามลำดับ 2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง พบว่า ตัวแปรอิสระทั้ง 4 มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุ มีความสัมพันธ์ในระดับมาก รองลงมาปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความสัมพันธ์ในระดับมาก อันดับที่สามปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง และปัจจัยการสนับสุนจากชุมชนและสังคมมีความสัมพันธ์ระดับต่ำ ตามลำดับ
3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ประกอบด้วย 4 ปัจจัย คือ ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง และปัจจัยการสนับสนุนจากชุมชนและสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้รัอยละ 72.70 ในเชิงบวก
4) ปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง คือ การสนับสนุนให้ผู้สูงอายุระยะต้น ให้ทำงานตามความถนัดของตนเอง การปรับปรุงนโยบายด้านสาธารณสุข การบริการทางการแพทย์ การอำนวยความสะดวกด้านต่างๆ สำหรับผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุต้องการได้รับเบี้ยยังชีพเพิ่มขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตนเองให้ดีขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27949