[article] Title : | การประเมินหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ | Original title : | An Evaluation of the Bachelor of Nursing Science Curriculum (Revised curriculum, 2012) Royal Thai Air Force Nursing College | Material Type: | printed text | Authors: | บังอร ฤทธิ์อุดม, Author | Publication Date: | 2017 | Article on page: | p.203-211 | Languages : | Thai (tha) | in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.203-211Keywords: | การประเมินหลักสูตร. หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต. วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ. Evaluation of curriculum. Bachelor of Nursing Science Curriculum. Royal Thai Air Force Nursing College. | Abstract: | การศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 ของวิทยาลัยพยาบาทหารอากาศ ตามรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) โดยประเมินหลักสูตร 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท ด้านปัจจัย นำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนพยาบาลทหารอากาศ (นพอ.) ชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 45คนเครื่องมือที่ใช้คือแบบประเมินบริบท แบบประเมินปัจจัยนำเข้าแบบประเมินกระบวนการและแบบประเมินผลผลิต ได้รับ การตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ3 ท่าน พบว่าค่า IOC เท่ากับ 0.67-1.00 และตรวจสอบความเที่ยงของ เครื่องมือโดยวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค พบว่ามีค่าความเที่ยงของเครื่องมือเท่ากับ 0.74, 0.89, 0.95และ 0.86 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ด้านบริบท นพอ. ชั้นปีที่ 4 มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตรอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.59, S.D.= 0.33) และมีความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงสร้างและเนื้อหาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555 พบว่า อยู่ในระดับมาก ( = 4.33, S.D. = 0.71) 2. ด้านปัจจัยนำเข้านพอ.ชั้นปีที่4มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยนำเข้าหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555 อยู่ในระดับมาก ( = 4.03, S.D. = 0.69) 3. ด้านกระบวนการ นพอ. ชั้นปีที่4มีความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรพยาบาลศาสตร บัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555 อยู่ในระดับมาก ( = 4.09, S.D. = 0.67) 4. ด้านผลผลิต นพอ.ชั้นปีที่4มีความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถนะเชิงวิชาชีพทั้ง8ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.04, S.D. = 0.96) ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ.2561ในด้านการจัดหาทรัพยากรสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนรวมถึงวิธีการวัดและการประเมินผลเพื่อส่งเสริม ให้หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด | Link for e-copy: | www.nurseasct.or.th | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27244 |
[article] การประเมินหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ = An Evaluation of the Bachelor of Nursing Science Curriculum (Revised curriculum, 2012) Royal Thai Air Force Nursing College [printed text] / บังอร ฤทธิ์อุดม, Author . - 2017 . - p.203-211. Languages : Thai ( tha) in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.203-211Keywords: | การประเมินหลักสูตร. หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต. วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ. Evaluation of curriculum. Bachelor of Nursing Science Curriculum. Royal Thai Air Force Nursing College. | Abstract: | การศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 ของวิทยาลัยพยาบาทหารอากาศ ตามรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) โดยประเมินหลักสูตร 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท ด้านปัจจัย นำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนพยาบาลทหารอากาศ (นพอ.) ชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 45คนเครื่องมือที่ใช้คือแบบประเมินบริบท แบบประเมินปัจจัยนำเข้าแบบประเมินกระบวนการและแบบประเมินผลผลิต ได้รับ การตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ3 ท่าน พบว่าค่า IOC เท่ากับ 0.67-1.00 และตรวจสอบความเที่ยงของ เครื่องมือโดยวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค พบว่ามีค่าความเที่ยงของเครื่องมือเท่ากับ 0.74, 0.89, 0.95และ 0.86 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ด้านบริบท นพอ. ชั้นปีที่ 4 มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตรอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.59, S.D.= 0.33) และมีความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงสร้างและเนื้อหาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555 พบว่า อยู่ในระดับมาก ( = 4.33, S.D. = 0.71) 2. ด้านปัจจัยนำเข้านพอ.ชั้นปีที่4มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยนำเข้าหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555 อยู่ในระดับมาก ( = 4.03, S.D. = 0.69) 3. ด้านกระบวนการ นพอ. ชั้นปีที่4มีความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรพยาบาลศาสตร บัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555 อยู่ในระดับมาก ( = 4.09, S.D. = 0.67) 4. ด้านผลผลิต นพอ.ชั้นปีที่4มีความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถนะเชิงวิชาชีพทั้ง8ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.04, S.D. = 0.96) ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ.2561ในด้านการจัดหาทรัพยากรสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนรวมถึงวิธีการวัดและการประเมินผลเพื่อส่งเสริม ให้หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด | Link for e-copy: | www.nurseasct.or.th | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27244 |
| |