[article] Title : | ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้ว : ในผู้ป่วยหลังทำผ่าตัดหัวใจแบบเปิด | Material Type: | printed text | Authors: | พรทิพา ทองมา, Author ; อรพรรณ โตสิงห์, Author ; ศิริอร สินธุ, Author ; วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร, Author | Publication Date: | 2017 | Article on page: | p.114-126 | Languages : | Thai (tha) Original Language : Thai (tha) | in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.114-126Keywords: | หัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้ว.การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด.ผู้ป่วยที่ได้รับการทำหัวใจแบบเปิด. | Abstract: | การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้วหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด
กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการทำผ่าตัดหัวใจแบบเปิดจำนวน 150 ราย ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ในกรุงเทพมหานคร เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วย และการรักษา แบบบันทึกอัตราการกรองของเสียที่ไต แบบประเมินกลุ่มอาการการตอบสนองต่อการอักเสบทั่วร่างกาย และแบบประเมินการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้ว วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและสถิติวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติค
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์และสามารถทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้วได้แก่ คะแนนของกลุ่มอาการการตอบสนองต่อการอักเสบทั่วร่างกายมากกว่าหรือเท่ากับ 2 คะแนนขึ้นไป (odds ratio, 4.869; 95% CI, 2.277-10.408; p < 0.001) อายุ 50- 60 ปี (odds ratio, 3.542; 95% CI, 0.987-12.703; p=0.041) และระยะเวลาการใช้เครื่องหัวใจ และปอดเทียม >150 นาที (odds, ratio,3.123; 95% CI, 1.276-7.644; p=0.010)
ผลการวิจัยเสนอแนะว่าพยาบาลควรนำปัจจัยที่สามารถทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้วหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิดมาพัฒนาเป็นแนวปฏิบัติทางการพยาบาลไปใช้เป็นแนวทางการประเมินผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด | Link for e-copy: | http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27493 |
[article] ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้ว : ในผู้ป่วยหลังทำผ่าตัดหัวใจแบบเปิด [printed text] / พรทิพา ทองมา, Author ; อรพรรณ โตสิงห์, Author ; ศิริอร สินธุ, Author ; วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร, Author . - 2017 . - p.114-126. Languages : Thai ( tha) Original Language : Thai ( tha) in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.114-126Keywords: | หัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้ว.การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด.ผู้ป่วยที่ได้รับการทำหัวใจแบบเปิด. | Abstract: | การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้วหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด
กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการทำผ่าตัดหัวใจแบบเปิดจำนวน 150 ราย ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ในกรุงเทพมหานคร เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วย และการรักษา แบบบันทึกอัตราการกรองของเสียที่ไต แบบประเมินกลุ่มอาการการตอบสนองต่อการอักเสบทั่วร่างกาย และแบบประเมินการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้ว วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและสถิติวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติค
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์และสามารถทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้วได้แก่ คะแนนของกลุ่มอาการการตอบสนองต่อการอักเสบทั่วร่างกายมากกว่าหรือเท่ากับ 2 คะแนนขึ้นไป (odds ratio, 4.869; 95% CI, 2.277-10.408; p < 0.001) อายุ 50- 60 ปี (odds ratio, 3.542; 95% CI, 0.987-12.703; p=0.041) และระยะเวลาการใช้เครื่องหัวใจ และปอดเทียม >150 นาที (odds, ratio,3.123; 95% CI, 1.276-7.644; p=0.010)
ผลการวิจัยเสนอแนะว่าพยาบาลควรนำปัจจัยที่สามารถทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้วหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิดมาพัฒนาเป็นแนวปฏิบัติทางการพยาบาลไปใช้เป็นแนวทางการประเมินผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด | Link for e-copy: | http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27493 |
|