From this page you can:
Home |
Author details
Author ตั้งแสงสกุล แสงวรรณ
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesผลของโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิตด้านสุขภาพทางเพศ / แสงวรรณ ตั้งแสงสกุล in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิตด้านสุขภาพทางเพศ : ต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยของนักเรียนวัยรุ่นตอนต้น Original title : Effect of sexual health life skills program on perceived self-efficacy in safe of early adolescent students Material Type: printed text Authors: แสงวรรณ ตั้งแสงสกุล, Author ; นันทวัน สุวรรณรูป, Author ; ปิยะธิดา นาคะเกษียร, Author ; รุ้งนภา ผาณิตรัตน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.119-128 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.119-128Keywords: สุขภาพทางเพศ.วัยรุ่นตอนต้น.โปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิต.การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสร้างเสริมทั้กษะชีวิตด้านสุขภาพทางเพศ ต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศมัมพันธ์ที่ปลอดภัยของนักเรียนวันรุ่นตอนต้น กลุ่มตัวอย่าง นร.ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จาก 2 โรงเรียนนจังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน 44 คนแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 23 คน และกลุ่มควบคุม 21 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิต จำนวน 5 ครั้ง ใช้เวลาครั้งละ 90 นาที กลุ่มควบคุมได้รับความรู้ตามหลักสูตรการอสอนปกติ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามด้วยตนเอง ก่อนและหลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 6 และระยะติดตามประเมินผลในสัปดหา์ที่ 12 วิคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Repeated Measure ANOVA และสถิติ MANCOVA ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศสัมพันธฺ์ที่ปลอดภัย หลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 6 ค่าเฉลี่ย 49.48 SD =10.69 และระยะติดตามผลในสัปดาห์ที่ 12 ค่าเฉลี่ย 49.48 SD =9.45 สูงกว่าการทดลอง ค่าเฉลี่ย 40.22 SD = 8.80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p-value <0.05 และสูงกว่ากลุ่มควบคุม ทั้งหลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 6 ค่าเฉลี่ย 31.43 SD = 8.80 และระยะติดตามผลในสัปดาห์ที่ 12 ค่าเฉลี่ย 33.00 SD = 8.92 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<0.05
การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า การได้รับโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิตด้านสุขภาพทางเพศ สามารถส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยกับเด็กวัยรุ่นตอนต้น ดังนั้นสามารถประยุกต์รูปแบบการสอนที่พัฒนาทักษะชีวิตร่วมกับส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน เพื่อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพทางเพศทีปลอดภัยขึ้นได้Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27233 [article] ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิตด้านสุขภาพทางเพศ = Effect of sexual health life skills program on perceived self-efficacy in safe of early adolescent students : ต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยของนักเรียนวัยรุ่นตอนต้น [printed text] / แสงวรรณ ตั้งแสงสกุล, Author ; นันทวัน สุวรรณรูป, Author ; ปิยะธิดา นาคะเกษียร, Author ; รุ้งนภา ผาณิตรัตน์, Author . - 2017 . - p.119-128.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.119-128Keywords: สุขภาพทางเพศ.วัยรุ่นตอนต้น.โปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิต.การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสร้างเสริมทั้กษะชีวิตด้านสุขภาพทางเพศ ต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศมัมพันธ์ที่ปลอดภัยของนักเรียนวันรุ่นตอนต้น กลุ่มตัวอย่าง นร.ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จาก 2 โรงเรียนนจังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน 44 คนแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 23 คน และกลุ่มควบคุม 21 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิต จำนวน 5 ครั้ง ใช้เวลาครั้งละ 90 นาที กลุ่มควบคุมได้รับความรู้ตามหลักสูตรการอสอนปกติ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามด้วยตนเอง ก่อนและหลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 6 และระยะติดตามประเมินผลในสัปดหา์ที่ 12 วิคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Repeated Measure ANOVA และสถิติ MANCOVA ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศสัมพันธฺ์ที่ปลอดภัย หลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 6 ค่าเฉลี่ย 49.48 SD =10.69 และระยะติดตามผลในสัปดาห์ที่ 12 ค่าเฉลี่ย 49.48 SD =9.45 สูงกว่าการทดลอง ค่าเฉลี่ย 40.22 SD = 8.80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p-value <0.05 และสูงกว่ากลุ่มควบคุม ทั้งหลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 6 ค่าเฉลี่ย 31.43 SD = 8.80 และระยะติดตามผลในสัปดาห์ที่ 12 ค่าเฉลี่ย 33.00 SD = 8.92 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<0.05
การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า การได้รับโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิตด้านสุขภาพทางเพศ สามารถส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยกับเด็กวัยรุ่นตอนต้น ดังนั้นสามารถประยุกต์รูปแบบการสอนที่พัฒนาทักษะชีวิตร่วมกับส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน เพื่อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพทางเพศทีปลอดภัยขึ้นได้Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27233