[article] Title : | ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหาร การหายใจต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนแ : และประสิทธิภาพการหายใจในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง | Material Type: | printed text | Authors: | ณัฏฐา ดวงตา, Author ; สุนทรา เลี้ยงเชวงวงศ์, Author ; สมพล สงวนรังศิริกุล, Author | Publication Date: | 2017 | Article on page: | p.95-110 | Languages : | Thai (tha) Original Language : Thai (tha) | in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.95-110Keywords: | การส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน. การบริหารการหายใจ. การรับรู้สมรรถนะแห่งตน. ประสิทธิภาพการหายใจ. ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง. | Abstract: | วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตน และประสิทธิภาพการหายใจในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังการออกแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองวิธีดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจำานวน 84 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 42 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจ คู่มือความรู้ด้านสุขภาพและการบริหารการหายใจ วีดิทัศน์การบริหารการหายใจ ระยะเวลาในการวิจัยทั้งหมด 8 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินประสิทธิภาพการหายใจ ประกอบด้วยแบบสัมภาษณ์ปัญหาการหายใจของเซนต์จอร์จ แบบสัมภาษณ์อาการหายใจลำาบาก อาการไอและภาวะคั่งของเสมหะ อัตราเร็วสูงสุดของลมขณะหายใจออกและระยะทางเดินบนพื้นราบ 6 นาที วิเคราะห์ข้อมูลร้อยละ ค่าเฉลี่ยChi-squares, Fisher’s exact test ,Paired t-test, Independent t-test และ ANCOVA testผลการวิจัย: ภายหลังการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ค่าเฉลี่ยคะแนนปัญหาการหายใจลดลงมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) ส่วนค่าเฉลี่ยคะแนนอาการหายใจลำาบาก อาการไอและการคั่งของเสมหะ อัตราเร็วสูงสุดของลมขณะหายใจออก และระยะทางการเดินบนพื้นราบ 6 นาที ของทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกันข้อเสนอแนะ : ควรมีการศึกษาติดตามในระยะยาวเพื่อให้เกิดประสิทธิผลต่อสมรรถภาพการทำงานของปอด | Link for e-copy: | http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27358 |
[article] ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหาร การหายใจต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนแ : และประสิทธิภาพการหายใจในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง [printed text] / ณัฏฐา ดวงตา, Author ; สุนทรา เลี้ยงเชวงวงศ์, Author ; สมพล สงวนรังศิริกุล, Author . - 2017 . - p.95-110. Languages : Thai ( tha) Original Language : Thai ( tha) in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.95-110Keywords: | การส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน. การบริหารการหายใจ. การรับรู้สมรรถนะแห่งตน. ประสิทธิภาพการหายใจ. ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง. | Abstract: | วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตน และประสิทธิภาพการหายใจในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังการออกแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองวิธีดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจำานวน 84 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 42 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจ คู่มือความรู้ด้านสุขภาพและการบริหารการหายใจ วีดิทัศน์การบริหารการหายใจ ระยะเวลาในการวิจัยทั้งหมด 8 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินประสิทธิภาพการหายใจ ประกอบด้วยแบบสัมภาษณ์ปัญหาการหายใจของเซนต์จอร์จ แบบสัมภาษณ์อาการหายใจลำาบาก อาการไอและภาวะคั่งของเสมหะ อัตราเร็วสูงสุดของลมขณะหายใจออกและระยะทางเดินบนพื้นราบ 6 นาที วิเคราะห์ข้อมูลร้อยละ ค่าเฉลี่ยChi-squares, Fisher’s exact test ,Paired t-test, Independent t-test และ ANCOVA testผลการวิจัย: ภายหลังการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ค่าเฉลี่ยคะแนนปัญหาการหายใจลดลงมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) ส่วนค่าเฉลี่ยคะแนนอาการหายใจลำาบาก อาการไอและการคั่งของเสมหะ อัตราเร็วสูงสุดของลมขณะหายใจออก และระยะทางการเดินบนพื้นราบ 6 นาที ของทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกันข้อเสนอแนะ : ควรมีการศึกษาติดตามในระยะยาวเพื่อให้เกิดประสิทธิผลต่อสมรรถภาพการทำงานของปอด | Link for e-copy: | http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27358 |
| |