From this page you can:
Home |
Author details
Author พิสิฐ รุ่งโรจน์วัฒนศิริ
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มต่อพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้า / พิสิฐ รุ่งโรจน์วัฒนศิริ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มต่อพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้า Original title : The effect of group social support program on medication adherence of elderly patients with major depressive disorder WITH MAJOR DEPRESSIVE DISORDER Material Type: printed text Authors: พิสิฐ รุ่งโรจน์วัฒนศิริ, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author ; รัชนีกร อุปเสน, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.119-132. Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.119-132.Keywords: ผู้ป่วยสูงอายุ. โรคซึมเศร้า. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษา. การสนับสนุนทางสังคม.Elderly patient. Major depressive disorder. Medication adherence. Social support. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้าที่ได้รับการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่ม
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอายุ 60 ปีขึ้นไป แผนกผู้ป่วยนอกจำนวน 40 คน ได้รับการจับคู่แล้วสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 20 คน ผู้วิจัยพัฒนาเนื้อหาการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มจากแนวคิดการสนับสนุนทางสังคมของ House (1981) โดยมีองค์ประกอบ 4 ด้านได้แก่ 1) การสนับสนุนด้านอารมณ์ 2) การสนับสนุนด้านการประเมินค่า 3) การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร และ 4) การสนับสนุนด้านทรัพยากรในการพัฒนาเนื้อหา/สาระของแต่ละกิจกรรมและกระบวนการดำเนินกลุ่มของMarram (1978) เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย 3) แบบประเมินพฤติกรรมการรับประทานยาและ 4) แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคมวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติที
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าหลังได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. หลังการทดลองพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้ากลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27475 [article] ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มต่อพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้า = The effect of group social support program on medication adherence of elderly patients with major depressive disorder WITH MAJOR DEPRESSIVE DISORDER [printed text] / พิสิฐ รุ่งโรจน์วัฒนศิริ, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author ; รัชนีกร อุปเสน, Author . - 2017 . - p.119-132.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.119-132.Keywords: ผู้ป่วยสูงอายุ. โรคซึมเศร้า. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษา. การสนับสนุนทางสังคม.Elderly patient. Major depressive disorder. Medication adherence. Social support. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้าที่ได้รับการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่ม
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอายุ 60 ปีขึ้นไป แผนกผู้ป่วยนอกจำนวน 40 คน ได้รับการจับคู่แล้วสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 20 คน ผู้วิจัยพัฒนาเนื้อหาการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มจากแนวคิดการสนับสนุนทางสังคมของ House (1981) โดยมีองค์ประกอบ 4 ด้านได้แก่ 1) การสนับสนุนด้านอารมณ์ 2) การสนับสนุนด้านการประเมินค่า 3) การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร และ 4) การสนับสนุนด้านทรัพยากรในการพัฒนาเนื้อหา/สาระของแต่ละกิจกรรมและกระบวนการดำเนินกลุ่มของMarram (1978) เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย 3) แบบประเมินพฤติกรรมการรับประทานยาและ 4) แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคมวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติที
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าหลังได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. หลังการทดลองพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้ากลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27475