From this page you can:
Home |
Author details
Author สุณี พนาสกุลการ
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesการประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ ในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช / บุญทิวา สุวิทย์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ ในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช Material Type: printed text Authors: บุญทิวา สุวิทย์, Author ; ขจี พงศธรวิบูลย์, Author ; ชูจิต หวังขจรเกียรติ, Author ; สุณี พนาสกุลการ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.194-202 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.194-202Keywords: การประเมินความต้องการจำเป็น. ความผาสุกทางจิตวิญญาณ. ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ. Needs assessment. spiritual well-being. Head and neck cancer patients. Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบพรรณนาเชิงประเมิน ศึกษาในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่เข้ามารับการรักษาในหอผู้ป่วยโสต ศอ นาสิก คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชจำนวน 86 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบ ประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity) มีค่า IOC = 1 ค่าความเชื่อมั่น (reliability) มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Cronbach’s Alpha Coefficient) = 0.763 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา และ กำหนดความต้องการจำเป็นโดยใช้สูตร Prioritization Needs Index (PNIModified) ผลการวิจัยพบว่าความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.86, SD = 0.52) และทุกองค์ประกอบของความผาสุกทางจิตวิญญาณอยู่ในระดับมาก อย่างไรก็ตามผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอมีความ ต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ 3 อันดับแรกคือ 1) รู้สึกว้าวุ่นใจ กระวนกระวายใจ และไม่มีความสุข ตั้งแต่รับรู้ว่า ตนเองเจ็บป่วย (PNIModified = 0.86) 2) แม้จะได้รับการรักษาแล้วแต่เมื่อโรคมีอาการรุนแรงขึ้น ก็ยังคงรู้สึกทุกข์ทรมานใจมากขึ้น (PNIModified = 0.77) และ 3) รู้สึกกลัวทุกครั้งเมื่อนึกถึงความเจ็บป่วยที่รุนแรง (PNIModified = 0.70) Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27243 [article] การประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ ในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช [printed text] / บุญทิวา สุวิทย์, Author ; ขจี พงศธรวิบูลย์, Author ; ชูจิต หวังขจรเกียรติ, Author ; สุณี พนาสกุลการ, Author . - 2017 . - p.194-202.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.194-202Keywords: การประเมินความต้องการจำเป็น. ความผาสุกทางจิตวิญญาณ. ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ. Needs assessment. spiritual well-being. Head and neck cancer patients. Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบพรรณนาเชิงประเมิน ศึกษาในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่เข้ามารับการรักษาในหอผู้ป่วยโสต ศอ นาสิก คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชจำนวน 86 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบ ประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity) มีค่า IOC = 1 ค่าความเชื่อมั่น (reliability) มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Cronbach’s Alpha Coefficient) = 0.763 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา และ กำหนดความต้องการจำเป็นโดยใช้สูตร Prioritization Needs Index (PNIModified) ผลการวิจัยพบว่าความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.86, SD = 0.52) และทุกองค์ประกอบของความผาสุกทางจิตวิญญาณอยู่ในระดับมาก อย่างไรก็ตามผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอมีความ ต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ 3 อันดับแรกคือ 1) รู้สึกว้าวุ่นใจ กระวนกระวายใจ และไม่มีความสุข ตั้งแต่รับรู้ว่า ตนเองเจ็บป่วย (PNIModified = 0.86) 2) แม้จะได้รับการรักษาแล้วแต่เมื่อโรคมีอาการรุนแรงขึ้น ก็ยังคงรู้สึกทุกข์ทรมานใจมากขึ้น (PNIModified = 0.77) และ 3) รู้สึกกลัวทุกครั้งเมื่อนึกถึงความเจ็บป่วยที่รุนแรง (PNIModified = 0.70) Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27243