From this page you can:
Home |
Author details
Author ธีรพงศ์ เขียวเกษม
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesปัจจัยทำนายพฤติกรรมการปรับตัวของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวในจังหวัดนครสวรรค์ / ธีรพงศ์ เขียวเกษม in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, Vol.13 No.2 (Apr-Jun) 2019 ([11/14/2019])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการปรับตัวของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวในจังหวัดนครสวรรค์ Original title : Predictiong factors of adaptation behavior among persons with physical diavility in Nakhonsawa province Material Type: printed text Authors: ธีรพงศ์ เขียวเกษม, Author ; นงนุช โอบะ, Author Publication Date: 2019 Article on page: หน้า 11-23 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.13 No.2 (Apr-Jun) 2019 [11/14/2019] . - หน้า 11-23Descriptors: [NLM]การเคลื่อนไหว
[NLM]ทฤษฏีการปรับตัวของรอย
[NLM]ผู้พิการ
[NLM]พฤติกรรมการปรับตัวAbstract: การวิจัยเหลายเชิงทำนายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการปรับตัวของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวในจังหวัดนครสวรรค์ ตัวแปรทำนาย ได้แก่ อายุ เพศ ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน ระดับความเครียด ภาวะสุขภาพ แรงสนับสนุนในครอบครัว การสนับสนุนจากสังคม และชุมชน การฟื้นฟูสมรรถภาพทางกายและการช่วยเหลือสวัสดิการจากภาครัฐ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้พิการทางการเคลื่อนไหวระดับ 3-50 จำนวน 200 คน ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ได้แก่ การเลือกอำเภอที่เป็นตัวแทนของจังหวัด โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มและสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามพฤติกรรมการปรับตัว แและแบบสอบถามปัจจัยทำนายพฤติกรรมการปรับตัวของผู้พิการทางการเคลื่อนไหว แบบสอบถามผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน และตรวจสอบความเที่ยวงตรงของเครื่องมือ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานค่าสหสัมพันธ์เพี่ยรืสัน ค่าสหสัมพันธืสเปียร์แมน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการปรับตัวของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวอยู่ในระดับปานกลาง และปัจจัยที่สามารถทำนายพฤติกรรมการปรับตัวของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ประกอบด้วย สิ่งเร้าตรง ได้แแก่ ภาวะสุขภาพ และความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน สิ่งเร้าร่วม ได้แก่ การสนับสนุนในครอบครัว และการสนับสนุนจากสังคม แชะชุมชนLink for e-copy: http://www.nurse.nu.ac.th/journals/index.php Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27917 [article] ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการปรับตัวของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวในจังหวัดนครสวรรค์ = Predictiong factors of adaptation behavior among persons with physical diavility in Nakhonsawa province [printed text] / ธีรพงศ์ เขียวเกษม, Author ; นงนุช โอบะ, Author . - 2019 . - หน้า 11-23.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.13 No.2 (Apr-Jun) 2019 [11/14/2019] . - หน้า 11-23Descriptors: [NLM]การเคลื่อนไหว
[NLM]ทฤษฏีการปรับตัวของรอย
[NLM]ผู้พิการ
[NLM]พฤติกรรมการปรับตัวAbstract: การวิจัยเหลายเชิงทำนายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการปรับตัวของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวในจังหวัดนครสวรรค์ ตัวแปรทำนาย ได้แก่ อายุ เพศ ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน ระดับความเครียด ภาวะสุขภาพ แรงสนับสนุนในครอบครัว การสนับสนุนจากสังคม และชุมชน การฟื้นฟูสมรรถภาพทางกายและการช่วยเหลือสวัสดิการจากภาครัฐ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้พิการทางการเคลื่อนไหวระดับ 3-50 จำนวน 200 คน ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ได้แก่ การเลือกอำเภอที่เป็นตัวแทนของจังหวัด โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มและสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามพฤติกรรมการปรับตัว แและแบบสอบถามปัจจัยทำนายพฤติกรรมการปรับตัวของผู้พิการทางการเคลื่อนไหว แบบสอบถามผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน และตรวจสอบความเที่ยวงตรงของเครื่องมือ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานค่าสหสัมพันธ์เพี่ยรืสัน ค่าสหสัมพันธืสเปียร์แมน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการปรับตัวของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวอยู่ในระดับปานกลาง และปัจจัยที่สามารถทำนายพฤติกรรมการปรับตัวของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ประกอบด้วย สิ่งเร้าตรง ได้แแก่ ภาวะสุขภาพ และความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน สิ่งเร้าร่วม ได้แก่ การสนับสนุนในครอบครัว และการสนับสนุนจากสังคม แชะชุมชนLink for e-copy: http://www.nurse.nu.ac.th/journals/index.php Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27917