From this page you can:
Home |
Author details
Author ธนะบุญปวง ปริญญาภรณ์
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesการพัฒนาแบบวัดความรับผิดชอบของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ / ปริญญาภรณ์ ธนะบุญปวง in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การพัฒนาแบบวัดความรับผิดชอบของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ Original title : Development Responsibility Scale for Nursing Student (RSN) Material Type: printed text Authors: ปริญญาภรณ์ ธนะบุญปวง, Author ; ศิริเดช สุชีวะ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.212-219 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.212-219Keywords: แบบวัดความรับผิดชอบ.นักศึกษาพยาบาลศาสตร์. Abstract: ความรับผิดชอบเป็นคุณลักษณะพื้นฐานสำคัญในสาขาพยาบาลศาสตร์ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติของประเทศไทยและอีกหลายๆ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์3 ประการ ได้แก่ 1) พัฒนาโมเดลการวัดและแบบวัดความ รับผิดชอบ 2)ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือและ3)กำหนดคะแนนจุดตัดตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่4 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 1,106คน จาก 18 สถาบัน เครื่องมือเป็นแบบวัดความรับผิดชอบบนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียวิธีวิจัยแบ่งเป็น 3ระยะ ได้แก่1)การพัฒนาโมเดลการวัดและแบบวัดความรับผิดชอบ 2)การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือด้วยการวิเคราะห์คุณภาพรายข้อ ความเที่ยงความตรงเชิงโครงสร้างและ3)การกำหนดคะแนนจุดตัดผลการวิจัย พบว่าโมเดลการวัดประกอบด้วย3องค์ประกอบ ได้แก่1)ความรับผิดชอบต่อตนเอง/หน้าที่2)ความรับผิดชอบ ต่อผู้อื่น 3)ความรับผิดชอบต่อสังคม/วิชาชีพ ความเที่ยงแบบความ สอดคล้องภายในโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค เท่ากับ .880 การตรวจสอบคุณภาพตามทฤษฎีการทดสอบแบบ ดั้งเดิม (CTT) พบว่า อำนาจจำแนก (r) มีค่าระหว่าง .375 -.546 ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบ (IRT) พบว่า พารามิเตอร์อำนาจ จำแนก (a) มีค่าระหว่าง 0 .93-1.69 ความยาก (b) มีค่าระหว่าง-0.92 ถึง-0.25 ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยืน พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์คะแนนจุดตัดที่กำหนดด้วยวิธีบุ๊คมาร์คมีค่าเท่ากับระดับความสามารถ (theta)–0.40 ผลการวิจัยสรุปได้ว่า เครื่องมือที่พัฒนาขึ้นมีความเที่ยงและความตรงสามารถประยุกต์ใช้ในการวัดประเมินผลความรับผิดชอบของ นักศึกษาพยาบาลได้ Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27245 [article] การพัฒนาแบบวัดความรับผิดชอบของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ = Development Responsibility Scale for Nursing Student (RSN) [printed text] / ปริญญาภรณ์ ธนะบุญปวง, Author ; ศิริเดช สุชีวะ, Author . - 2017 . - p.212-219.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.212-219Keywords: แบบวัดความรับผิดชอบ.นักศึกษาพยาบาลศาสตร์. Abstract: ความรับผิดชอบเป็นคุณลักษณะพื้นฐานสำคัญในสาขาพยาบาลศาสตร์ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติของประเทศไทยและอีกหลายๆ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์3 ประการ ได้แก่ 1) พัฒนาโมเดลการวัดและแบบวัดความ รับผิดชอบ 2)ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือและ3)กำหนดคะแนนจุดตัดตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่4 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 1,106คน จาก 18 สถาบัน เครื่องมือเป็นแบบวัดความรับผิดชอบบนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียวิธีวิจัยแบ่งเป็น 3ระยะ ได้แก่1)การพัฒนาโมเดลการวัดและแบบวัดความรับผิดชอบ 2)การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือด้วยการวิเคราะห์คุณภาพรายข้อ ความเที่ยงความตรงเชิงโครงสร้างและ3)การกำหนดคะแนนจุดตัดผลการวิจัย พบว่าโมเดลการวัดประกอบด้วย3องค์ประกอบ ได้แก่1)ความรับผิดชอบต่อตนเอง/หน้าที่2)ความรับผิดชอบ ต่อผู้อื่น 3)ความรับผิดชอบต่อสังคม/วิชาชีพ ความเที่ยงแบบความ สอดคล้องภายในโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค เท่ากับ .880 การตรวจสอบคุณภาพตามทฤษฎีการทดสอบแบบ ดั้งเดิม (CTT) พบว่า อำนาจจำแนก (r) มีค่าระหว่าง .375 -.546 ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบ (IRT) พบว่า พารามิเตอร์อำนาจ จำแนก (a) มีค่าระหว่าง 0 .93-1.69 ความยาก (b) มีค่าระหว่าง-0.92 ถึง-0.25 ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยืน พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์คะแนนจุดตัดที่กำหนดด้วยวิธีบุ๊คมาร์คมีค่าเท่ากับระดับความสามารถ (theta)–0.40 ผลการวิจัยสรุปได้ว่า เครื่องมือที่พัฒนาขึ้นมีความเที่ยงและความตรงสามารถประยุกต์ใช้ในการวัดประเมินผลความรับผิดชอบของ นักศึกษาพยาบาลได้ Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27245